190 likes | 435 Views
ความก้าวหน้าแผนงาน/โครงการสำคัญ ปี 2555 และข้อเสนอทิศทางการดำเนินงาน สำนักโรคติดต่อทั่วไป. โดย แพทย์หญิงปิยนิตย์ ธรรมาภรณ์พิลาศ 1 8 พฤษภาคม 2555. ข้อเสนอทิศทางการดำเนินงานโรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน. โรคพิษสุนัขบ้า
E N D
ความก้าวหน้าแผนงาน/โครงการสำคัญ ปี 2555 และข้อเสนอทิศทางการดำเนินงาน สำนักโรคติดต่อทั่วไป โดย แพทย์หญิงปิยนิตย์ ธรรมาภรณ์พิลาศ 18 พฤษภาคม 2555
ข้อเสนอทิศทางการดำเนินงานโรคติดต่อระหว่างสัตว์และคนข้อเสนอทิศทางการดำเนินงานโรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน • โรคพิษสุนัขบ้า • กำหนดเป้าหมายไม่ให้เกิดโรคในคนภายในปี 2558 และไม่ให้เกิดโรคในสัตว์ภายในปี 2561 • ให้ความสำคัญกับการสร้างพื้นที่ปลอดโรคพิษสุนัขบ้า โดยเน้นการทำงานร่วมกันของกรมควบคุมโรค กรมปศุสัตว์ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น • ผลักดันให้เกิดการเร่งรัดการฉีดวัคซีนในสัตว์
ผลการประเมิน พื้นที่ปลอดโรคพิษสุนัขบ้า ปี 2554
โรคพิษสุนัขบ้า สถานการณ์ เป้าหมายลดโรค 1. ไม่ให้เกิดโรคในคนภายในปี 2558 2. ไม่ให้เกิดโรคในสัตว์ภายในปี 2561 3. ประเทศไทยประกาศเขตปลอดโรค พิษสุนัขบ้า ปี 2563
ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค (2554-2556) • สถานการณ์ปัญหา มีเด็กก่อนวัยเรียนเกือบ 4 ล้านคน 50% ของเด็กฝากเลี้ยงในศูนย์ กลุ่มเป้าหมาย : ศูนย์เด็กเล็กที่สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เป้าหมายปี 2556: ร้อยละ 100 ของศูนย์เด็กเล็กในพื้นที่เข้าระบบศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค
โครงการควบคุมโรคหนอนพยาธิตามพระราชดำริฯโครงการควบคุมโรคหนอนพยาธิตามพระราชดำริฯ • โครงการพระราชดำริฯ ดำเนินการตั้งแต่ปี 2550-2559 ภายใต้แผนพัฒนาเด็ก และเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร ของสำนักพระราชวัง • เป้าหมายลดโรค ความชุกโรคหนอนพยาธิในพื้นที่ถิ่นทุรกันดาร ให้ลดเหลือ ร้อยละ 5 ในปี 2559 เป้าหมายการดำเนินงานปี 2556 ครอบคลุม 51 จังหวัดทั่วประเทศ
กรอบดำเนินการในงานควบคุมโรคหนอนพยาธิในนักเรียน เยาวชน ในถิ่นทุรกันดารและพื้นที่ในแผนภูฟ้าพัฒนาตามพระราชดำริฯ ปี 2550-2559 นิเทศงาน นิเทศงาน ประเมินผล โครงการฯ ตรวจอุจจาระ นักเรียนทุกคน ตรวจอุจจาระ ตรวจอุจจาระ ให้การรักษาครั้งที่ 1 ให้การรักษา ครั้งที่ 2 ให้การรักษาครั้งที่ 1 ให้การรักษา ครั้งที่ 2 ให้การรักษาครั้งที่ 1 ให้การรักษา ครั้งที่ 2 สนับสนุนชุดความรู้ สนับสนุนชุดความรู้ สนับสนุนชุดความรู้ ให้สุขศึกษาในโรงเรียน และชุมชน ให้สุขศึกษาในโรงเรียน และชุมชน ให้สุขศึกษาในโรงเรียน และชุมชน 2550 2551-2554 2555 -2559
ข้อเสนอทิศทางการดำเนินงานโครงการควบคุมโรคหนอนพยาธิข้อเสนอทิศทางการดำเนินงานโครงการควบคุมโรคหนอนพยาธิ • ดำเนินการต่อเนื่องโครงการควบคุมโรคหนอนพยาธิตามพระราชดำริฯ • สนับสนุนการดำเนินงานลดโรคพยาธิใบไม้ในตับภาคอีสาน ในกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ
2550 2552 2555 2557 2559 ประเมินแผน ดำเนินการพัฒนา WHO ประเมิน การพัฒนาสมรรถนะช่องทางเข้าออกประเทศ ตามกฎอนามัยระหว่างประเทศ พ.ศ.๒๕๔๘ กรอบเวลาการดำเนินงานตาม IHR 2005 2 ปี (ประเมินแผน) + 3 ปี (ดำเนินการ) + 2 ปี (ขยายเวลาครั้งที่ 1)+ 2 ปี (ขยายเวลาครั้งที่ 2) “ให้ดำเนินการให้เร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้ แต่ต้องไม่นานกว่า 5 ปี นับจากวันรับปฏิบัติ …"(มาตรา 5, 13)
ข้อค้นพบจากการติดตามการดำเนินงานพัฒนาสมรรถนะช่องทางเข้าออกประเทศฯ และข้อเสนอทิศทาง • ควรประสานความร่วมมือระหว่างด่านฯและหน่วยงานในช่องทางฯ • ควรเร่งวางแผนการจัดอัตรากำลังของบุคลากรประจำด่าน ฯให้เพียงพอ ( ภายใน 4-5 ปี จะมีบุคลากรเกษียณอายุถึงร้อยละ 20 , สคร.ต้องวางแผนการหมุนเวียนบุคลากรให้สามารถปฏิบัติงานที่ด่านฯได้) • สคร.ควรมีแผนฯ/งบประมาณเพื่อรองรับการเตรียมพร้อมรับภาวะฉุกเฉินฯของด่านฯ (รวมถึงความพร้อมด้านlogistics ) • ควรพัฒนาบุคลากรประจำด่านฯให้มีทักษะด้านการปฏิบัติงานให้มากขึ้น
การเตรียมความพร้อมตอบโต้ ภาวะฉุกเฉิน ด้านโรค และภัยสุขภาพปี 2555 1. พัฒนาศักยภาพบุคลากรของกรมควบคุมโรคให้มีสมรรถนะ ด้านการประเมินความเสี่ยง 2. จัดทำแผนประคองกิจการ(BCP) ระดับกรม 3. จัดทำมาตรฐานการปฏิบัติงาน (SOP)การเตรียมพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉินและส่งกำลังบำรุง (ระดับกรม) 4. จัดทำมาตรฐานศูนย์พักพิง (กรณีอุทกภัย โดยการบูรณาการร่วมกับกรมอนามัย นำร่องในพื้นที่ กรุงเทพฯ ร่วมกับ สคร.1) แผน 5. ประสานและเตรียมซ้อมแผนตอบโต้ภาวะฉุกเฉินฯ หมอกควัน & สึนามิ
ข้อเสนอทิศทางการดำเนินงานข้อเสนอทิศทางการดำเนินงาน • การพัฒนาระบบ PHEM ทุกหน่วยงานในกรมควบคุมโรค ให้มีความพร้อมในการบริหารจัดการเตรียมความพร้อมและการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินฯ • พัฒนาระบบ PHEM ให้เชื่อมต่อกับหน่วยงานอื่นๆทั้งในและนอกกระทรวงสาธารณสุข
การดำเนินงานแผนงานป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน ปี 2555 • ภาพรวมของระดับความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐานในเด็กอายุครบ 2 ปี ระดับประเทศอยู่ในเกณฑ์ดี (เกินกว่าร้อยละ 90) แต่รายพื้นที่บางแห่งยังไม่สามารถดำเนินการได้ตามเป้าหมาย • การประเมินมาตรฐานการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค • พัฒนาแผนการให้บริการวัคซีนชนิดใหม่ และกลุ่มเป้าหมายใหม่ (วัคซีนโรต้า, JE เชื้อเป็น, กลุ่มบุคลากร) • มีการรณรงค์ให้วัคซีนในโครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด
โรคติดต่อทางอาหารและน้ำโรคติดต่อทางอาหารและน้ำ • เน้นการเตรียมความพร้อมร่วมกับเครือข่ายในการป้องกันโรคล่วงหน้าและเตรียมพร้อมรับการระบาดของอหิวาตกโรคในพื้นที่เสี่ยง • เตรียมความพร้อมในการนำวัคซีนป้องกันอหิวาตกโรคชนิดรับประทาน( OCV) มาใช้ในพื้นที่พักพิงชั่วคราวผู้หนีภัยการสู้รบบ้านแม่หละ จังหวัดตาก • Maintain กิจกรรมป้องกันโรคอาหารเป็นพิษ และอุจจาระร่วงเฉียบพลัน