1 / 186

การจัดทำข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง ( Blueprint for Change)

การจัดทำข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง ( Blueprint for Change). 4 เมษายน 2549. Balanced Scorecard. External Outcomes. Value Creation. Business Excellence. Operational Excellence. internal Outcomes. Strategic Readiness. Legal Reform/ Deregulation.

Download Presentation

การจัดทำข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง ( Blueprint for Change)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การจัดทำข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง(Blueprint for Change) 4 เมษายน 2549

  2. Balanced Scorecard External Outcomes Value Creation Business Excellence Operational Excellence internal Outcomes Strategic Readiness Legal Reform/ Deregulation MBNQA/PMQA มุ่งเน้นองค์ประกอบของการดำเนินงาน หากเป็นไปตามเกณฑ์คุณภาพที่กำหนด จะทำให้เกิดผลสัมฤทธิ์ (Business Results) ตามตัวชี้วัดมิติต่างๆใน Balanced Scorecard MBNQA/PMQA Total Quality Management

  3. รูปแบบการบริหารราชการแนวใหม่รูปแบบการบริหารราชการแนวใหม่ Strategy Formulation แผนการบริหารราชการแผ่นดิน (2548-2551) แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี S W O T Vision Strategic Issue Goal (KPI / target) Strategies Strategic Control Strategy Implementation Action Plan Strategic Management Process Risk Assessment & Management Structure Process/IT Alignment Rule & Regulation People/ Culture Blueprint for Change

  4. องค์กรที่มุ่งเน้นยุทธศาสตร์องค์กรที่มุ่งเน้นยุทธศาสตร์ Strategy-focused Organization การบริหารกระบวนการ ประสิทธิภาพ efficiency ลดรอบระยะเวลาดำเนินการ การพัฒนาขั้นตอนการทำงานให้ดีขึ้น ลดต้นทุน & ความสูญเสีย Reengineering Lean Enterprise Six Sigma TQM เพิ่มผลผลิต กระบวนการบริหารลูกค้า การบริหารการเปลี่ยนแปลง Change Management คุณภาพ quality เพิ่มคุณค่า Value Creation เพิ่มความพึงพอใจ การดูแลผู้รับบริการ เพิ่มความไว้วางใจ ความโปร่งใส มีส่วนร่วม effectiveness ขีดสมรรถนะ capacity-building การวางระบบบริหารจัดการสินทรัพย์ที่จับต้องไม่ได้ เพิ่มความพร้อมเชิง ยุทธศาสตร์ ทุนมนุษย์ ทุนข้อมูลสารสนเทศ&ทุนความรู้ ทุนองค์กร

  5. ภาพแสดงความสัมพันธ์ระหว่างแผนปฏิบัติราชการฯกับข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงภาพแสดงความสัมพันธ์ระหว่างแผนปฏิบัติราชการฯกับข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด กลยุทธ์ 1 กลยุทธ์ 2 กลยุทธ์ 3 กลยุทธ์ 1 กลยุทธ์ 2 กลยุทธ์ 1 กลยุทธ์ 2 กลยุทธ์ 3 แผนปฏิบัติราชการ4 ปี ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่.. เป้าประสงค์ เป้าประสงค์ เป้าประสงค์ สิ่งที่ต้องดำเนินการ/สิ่งที่ต้องเปลี่ยนแปลง • ด้านขั้นตอน / วิธีปฏิบัติงาน • ด้านเทคโนโลยี • ด้านการจัดแบ่งงานและหน้าที่ • ด้านบุคลากร สิ่งที่ต้องดำเนินการ/สิ่งที่ต้องเปลี่ยนแปลง สิ่งที่ต้องดำเนินการ/สิ่งที่ต้องเปลี่ยนแปลง สิ่งที่ต้องดำเนินการ/สิ่งที่ต้องเปลี่ยนแปลง

  6. ประเด็นยุทธศาสตร์ ประเด็นยุทธศาสตร์ * กลยุทธ์ที่ 1 กลยุทธ์ที่ 1 * กลยุทธ์ที่ 2 * กลยุทธ์ที่ 2 * กลยุทธ์ที่ .. * กลยุทธ์ที่ .. แนวทางการจัดทำข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง (Blueprint for Change) ด้านกระบวนงาน • สิ่งที่ต้องเปลี่ยนแปลง • ขั้นตอน/วิธีปฏิบัติงาน • เทคโนโลยี • การจัดแบ่งงานและหน้าที่ • บุคลากร ด้านองค์กร/บุคลากร • การวิเคราะห์ Competency • Gap ของ Competency • ที่ต้องการพัฒนา • Competency ที่รองรับ • กระบวนงานที่ออกแบบใหม่ Competency ที่มีอยู่ในปัจจุบัน Competency ที่จำเป็นจะต้องมี การคัดเลือก แนวทางการพัฒนา องค์กรและบุคลากร VS

  7. ประเด็นยุทธศาสตร์ ประเด็นยุทธศาสตร์ 4 ประเด็นยุทธศาสตร์ 1 ประเด็นยุทธศาสตร์ 3 ประเด็นยุทธศาสตร์ 5 ประเด็นยุทธศาสตร์ 2 กลยุทธ์ กระบวนงาน กระบวนงานที่ คัดเลือก มาปรับปรุง การเปลี่ยนแปลง ในแต่ละด้าน วิเคราะห์เพื่อ ออกแบบใหม่ กระบวนงานทั้งหมด สิ่งที่ต้องดำเนินการ P1 Grouping Detail H1 P2 P1 P2 Process P3 P3 P4 P5 T1 Technology H2 T1 T2 P4 T3 S1 HRM T2 H1 H2 H3 H3 T3 Structure S1 P5

  8. การวิเคราะห์กระบวนงานในการจัดทำข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงการวิเคราะห์กระบวนงานในการจัดทำข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง

  9. ภาพแสดงกระบวนงาน แบบฟอร์มการวิเคราะห์กระบวนงานปัจจุบัน (ต่อ)

  10. ขั้นตอนที่ 1 ทบทวนกระบวนงานและวิเคราะห์สิ่งที่จะต้องมุ่งเน้น วัตถุประสงค์: เพื่อทบทวนกระบวนงานที่จะนำไปออกแบบ และ/หรือ ปรับปรุง ตลอดจนการวิเคราะห์สิ่งที่หน่วยงานต้องมุ่งเน้น/ให้ความสำคัญ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานและยกระดับคุณภาพการให้บริการ 1.1 ทบทวนกระบวนงานที่คัดเลือกมาปรับปรุงและกระบวนงานที่ต้องจัดทำเพิ่มเติม 1.2 วิเคราะห์สิ่งที่จังหวัด/ส่วนราชการจำเป็นต้องมุ่งเน้นภายใต้แต่ละกระบวนงาน ขั้นตอนที่ 2

  11. ขั้นตอนที่ 1 ทบทวนกระบวนงานและวิเคราะห์สิ่งที่จะต้องมุ่งเน้น วัตถุประสงค์: เพื่อทบทวนกระบวนงานที่จะนำไปออกแบบ และ/หรือ ปรับปรุง ตลอดจนการวิเคราะห์สิ่งที่หน่วยงานต้องมุ่งเน้น/ให้ความสำคัญ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานและยกระดับคุณภาพการให้บริการ 1.1 ทบทวนกระบวนงานที่คัดเลือกมาปรับปรุงและกระบวนงานที่ต้องจัดทำเพิ่มเติม 1.2 วิเคราะห์สิ่งที่จังหวัด/ส่วนราชการจำเป็นต้องมุ่งเน้นภายใต้แต่ละกระบวนงาน ขั้นตอนที่ 2

  12. ขั้นตอนที่ 1 ทบทวนกระบวนงานและวิเคราะห์สิ่งที่จะต้องมุ่งเน้น วัตถุประสงค์: เพื่อทบทวนกระบวนงานที่จะนำไปออกแบบ และ/หรือ ปรับปรุง ตลอดจนการวิเคราะห์สิ่งที่หน่วยงานต้องมุ่งเน้น/ให้ความสำคัญ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานและยกระดับคุณภาพการให้บริการ 1.1 ทบทวนกระบวนงานที่คัดเลือกมาปรับปรุงและกระบวนงานที่ต้องจัดทำเพิ่มเติม 1.2 วิเคราะห์สิ่งที่จังหวัด/ส่วนราชการจำเป็นต้องมุ่งเน้นภายใต้แต่ละกระบวนงาน ขั้นตอนที่ 2

  13. ขั้นตอนที่ 1 ทบทวนกระบวนงานและวิเคราะห์สิ่งที่จะต้องมุ่งเน้น วัตถุประสงค์: เพื่อทบทวนกระบวนงานที่จะนำไปออกแบบ และ/หรือ ปรับปรุง ตลอดจนการวิเคราะห์สิ่งที่หน่วยงานต้องมุ่งเน้น/ให้ความสำคัญ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานและยกระดับคุณภาพการให้บริการ 1 2 3 4 6 7 แบบฟอร์มที่ 5 “แบบฟอร์มเพื่อวิเคราะห์ปัจจัยสำคัญต่อความสำเร็จและสิ่งที่จะต้องมุ่งเน้น/ให้ความสำคัญ” 5

  14. ขั้นตอนที่ 1 ทบทวนกระบวนงานและวิเคราะห์สิ่งที่จะต้องมุ่งเน้น วัตถุประสงค์: เพื่อทบทวนกระบวนงานที่จะนำไปออกแบบ และ/หรือ ปรับปรุง ตลอดจนการวิเคราะห์สิ่งที่หน่วยงานต้องมุ่งเน้น/ให้ความสำคัญ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานและยกระดับคุณภาพการให้บริการ 1 • “ประเด็นยุทธศาสตร์” • คำอธิบาย: ระบุชื่อประเด็นยุทธศาสตร์ที่ทำการวิเคราะห์

  15. ขั้นตอนที่ 1 ทบทวนกระบวนงานและวิเคราะห์สิ่งที่จะต้องมุ่งเน้น วัตถุประสงค์: เพื่อทบทวนกระบวนงานที่จะนำไปออกแบบ และ/หรือ ปรับปรุง ตลอดจนการวิเคราะห์สิ่งที่หน่วยงานต้องมุ่งเน้น/ให้ความสำคัญ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานและยกระดับคุณภาพการให้บริการ 2 2. “กลยุทธ์” คำอธิบาย: ระบุชื่อกลยุทธ์ภายใต้ประเด็นยุทธ์ศาสตร์ที่ทำการวิเคราะห์

  16. ขั้นตอนที่ 1 ทบทวนกระบวนงานและวิเคราะห์สิ่งที่จะต้องมุ่งเน้น วัตถุประสงค์: เพื่อทบทวนกระบวนงานที่จะนำไปออกแบบ และ/หรือ ปรับปรุง ตลอดจนการวิเคราะห์สิ่งที่หน่วยงานต้องมุ่งเน้น/ให้ความสำคัญ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานและยกระดับคุณภาพการให้บริการ 3 3. “กระบวนงาน” คำอธิบาย: ในส่วนที่ 1 ให้ระบุกระบวนงานที่ได้คัดเลือกมาปรับปรุง ตามที่ระบุไว้ในแบบฟอร์มที่ 4.2 และในส่วนที่ 2 ให้ระบุกระบวนงานที่ต้องจัดทำเพิ่มเติม ตามที่ระบุไว้ในแบบฟอร์มที่ 1.1 ชุด 2 เพื่อวิเคราะห์ปัจจัยสำคัญต่อความสำเร็จ และสิ่งที่จะต้องมุ่งเน้น/ให้ความสำคัญ ส่วนที่ 1 แบบฟอร์มที่ 4.2 (ส่วนที่ 1) แบบฟอร์มที่ 1.1 ชุด 2 (ส่วนที่ 2) ส่วนที่ 2

  17. ขั้นตอนที่ 1 ทบทวนกระบวนงานและวิเคราะห์สิ่งที่จะต้องมุ่งเน้น วัตถุประสงค์: เพื่อทบทวนกระบวนงานที่จะนำไปออกแบบ และ/หรือ ปรับปรุง ตลอดจนการวิเคราะห์สิ่งที่หน่วยงานต้องมุ่งเน้น/ให้ความสำคัญ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานและยกระดับคุณภาพการให้บริการ 4 4. “วัตถุประสงค์” คำอธิบาย: ระบุวัตถุประสงค์ของกระบวนงาน เพื่อใช้เป็นข้อมูลพื้นฐาน ในการวิเคราะห์ปัจจัยสำคัญต่อความสำเร็จของกระบวนงานนั้นๆ

  18. ขั้นตอนที่ 1 ทบทวนกระบวนงานและวิเคราะห์สิ่งที่จะต้องมุ่งเน้น วัตถุประสงค์: เพื่อทบทวนกระบวนงานที่จะนำไปออกแบบ และ/หรือ ปรับปรุง ตลอดจนการวิเคราะห์สิ่งที่หน่วยงานต้องมุ่งเน้น/ให้ความสำคัญ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานและยกระดับคุณภาพการให้บริการ • 5. “กลุ่มเป้าหมายที่ได้รับประโยชน์” • คำอธิบาย: ระบุกลุ่มเป้าหมายหลักที่คาดว่าจะได้รับผลประโยชน์โดยตรงจากความสำเร็จของกระบวนงาน เช่น • เกษตรกร • ผู้ประกอบการ • ผู้ผลิตและจัดจำหน่ายสินค้า OTOP • ผู้ประกอบการ SMEs • ผู้ประกอบการขนส่งสินค้า เป็นต้น • หน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง • ผู้บริโภค • ประชาชน เป็นต้น 5

  19. ขั้นตอนที่ 1 ทบทวนกระบวนงานและวิเคราะห์สิ่งที่จะต้องมุ่งเน้น วัตถุประสงค์: เพื่อทบทวนกระบวนงานที่จะนำไปออกแบบ และ/หรือ ปรับปรุง ตลอดจนการวิเคราะห์สิ่งที่หน่วยงานต้องมุ่งเน้น/ให้ความสำคัญ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานและยกระดับคุณภาพการให้บริการ 6 6. “ปัจจัยสำคัญต่อความสำเร็จ” คำอธิบาย:ระบุปัจจัยเกื้อหนุนสำคัญ ซึ่งเป็นองค์ประกอบหลักที่จำเป็นต้องมี เพื่อให้วัตถุประสงค์ของกระบวนงานประสบผลสำเร็จ

  20. ขั้นตอนที่ 1 ทบทวนกระบวนงานและวิเคราะห์สิ่งที่จะต้องมุ่งเน้น วัตถุประสงค์: เพื่อทบทวนกระบวนงานที่จะนำไปออกแบบ และ/หรือ ปรับปรุง ตลอดจนการวิเคราะห์สิ่งที่หน่วยงานต้องมุ่งเน้น/ให้ความสำคัญ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานและยกระดับคุณภาพการให้บริการ 7 7. “สิ่งที่ต้องมุ่งเน้น/ให้ความสำคัญ” คำอธิบาย: ระบุสิ่งที่ต้องดำเนินการ เพื่อให้เกิดปัจจัยสำคัญต่อความสำเร็จ

  21. ขั้นตอนที่ 1 ทบทวนกระบวนงานและวิเคราะห์สิ่งที่จะต้องมุ่งเน้น วัตถุประสงค์: เพื่อทบทวนกระบวนงานที่จะนำไปออกแบบ และ/หรือ ปรับปรุง ตลอดจนการวิเคราะห์สิ่งที่หน่วยงานต้องมุ่งเน้น/ให้ความสำคัญ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานและยกระดับคุณภาพการให้บริการ 1.1 ทบทวนกระบวนงานที่คัดเลือกมาปรับปรุงและกระบวนงานที่ต้องจัดทำเพิ่มเติม 1.2 วิเคราะห์สิ่งที่จังหวัด/ส่วนราชการจำเป็นต้องมุ่งเน้นภายใต้แต่ละกระบวนงาน ขั้นตอนที่ 2

  22. แบบฟอร์มที่ 5:แบบฟอร์มเพื่อวิเคราะห์สิ่งที่จังหวัด/ส่วนราชการจะต้องมุ่งเน้น ประเด็นยุทธศาสตร์: การพัฒนาศักยภาพการแข่งขันทางเศรษฐกิจ กลยุทธ์: สร้างศักยภาพการแข่งขันภาคการเกษตร เพิ่มคุณภาพผลผลิตพืช กระบวนงานที่คัดเลือกมาปรับปรุง (จากแบบฟอร์ม 4.2) แปรรูปผลผลิตการเกษตรเพื่อเพิ่มมูลค่า พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานการผลิต (ปัจจัยด้านน้ำ) ส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรและอาหารให้ได้มาตรฐานความปลอดภัย (Food Safety) กระบวนงานที่ต้องจัดทำเพิ่มเติม(จากแบบฟอร์ม 1.1 ชุดที่ 2)

  23. แบบฟอร์มที่ 5:แบบฟอร์มเพื่อวิเคราะห์สิ่งที่จังหวัด/ส่วนราชการจะต้องมุ่งเน้น ประเด็นยุทธศาสตร์: การพัฒนาศักยภาพการแข่งขันทางเศรษฐกิจ กลยุทธ์: สร้างศักยภาพการแข่งขันภาคการเกษตร เพิ่มคุณภาพผลผลิตพืช กระบวนงานที่คัดเลือกมาปรับปรุง (จากแบบฟอร์ม 4.2) แปรรูปผลผลิตการเกษตรเพื่อเพิ่มมูลค่า พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานการผลิต (ปัจจัยด้านน้ำ) ส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรและอาหารให้ได้มาตรฐานความปลอดภัย (Food Safety) กระบวนงานที่ต้องจัดทำเพิ่มเติม(จากแบบฟอร์ม 1.1 ชุดที่ 2)

  24. แบบฟอร์มที่ 5:แบบฟอร์มเพื่อวิเคราะห์สิ่งที่จังหวัด/ส่วนราชการจะต้องมุ่งเน้น ประเด็นยุทธศาสตร์: การพัฒนาศักยภาพการแข่งขันทางเศรษฐกิจ กลยุทธ์: สร้างศักยภาพการแข่งขันภาคการเกษตร • พันธุ์พืชที่แข็งแรงมีภูมิต้านทานโรคดีและเหมาะสมกับสภาพแวดล้อม • เกษตรกรมีคุณภาพมีความสามารถในการเพาะปลูกและเข้าใจในมาตรฐาน GAP • เทคโนโลยีทางการเกษตรที่ดีและมีประสิทธิภาพ • ความสำเร็จในการส่งเสริมเกษตรอินทรีย์ • คุณภาพของดินและปริมาณน้ำที่เพียงพอ เพื่อเพิ่มคุณภาพผลผลิตทางการเกษตรให้มีความปลอดภัยได้มาตรฐาน GAP - การวิจัยและพัฒนาพันธุ์พืชและการพัฒนาเทคโนโลยีทางการเกษตร - การพัฒนาบุคลากรภาครัฐให้มีความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีทางการเกษตร (เช่นเทคนิคการเพาะปลูกมาตรฐาน GAP การปรับปรุงดินเกษตรอินทรีย์และเทคนิคการจัดการน้ำเป็นต้น) - การเผยแพร่ความรู้แก่เกษตรกร (เช่นเทคนิคการเพาะปลูกมาตรฐาน GAP การปรับปรุงดินเกษตรอินทรีย์และเทคนิคการจัดการน้ำเป็นต้น) - การจัดการน้ำที่มีประสิทธิภาพ 1. เกษตรกร กระบวนงานที่คัดเลือกมาปรับปรุง (จากแบบฟอร์ม 4.2)

  25. ขั้นตอนที่ 2 วิเคราะห์สิ่งที่ต้องการเปลี่ยนแปลง / ต้องดำเนินการ (Gap Analysis) วัตถุประสงค์: เพื่อออกแบบกระบวนงานใหม่ และวิเคราะห์สิ่งที่หน่วยงานต้องดำเนินการ/ต้องเปลี่ยนแปลง เพื่อนำข้อมูลที่ได้มาจัดทำรูปเล่มข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงในขั้นตอนต่อไป 2.1 วิเคราะห์กิจกรรมที่ต้องดำเนินการเพื่อให้บรรลุผล 2.2 ระบุสิ่งที่ต้องดำเนินการ/ต้องเปลี่ยนแปลง การจัดทำรูปเล่มข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง

  26. ขั้นตอนที่ 2 วิเคราะห์สิ่งที่ต้องการเปลี่ยนแปลง / ต้องดำเนินการ (Gap Analysis) วัตถุประสงค์: เพื่อออกแบบกระบวนงานใหม่ และวิเคราะห์สิ่งที่หน่วยงานต้องดำเนินการ/ต้องเปลี่ยนแปลง เพื่อนำข้อมูลที่ได้มาจัดทำรูปเล่มข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงในขั้นตอนต่อไป 2.1 วิเคราะห์กิจกรรมที่ต้องดำเนินการเพื่อให้บรรลุผล 2.2 ระบุสิ่งที่ต้องดำเนินการ/ต้องเปลี่ยนแปลง การจัดทำรูปเล่มข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง

  27. ขั้นตอนที่ 2 วิเคราะห์สิ่งที่ต้องการเปลี่ยนแปลง / ต้องดำเนินการ (Gap Analysis) วัตถุประสงค์: เพื่อออกแบบกระบวนงานใหม่ และวิเคราะห์สิ่งที่หน่วยงานต้องดำเนินการ/ต้องเปลี่ยนแปลง เพื่อนำข้อมูลที่ได้มาจัดทำรูปเล่มข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงในขั้นตอนต่อไป 1 2 5 6 7 4 3 แบบฟอร์มที่ 6 “แบบฟอร์มเพื่อวิเคราะห์สิ่งที่ต้องดำเนินการ/สิ่งที่ต้องเปลี่ยนแปลง (Gap Analysis)”

  28. ขั้นตอนที่ 2 วิเคราะห์สิ่งที่ต้องการเปลี่ยนแปลง / ต้องดำเนินการ (Gap Analysis) วัตถุประสงค์: เพื่อออกแบบกระบวนงานใหม่ และวิเคราะห์สิ่งที่หน่วยงานต้องดำเนินการ/ต้องเปลี่ยนแปลง เพื่อนำข้อมูลที่ได้มาจัดทำรูปเล่มข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงในขั้นตอนต่อไป 1 • “ประเด็นยุทธศาสตร์” • คำอธิบาย: ระบุชื่อประเด็นยุทธศาสตร์ที่ทำการวิเคราะห์

  29. ขั้นตอนที่ 2 วิเคราะห์สิ่งที่ต้องการเปลี่ยนแปลง / ต้องดำเนินการ (Gap Analysis) วัตถุประสงค์: เพื่อออกแบบกระบวนงานใหม่ และวิเคราะห์สิ่งที่หน่วยงานต้องดำเนินการ/ต้องเปลี่ยนแปลง เพื่อนำข้อมูลที่ได้มาจัดทำรูปเล่มข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงในขั้นตอนต่อไป 2 2. “กลยุทธ์” คำอธิบาย: ระบุชื่อกลยุทธ์ภายใต้ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ทำการวิเคราะห์

  30. ขั้นตอนที่ 2 วิเคราะห์สิ่งที่ต้องการเปลี่ยนแปลง / ต้องดำเนินการ (Gap Analysis) วัตถุประสงค์: เพื่อออกแบบกระบวนงานใหม่ และวิเคราะห์สิ่งที่หน่วยงานต้องดำเนินการ/ต้องเปลี่ยนแปลง เพื่อนำข้อมูลที่ได้มาจัดทำรูปเล่มข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงในขั้นตอนต่อไป 3 3. “กระบวนงาน” คำอธิบาย: ระบุชื่อกระบวนงานเช่นเดียวกับแบบฟอร์มที่ 5 โดยในส่วนที่ 1 ระบุกระบวนงานที่ได้คัดเลือกมาปรับปรุงและในส่วนที่ 2 ระบุกระบวนงานที่ต้องจัดทำเพิ่มเติมเพื่อวิเคราะห์กิจกรรมที่ต้องดำเนินการเพื่อให้บรรลุผล และสิ่งที่ต้องดำเนินการ/สิ่งที่ต้องเปลี่ยนแปลงต่อไป ส่วนที่ 1 ส่วนที่ 2

  31. ขั้นตอนที่ 2 วิเคราะห์สิ่งที่ต้องการเปลี่ยนแปลง / ต้องดำเนินการ (Gap Analysis) วัตถุประสงค์: เพื่อออกแบบกระบวนงานใหม่ และวิเคราะห์สิ่งที่หน่วยงานต้องดำเนินการ/ต้องเปลี่ยนแปลง เพื่อนำข้อมูลที่ได้มาจัดทำรูปเล่มข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงในขั้นตอนต่อไป 4 4. “กิจกรรมปัจจุบัน” คำอธิบาย:ระบุชื่อกิจกรรมที่ได้ดำเนินการอยู่ในปัจจุบันของแต่ละกระบวนงาน โดยดูจากแบบฟอร์มที่ 1.2 ที่จังหวัด/ส่วนราชการได้ระบุไว้ ในกรณีของกระบวนงานที่ยังไม่ได้ดำเนินการในปัจจุบัน ไม่ต้องระบุกิจกรรมในช่องนี้ แบบฟอร์มที่ 1.2

  32. ขั้นตอนที่ 2 วิเคราะห์สิ่งที่ต้องการเปลี่ยนแปลง / ต้องดำเนินการ (Gap Analysis) วัตถุประสงค์: เพื่อออกแบบกระบวนงานใหม่ และวิเคราะห์สิ่งที่หน่วยงานต้องดำเนินการ/ต้องเปลี่ยนแปลง เพื่อนำข้อมูลที่ได้มาจัดทำรูปเล่มข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงในขั้นตอนต่อไป 5 5. “กิจกรรมที่ต้องดำเนินการเพื่อให้บรรลุผล” คำอธิบาย: ระบุชื่อกิจกรรมที่จังหวัด/ส่วนราชการจำเป็นจะต้องดำเนินการ เพื่อให้กระบวนงานประสบผลสำเร็จ หากกิจกรรมในปัจจุบันใด (จากช่อง “กิจกรรมปัจจุบัน”) ยังมีความจำเป็น ก็ให้คงไว้ และสามารถเพิ่มเติมกิจกรรมที่ควรมี หรือตัดกิจกรรมที่ไม่จำเป็นออก ทั้งนี้ ให้พิจารณาจากสิ่งที่ต้องมุ่งเน้น/ให้ความสำคัญ (ตามที่ระบุไว้ในแบบฟอร์มที่ 5) เปรียบเทียบกับกิจกรรมที่ได้ดำเนินการอยู่ในปัจจุบัน

  33. ขั้นตอนที่ 2 วิเคราะห์สิ่งที่ต้องการเปลี่ยนแปลง / ต้องดำเนินการ (Gap Analysis) วัตถุประสงค์: เพื่อออกแบบกระบวนงานใหม่ และวิเคราะห์สิ่งที่หน่วยงานต้องดำเนินการ/ต้องเปลี่ยนแปลง เพื่อนำข้อมูลที่ได้มาจัดทำรูปเล่มข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงในขั้นตอนต่อไป 6 6. “ชื่อหน่วยงานหลักที่รับผิดชอบ” คำอธิบาย: ระบุชื่อหน่วยงานหลักที่รับผิดชอบของแต่ละกิจกรรมที่ต้องดำเนินการเพื่อให้บรรลุผล

  34. ขั้นตอนที่ 2 วิเคราะห์สิ่งที่ต้องการเปลี่ยนแปลง / ต้องดำเนินการ (Gap Analysis) วัตถุประสงค์: เพื่อออกแบบกระบวนงานใหม่ และวิเคราะห์สิ่งที่หน่วยงานต้องดำเนินการ/ต้องเปลี่ยนแปลง เพื่อนำข้อมูลที่ได้มาจัดทำรูปเล่มข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงในขั้นตอนต่อไป 7 7. “ชื่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง” คำอธิบาย: ระบุชื่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการปฏิบัติงานของแต่ละกิจกรรมที่ต้องดำเนินการเพื่อให้บรรลุผล

  35. ขั้นตอนที่ 2 วิเคราะห์สิ่งที่ต้องการเปลี่ยนแปลง / ต้องดำเนินการ (Gap Analysis) วัตถุประสงค์: เพื่อออกแบบกระบวนงานใหม่ และวิเคราะห์สิ่งที่หน่วยงานต้องดำเนินการ/ต้องเปลี่ยนแปลง เพื่อนำข้อมูลที่ได้มาจัดทำรูปเล่มข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงในขั้นตอนต่อไป 2.1 วิเคราะห์กิจกรรมที่ต้องดำเนินการเพื่อให้บรรลุผล 2.2 ระบุสิ่งที่ต้องดำเนินการ/ต้องเปลี่ยนแปลง การจัดทำรูปเล่มข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง

  36. ขั้นตอนที่ 2 วิเคราะห์สิ่งที่ต้องการเปลี่ยนแปลง / ต้องดำเนินการ (Gap Analysis) วัตถุประสงค์: เพื่อออกแบบกระบวนงานใหม่ และวิเคราะห์สิ่งที่หน่วยงานต้องดำเนินการ/ต้องเปลี่ยนแปลง เพื่อนำข้อมูลที่ได้มาจัดทำรูปเล่มข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงในขั้นตอนต่อไป 8 8. “สิ่งที่ต้องดำเนินการ/สิ่งที่ต้องเปลี่ยนแปลง” คำอธิบาย: ระบุสิ่งที่จังหวัด/ส่วนราชการ ต้องดำเนินการ/ต้องเปลี่ยนแปลง เพื่อให้การดำเนินงานในแต่ละกิจกรรม เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสบผลสำเร็จ

  37. ขั้นตอนที่ 2 วิเคราะห์สิ่งที่ต้องการเปลี่ยนแปลง / ต้องดำเนินการ (Gap Analysis) วัตถุประสงค์: เพื่อออกแบบกระบวนงานใหม่ และวิเคราะห์สิ่งที่หน่วยงานต้องดำเนินการ/ต้องเปลี่ยนแปลง เพื่อนำข้อมูลที่ได้มาจัดทำรูปเล่มข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงในขั้นตอนต่อไป 9 • 9. “เป็นการเปลี่ยนแปลงด้าน” • คำอธิบาย: ระบุตัวย่อของด้านของสิ่งที่ต้องดำเนินการ/ต้องเปลี่ยนแปลง โดยแบ่งเป็น • P(Process) คือ ด้านขั้นตอน/วิธีปฏิบัติงาน • S (Structure) คือ ด้านการจัดแบ่งงานและหน้าที่ • T (Technology) คือ ด้านเทคโนโลยี • H (Human Capital) คือ ด้านบุคลากร

  38. ขั้นตอนที่ 2 วิเคราะห์สิ่งที่ต้องการเปลี่ยนแปลง / ต้องดำเนินการ (Gap Analysis) วัตถุประสงค์: เพื่อออกแบบกระบวนงานใหม่ และวิเคราะห์สิ่งที่หน่วยงานต้องดำเนินการ/ต้องเปลี่ยนแปลง เพื่อนำข้อมูลที่ได้มาจัดทำรูปเล่มข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงในขั้นตอนต่อไป การจัดทำรูปเล่มข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง 2.1 วิเคราะห์กิจกรรมที่ต้องดำเนินการเพื่อให้บรรลุผล 2.2 ระบุสิ่งที่ต้องดำเนินการ/ต้องเปลี่ยนแปลง

  39. แบบฟอร์มที่ 6:แบบฟอร์มเพื่อวิเคราะห์ช่องว่าง (Gap Analysis) และระบุสิ่งที่ต้องดำเนินการ/ต้องเปลี่ยนแปลง 1........... 1........... 2........... 1........... 2........... 1........... 1........... 1........... 1........... 2........... 3........... 1........... 2........... 1........... 2........... 1........... ตัวอย่าง • การวิจัยและพัฒนาพันธุ์พืชและเทคโนโลยีทางการเกษตร • การพัฒนาบุคลากรภาครัฐให้มีความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีทางการเกษตร (เช่นเทคนิคการเพาะปลูกมาตรฐาน GAP การปรับปรุงดินเกษตรอินทรีย์และเทคนิคการจัดการน้ำเป็นต้น) • การฝึกอบรมและถ่ายทอดความรู้แก่เกษตรกร (เช่นเทคนิคการเพาะปลูกมาตรฐาน GAP การปรับปรุงดินเกษตรอินทรีย์และเทคนิคการจัดการน้ำเป็นต้น) • การตรวจและออกใบรับรองแหล่งเพาะปลูกที่ได้มาตรฐาน • การบริหารจัดการแหล่งน้ำ การประชาสัมพันธ์โครงการและการรับจดทะเบียนฟาร์ม การฝึกอบรมกระบวนการผลิตพืชตามหลักเกษตรดีที่เหมาะสม (ผู้ตรวจรับรองแปลง) ฝึกอบรมที่ปรึกษาเกษตรกร (GAP อาสา) ฝึกอบรมและให้คำแนะนำแก่ฟาร์มสมาชิก การตรวจรับรองแหล่งผลิตพืช (หน่วยต่อแปลง) การออกเอกสารรับรอง • มีระบบในการจัดเก็บข้อมูลเกี่ยวกับ: • - ผลการวิจัยและพัฒนา • - แหล่งและปริมาณน้ำความต้องการและประสิทธิภาพในการใช้น้ำ • - ผลผลิตแยกตามชนิดและแหล่งเพาะปลูก • - แหล่งเพาะปลูกที่ได้มาตรฐานGAP และรายละเอียดข้อมูลการออกใบรับรองเป็นต้น • พัฒนาบุคลากรที่มีหน้าที่โดยตรงให้มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับ: • การวิจัยและพัฒนาพันธุ์พืช • เทคโนโลยีทางการเกษตรเป็นต้น T H กระบวนงานที่คัดเลือกมาปรับปรุง (จากแบบฟอร์ม 4.2) หมายเหตุ: * ระบุด้านด้านขั้นตอน / วิธีปฏิบัติงาน (P) ด้านการจัดแบ่งงานและบทบาทหน้าที่ (S) ด้านเทคโนโลยี (T) ด้านบุคลากร (H)

  40. การจัดทำข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง(Blueprint for Change)ด้านการพัฒนาศักยภาพองค์กรและบุคลากร

  41. Agenda การพัฒนาศักยภาพองค์กรและบุคลากร 2.1 การพัฒนาศักยภาพบุคลากรกับการนำกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติ 2.2 แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร 2.3 แบบฟอร์มและวิธีการเก็บข้อมูลและวิเคราะห์

  42. Workforce Transformation Model จะแสดงถึงองค์กรประกอบสำคัญที่ควรพิจารณาในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร Workforce Transformation Model Leadership Enterprise Performance Core Values Strategy and Goals Organization Structure Enterprise Environment Workforce performance Resources and Structure Physical Setup Workforce Capability Process/Task Design Tools and Systems Work Environment Individual performance Individual Competency Motivation Context alignment Goal alignment Characteristics Experience Skills Regulatory issues Economic realities Social and demographic trends

  43. COMPETENCY

  44. Skills + Knowledge + Attributes Competency

More Related