120 likes | 316 Views
แนวทางการขับเคลื่อนแผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2555 – 2559. โดย นส.ธัญชนิต ตันฑ์ศรีสุโรจน์ นักวิชาการสิ่งแวดล้อมชำนาญการพิเศษ. กรอบแนวคิด. การขับเคลื่อนแผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม. ราชการส่วนกลาง ระดับภาค ส่วนภูมิภาค รัฐวิสาหกิจ เอกชนในกำกับของรัฐ อปท. JICA GIZ UN Asean -China.
E N D
แนวทางการขับเคลื่อนแผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2555 – 2559 โดย นส.ธัญชนิต ตันฑ์ศรีสุโรจน์ นักวิชาการสิ่งแวดล้อมชำนาญการพิเศษ
กรอบแนวคิด การขับเคลื่อนแผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม • ราชการส่วนกลาง • ระดับภาค • ส่วนภูมิภาค • รัฐวิสาหกิจ • เอกชนในกำกับของรัฐ • อปท. • JICA • GIZ • UN • Asean-China 2 1 3 ความร่วมมือระหว่างประเทศ • เอกชน • ประชาชน • สมาคม การขับเคลื่อนในประเทศ กระแสและแรงขับเคลื่อนทางสังคม
1. การขับเคลื่อนในประเทศ • กิจกรรมที่ดำเนินการแล้ว การสร้างความเข้าใจและเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ • จัดพิมพ์เล่มแผนจัดการฯ และเผยแพร่ โดยส่งให้หน่วยงานต่างๆ กว่า 5000 เล่ม • นำข้อมูลลงในเว็บไซต์ ONEP (www.onep.go.th) • เพิ่มช่องทางการสื่อสารทาง social network ใน facebookชื่อ page: Green Live Thailand
1. การขับเคลื่อนในประเทศ • กิจกรรมที่ดำเนินการแล้ว การบูรณาการ • มีการบูรณาการแผนงานและแนวทางปฏิบัติของแผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมฯ กับแผนอื่นๆ เช่น ร่าง ยุทธศาสตร์การเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม, ร่าง แผนแม่บทรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ พ.ศ. 55-93 เป็นต้น • รวมทั้ง มีกลไกในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ฯ โดยมีระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยคณะกรรมการพัฒนาที่ยั่งยืน พ.ศ. 2556
1. การขับเคลื่อนในประเทศ • แนวคิดที่จะผลักดันและดำเนินการต่อไป การสร้างความเข้าใจและเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ • จัดทำคู่มือ ที่จะทำให้หน่วยงานต่างๆ เข้าใจ และสามารถร่วมกันดำเนินงาน ต่อไป • จัดทำภาพ Infographicของแผนงาน หรือแนวทางปฏิบัติของแผนจัดการฯ เพื่อใช้ในการสื่อสารต่อสาธารณะให้เข้าใจง่าย • จัดประชุม/สัมมนา เพื่อชี้แจงหรือเพื่อแลกเปลี่ยนและกระตุ้นให้เกิดการดำเนินการยิ่งขึ้น • เข้าร่วมการจัดนิทรรศการในโอกาสต่างๆ
1. การขับเคลื่อนในประเทศ • แนวคิดที่จะผลักดันและดำเนินการต่อไป การแปลงแผนไปสู่การปฏิบัติ • เสนอผู้บริหาร เพื่อกำหนดนโยบายให้กรมต่างๆใน ทส. บรรจุโครงการที่เกี่ยวข้องกับแนวทางปฏิบัติของแผนจัดการฯ ไว้ในแผนปฏิบัตีราชการ 4 ปี • พัฒนาความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (เช่น ทำ MOU, ตั้งคณะทำงาน) เพื่อผลักดันโครงการเร่งด่วน (Flagship Project)
1. การขับเคลื่อนในประเทศ • แนวคิดที่จะผลักดันและดำเนินการต่อไป พัฒนาเครื่องมือ/กลไกทางการเงิน • ขอความเห็นชอบจาก สศช. ในการนำยุทธศาสตร์ในแผนจัดการฯ ไปเป็นหัวข้อประกอบในแบบคำขอการจัดสรรงบประมาณของ สงป. • เพิ่มบทบาทของกองทุนสิ่งแวดล้อมในการสนับสนุนเงิน • ส่งเสริมการหาแหล่งเงินทุน เช่น การขอดอกเบี้ยต่ำจากธนาคาร เงินช่วยเหลือจากต่างประเทศ แผนยุทธศาสตร์จังหวัด/กลุ่มจังหวัด แผนปฏิบัติการเพื่อการจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม
2. ความร่วมมือระหว่างประเทศ • กิจกรรมที่ดำเนินการแล้ว โครงการนำร่อง การแปลงแผนในระดับพื้นที่ • ความร่วมมือกับ JICA โครงการ “Strengthening Environmental Management and Linkages among Central, Regional, Provincial and Local Levels” เป็นการแปลงแผนฯ ไปสู่การจัดทำแผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมระดับภาค รวมถึงการจัดทำโครงการที่ตอบสนองต่อปัญหาในพื้นที่ และจะมีการคัดเลือกโครงการเด่นเพื่อจัดสรรงบประมาณสนับสนุนและลงไปดำเนินการในพื้นที่เป้าหมายร่วมกับภาคประชาชนและ อปท. ในพื้นที่ รวมถึงมีการติดตามและประเมินผลโครงการด้วย
2. ความร่วมมือระหว่างประเทศ • แนวคิดที่จะผลักดันและดำเนินการต่อไป โครงการนำร่อง การแปลงแผนในระดับพื้นที่ • ส่งเสริมและประสานการดำเนินโครงการระหว่างประเทศที่มีความเกี่ยวข้องกับแนวทางปฏิบัติของแผนจัดการฯ สู่หน่วยงานท้องถิ่น
3. กระแส และแรงขับเคลื่อนทางสังคม • กิจกรรมที่มีการดำเนินการ • โครงการ CSR ของเอกชน • กิจกรรมที่เป็นผลมาจากการแข่งขันทางการค้า • แนวคิดที่จะผลักดันและดำเนินการต่อไป • สร้างเครือข่ายภาคเอกชนที่มีการผลิตสินค้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และการบำบัดมลพิษ รวมทั้งบริษัทที่ปรึกษา เพื่อส่งเสริมการค้าขายระหว่างผู้ผลิตและผู้บริโภค โดยจัดให้เชื่อมโยงกับการกู้ยืมเงินกองทุนสิ่งแวดล้อม