1 / 36

THE BLENDED LEARNING MODEL USING COLLABORATIVE

รูปแบบการเรียนแบบผสมผสานด้วยการเรียนรู้ร่วมกัน โดยใช้กรณีศึกษาเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม สำหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา. THE BLENDED LEARNING MODEL USING COLLABORATIVE AND CASE-BASED LEARNING TO CREATE THE TEAM LEARNING OF THE GRADUATE STUDENTS. ผู้วิจัย.

ziva
Download Presentation

THE BLENDED LEARNING MODEL USING COLLABORATIVE

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. รูปแบบการเรียนแบบผสมผสานด้วยการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้กรณีศึกษาเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีมสำหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษารูปแบบการเรียนแบบผสมผสานด้วยการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้กรณีศึกษาเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีมสำหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา THE BLENDED LEARNING MODEL USING COLLABORATIVE AND CASE-BASED LEARNING TO CREATE THE TEAM LEARNING OF THE GRADUATE STUDENTS

  2. ผู้วิจัย • ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณมน จีรังสุวรรณ • ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยการเรียนการสอนออนไลน์ผู้อำนวยการโครงการหลักสูตร • สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม • มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ • อาจารย์ ดร.ปณิตา วรรณพิรุณ • รองผู้อำนวยการศูนย์วิจัยการเรียนการสอนออนไลน์ • สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

  3. กรอบแนวคิดการวิจัย Self Pace e-Learning Web Based Instruction Face to Face Classroom Live e-Learning การเรียนแบบผสมผสาน Blended Learning(Bonk & Graham, 2004; Bersin, 2004) การเรียนด้วยกรณีศึกษาCase-Based Learning (Oliver,1999; Waterman,2005) การเรียนรู้ร่วมกันอิเล็กทรอนิกส์ e-Collaborative Learning(Okamoto, 2003; Ardil,2007) รูปแบบการเรียนแบบผสมผสานด้วยการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้กรณีศึกษาเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม

  4. วัตถุประสงค์การวิจัย • เพื่อพัฒนารูปแบบการเรียนแบบผสมผสานด้วยการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้กรณีศึกษาเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีมสำหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา • เพื่อศึกษาผลการใช้รูปแบบการเรียนแบบผสมผสานด้วยการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้กรณีศึกษาเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีมสำหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา

  5. สมมติฐานการวิจัย • นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาที่เรียนโดยใช้รูปแบบการเรียนแบบผสมผสานด้วยการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้กรณีศึกษามีผลคะแนนการประเมินการเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีมหลังการเรียนตามรูปแบบการเรียนแบบผสมผสานสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ

  6. ประชากรและกลุ่มตัวอย่างประชากรและกลุ่มตัวอย่าง • กลุ่มตัวอย่าง นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ที่ลงทะเบียนเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อเทคนิคศึกษา ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๓ จำนวน ๒๑ คน • ประชากร นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๓

  7. ตัวแปรในการวิจัย • ตัวแปรตาม คะแนนการประเมินการเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม และความพึงพอใจ • ตัวแปรอิสระ รูปแบบการเรียนแบบผสมผสานด้วยการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้กรณีศึกษาเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีมสำหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา

  8. วิธีดำเนินการวิจัย

  9. วิธีดำเนินการวิจัย ระยะที่ ๑ การพัฒนารูปแบบการเรียนแบบผสมผสานด้วยการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้กรณีศึกษาเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีมสำหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ระยะที่ ๒ การศึกษาผลของการใช้รูปแบบการเรียนแบบผสมผสานด้วยการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้กรณีศึกษาเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีมสำหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา

  10. ระยะที่ ๑ การพัฒนารูปแบบการเรียนแบบผสมผสานด้วยการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้กรณีศึกษา การนำไปใช้ การวิเคราะห์ การพัฒนา การออกแบบ การประเมินผล รูปแบบการเรียนแบบผสมผสานด้วยการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้กรณีศึกษาเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีมสำหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา

  11. ระยะที่ ๑ การพัฒนารูปแบบการเรียนแบบผสมผสานด้วยการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้กรณีศึกษา การนำไปใช้ การวิเคราะห์ การพัฒนา การออกแบบ • วิเคราะห์ความต้องการ(Need analysis) • วิเคราะห์ผู้เรียน(Learner analysis) คุณลักษณะและรูปแบบการเรียนรู้ของนักศึกษาระดับ • วิเคราะห์เนื้อหา (Content analysis) • วิเคราะห์บริบทที่เกี่ยวข้องกับการเรียนแบบผสมผสานด้วยการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้กรณีศึกษา (Context analysis) หน้า ‹#›‹#›

  12. ระยะที่ ๑ การพัฒนารูปแบบการเรียนแบบผสมผสานด้วยการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้กรณีศึกษา การนำไปใช้ การวิเคราะห์ การพัฒนา การออกแบบ • หลักการของรูปแบบการเรียนแบบผสมผสานฯ • วัตถุประสงค์ • โครงข่ายเนื้อหา • ยุทธศาสตร์การเรียนแบบผสมผสานด้วยการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้กรณีศึกษา • การวัดและประเมินผล

  13. ระยะที่ ๑ การพัฒนารูปแบบการเรียนแบบผสมผสานด้วยการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้กรณีศึกษา การนำไปใช้ การวิเคราะห์ การพัฒนา การออกแบบ • รูปแบบการเรียนแบบผสมผสานฯ • ระบบบริหารจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานฯ • แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม • แบบสอบถามความคิดเห็นของผู้เรียน หน้า ‹#›‹#›

  14. ระยะที่ ๑ การพัฒนารูปแบบการเรียนแบบผสมผสานด้วยการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้กรณีศึกษา การนำไปใช้ การวิเคราะห์ การพัฒนา การออกแบบ • รูปแบบการเรียนแบบผสมผสานฯ • หลักการ • วัตถุประสงค์ • กระบวนการเรียนการสอน • การวัดและประเมินผล หน้า ‹#›‹#›

  15. ระยะที่ ๑ การพัฒนารูปแบบการเรียนแบบผสมผสานด้วยการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้กรณีศึกษา การนำไปใช้ การวิเคราะห์ การพัฒนา การออกแบบ • ระบบบริหารจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานฯ F2F classroom LMS Content System Ma. CBL Communication • Self pace e-Learning • Live e-Learning • Synchronous • Asynchronous • Module 1 • … • Module 10

  16. ระยะที่ ๑ การพัฒนารูปแบบการเรียนแบบผสมผสานด้วยการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้กรณีศึกษา การนำไปใช้ การวิเคราะห์ การพัฒนา การออกแบบ • การทดสอบหนึ่งต่อหนึ่ง • การทดสอบกับกลุ่มเล็ก • การทดสอบนำร่อง

  17. ระยะที่ ๑ การพัฒนารูปแบบการเรียนแบบผสมผสานด้วยการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้กรณีศึกษา การนำไปใช้ การวิเคราะห์ การพัฒนา การออกแบบ การประเมินผล • การประเมินเพื่อพัฒนา • ประเมินคุณภาพสื่อด้านเนื้อหา (Content) • ประเมินคุณภาพสื่อด้านการออกแบบการเรียนการสอนแบบผสมผสาน (Instructional Design) • ประเมินคุณภาพสื่อด้านระบบบริหารจัดการเรียนการสอน (LMS)

  18. ระยะที่ ๒ การศึกษาผลการใช้รูปแบบการเรียนแบบผสมผสานด้วยการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้กรณีศึกษา • One Group Pretest – Posttest Design (William & Stephen, 2009) O1 X O2 • Experimental Research Design

  19. ระยะที่ ๒ การศึกษาผลการใช้รูปแบบการเรียนแบบผสมผสานด้วยการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้กรณีศึกษา เตรียมการก่อนการทดลอง • ปฐมนิเทศนักศึกษาเกี่ยวกับรูปแบบการเรียนแบบผสมผสานด้วยการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้กรณีศึกษา การวัดและประเมินผล วัดและประเมินผล การเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีมก่อนเรียน • ฝึกปฏิบัติการใช้เครื่องมือตามรูปแบบการเรียนแบบผสมผสานด้วยการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้กรณีศึกษา ดำเนินการทดลอง วัดและประเมินผล การเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีมหลังเรียน สอบถามความคิดเห็นของผู้เรียน

  20. ระยะที่ ๒ การศึกษาผลการใช้รูปแบบการเรียนแบบผสมผสานด้วยการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้กรณีศึกษา เตรียมการก่อนการทดลอง วัดและประเมินผล การเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีมก่อนเรียน • ชี้แจงขั้นตอนวิธีการวัดฯ • วัดและประเมินผลการเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีมก่อนเรียน ดำเนินการทดลอง • แจ้งผลคะแนนการเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีมก่อนเรียน วัดและประเมินผล การเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีมหลังเรียน สอบถามความคิดเห็นของผู้เรียน

  21. ระยะที่ ๒ การศึกษาผลการใช้รูปแบบการเรียนแบบผสมผสานด้วยการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้กรณีศึกษา เตรียมการก่อนการทดลอง วัดและประเมินผล การเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีมก่อนเรียน ดำเนินการทดลอง • นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา มจพ.วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อเทคนิคศึกษา จำนวน ๒๑ คน วัดและประเมินผล การเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีมหลังเรียน • ระยะเวลาในการทดลอง ๑๐ สัปดาห์ สอบถามความคิดเห็นของผู้เรียน

  22. ระยะที่ ๒ การศึกษาผลการใช้รูปแบบการเรียนแบบผสมผสานด้วยการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้กรณีศึกษา เตรียมการก่อนการทดลอง วัดและประเมินผล การเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีมก่อนเรียน ดำเนินการทดลอง • ชี้แจงขั้นตอนวิธีการวัดฯ วัดและประเมินผล การเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีมหลังเรียน • วัดและประเมินผลการเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีมหลังเรียน • แจ้งผลคะแนนการเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีมหลังเรียน สอบถามความคิดเห็นของผู้เรียน

  23. ระยะที่ ๒ การศึกษาผลการใช้รูปแบบการเรียนแบบผสมผสานด้วยการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้กรณีศึกษา เตรียมการก่อนการทดลอง วัดและประเมินผล การเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีมก่อนเรียน ดำเนินการทดลอง วัดและประเมินผล การเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีมหลังเรียน • ความพึงพอใจต่อการเรียนตามรูปแบบการเรียนแบบผสมผสานด้วยการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้กรณีศึกษา สอบถามความคิดเห็นของผู้เรียน

  24. ระบบบริหารจัดการเรียนรู้ตามรูปแบบการเรียนแบบผสมผสานด้วยการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้กรณีศึกษาระบบบริหารจัดการเรียนรู้ตามรูปแบบการเรียนแบบผสมผสานด้วยการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้กรณีศึกษา

  25. ตัวอย่างกรณีศึกษา หัวข้อที่ ๑ การบริหารทรัพยากรคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ กรณีศึกษาที่ ๑ การใช้พีดีเอในร้านขายก๋วยเตี๋ยว • ประโยชน์ที่ได้จากการนำพีดีเอมาใช้ในธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวมีอะไรบ้าง • ท่านคิดว่ามีข้อจำกัดหรือปัญหาอะไรบ้างในการนำเทคโนโลยีพีดีมาใช้ในธุรกิจนี้ • ธุรกิจใดบ้างที่สามารถนำแนวคิดนี้ไปประยุกต์ใช้ จงอธิบาย

  26. ตัวอย่างกรณีศึกษา หัวข้อที่ ๒ แนวคิดเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ กรณีศึกษาที่ ๒ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารงานร้านไอศกรีม Iberry • ประโยชน์ที่ร้านไอศกรีม Iberryนำไอทีเข้ามาช่วยการบริหารงาน นอกจากการแก้ปัญหาข้างต้นแล้ว ท่านคิดว่าทางร้านยังได้รับประโยชน์ใดได้บ้าง • ท่านคิดว่าในอนาคตร้านไอศกรีม Iberryสามารถนำไอทีเข้ามาช่วยงานด้านใดอีกได้บ้าง • จากแนวคิดการนำไอทีมาใช้แก้ปัญหาของผู้บริหารร้านไอศกรีม Iberryนั้น ท่านคิดว่าสามารถนำแนวคิดนี้ไปประยุกต์ใช้กับธุรกิจใดได้บ้าง จงอธิบายและยกตัวอย่างประกอบ

  27. สรุปผลการวิจัย

  28. รูปแบบการเรียนแบบผสมผสานด้วยการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้กรณีศึกษาเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีมรูปแบบการเรียนแบบผสมผสานด้วยการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้กรณีศึกษาเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม

  29. รูปแบบการเรียนแบบผสมผสานด้วยการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้กรณีศึกษาเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีมรูปแบบการเรียนแบบผสมผสานด้วยการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้กรณีศึกษาเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม ปัจจัยสนับสนุนการเรียน วัตถุประสงค์การเรียนรู้ วิธีการปฏิสัมพันธ์ การเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้กรณีศึกษา ขั้นการเตรียมการ บทบาทผู้เรียน กิจกรรมการเรียนการสอน ขั้นการเรียนแบบผสมผสานด้วยการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้กรณีศึกษา บทบาทผู้สอน ลักษณะการจัดกิจกรรม การเรียนการสอน การประเมินผลการเรียนรู้ ขั้นทดสอบความรู้และประเมินผล เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

  30. กิจกรรมการเรียนแบบผสมผสานด้วยการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้กรณีศึกษากิจกรรมการเรียนแบบผสมผสานด้วยการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้กรณีศึกษา ขั้นการเตรียมการ การวางแผนและกำหนดทิศทางการเรียนรู้ การสร้างแรงจูงใจในการเรียนรู้ การสนับสนุนแหล่งเรียนรู้ ขั้นการเรียนแบบผสมผสานด้วย การเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้กรณีศึกษา ขั้นทดสอบความรู้และประเมินผล

  31. กิจกรรมการเรียนแบบผสมผสานด้วยการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้กรณีศึกษากิจกรรมการเรียนแบบผสมผสานด้วยการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้กรณีศึกษา ขั้นการเตรียมการ Self pace e-Learning / LMS: Online content ศึกษาเนื้อหาบทเรียน F2F Classroom / LMS: CBL Situation webpage, Web board ศึกษากรณีศึกษา ขั้นการเรียนแบบผสมผสานด้วย การเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้กรณีศึกษา Live e-Learning, e-Brainstorming LMS: small group chat room,Web board วินิจฉัยปัญหาด้วยการสำรวจ ระดมสมองโดยใช้เครื่องมือบนเว็บเพื่อหาวิธีการแก้ปัญหา Live e-Learning, e-Brainstorming LMS: small group chat room, Web board, Online question ขั้นทดสอบความรู้และประเมินผล F2F Classroom: Classroom discussion, Oral presentation Live e-Learning, e-Brainstorming LMS: Small group chat room, Web board ร่วมกันสรุปผล

  32. กิจกรรมการเรียนแบบผสมผสานด้วยการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้กรณีศึกษากิจกรรมการเรียนแบบผสมผสานด้วยการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้กรณีศึกษา ขั้นการเตรียมการ วัดและประเมินผลการเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม ขั้นการเรียนแบบผสมผสานด้วย การเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้กรณีศึกษา ผู้เรียนและผู้สอนร่วมกันสรุปกรณีศึกษา วัดและประเมินผลการเรียนรู้จากกรณีศึกษา ไม่ผ่าน ประเมินผลการเรียนรู้ ขั้นทดสอบความรู้และประเมินผล ทบทวน Online: LMS ผ่าน ศึกษาเนื้อหาหน่วยถัดไป

  33. ผลการใช้รูปแบบการเรียนแบบผสมผสานด้วยการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้กรณีศึกษาเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีมสำหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาผลการใช้รูปแบบการเรียนแบบผสมผสานด้วยการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้กรณีศึกษาเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีมสำหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา

  34. ผลการวิเคราะห์คะแนนการเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีมของนักศึกษาผลการวิเคราะห์คะแนนการเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีมของนักศึกษา *p > .05

  35. ผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการเรียนตามรูปแบบการเรียนแบบผสมผสานผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการเรียนตามรูปแบบการเรียนแบบผสมผสาน • นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาที่เรียนโดยรูปแบบการเรียนแบบผสมผสานด้วยการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้กรณีศึกษาเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม มีความพึงพอใจต่อการเรียนตามรูปแบบอยู่ในระดับมาก (X =4.38, S.D. = 0.66)

  36. Question

More Related