470 likes | 2.36k Views
ศูนย์การเรียนรู้ทางการวิจัย สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. การ Try Out แบบสอบถาม และการคัดเลือกคำถามการวิจัย. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข หัวหน้าศูนย์วิจัยเทคโนโลยีทางอาชีวศึกษา สำนักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. Contents.
E N D
ศูนย์การเรียนรู้ทางการวิจัยศูนย์การเรียนรู้ทางการวิจัย สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ การ Try Out แบบสอบถามและการคัดเลือกคำถามการวิจัย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข หัวหน้าศูนย์วิจัยเทคโนโลยีทางอาชีวศึกษา สำนักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
Contents การสร้างแบบสอบถามเพื่อการวิจัย 1 การทดสอบแบบสอบถาม 2 การทดสอบแบบวัด หรือข้อสอบ 3 การวิเคราะห์คุณภาพแบบสอบถามเพื่อการวิจัย 4
การสร้างแบบสอบถามเพื่อการวิจัยการสร้างแบบสอบถามเพื่อการวิจัย • แบบสอบถาม • แบบสัมภาษณ์ • แบบสังเกตุ • แบบวัด • แบบประเมิน
แบบสอบถาม • ความตรง (Validity) • ความเที่ยง(Reliability) • ความเป็นปรนัย (Objectivity) • อำนาจจำแนก (Discrimination) • ความยาก/ง่าย (Difficulty)
การ Tryout แบบสอบถาม • แบบทดสอบ • ปรนัย • อัตนัย • แบบสอบถาม(Questionnaire) • คำถามปลายเปิด (Open Ended Question) • คำถามปลายปิด (Close Ended Question)
วัตถุประสงค์การวิจัยกับแบบสอบถามวัตถุประสงค์การวิจัยกับแบบสอบถาม • แบบวัดผล : ปรนัย-อัตนัย • แบบทดสอบ : ก ข ค ง จ • แบบประเมิน : 5 4 3 2 1 • แบบสอบถาม • มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด • ดีมาก ดี พอใช้ น้อย น้อยที่สุด • เหมาะสมมากที่สุด มาก ไม่แน่ใจ น้อย ไม่เหมาะสม
การทดสอบเครื่องมือวิจัยการทดสอบเครื่องมือวิจัย • แบบทดสอบข้อสอบ (Multiple choice) เป็นการทำข้อสอบแบบเลือกตอบ • แบบสอบถาม (Questionnaire) เป็นการตอบคำถามแล้วมาประเมิน
แบบทดสอบ • แบบทดสอบก่อนเรียน • แบบทดสอบระหว่างเรียน (แบบฝึกหัด) • แบบทดสอบหลังเรียน • แบบทดสอบครบทุกบท/ ครอบคลุมวัตถุประสงค์
ประเภทแบบทดสอบ • การประเมินระหว่างเรียน ( Formative Evaluation) • แบบฝึกหัดระหว่างเรียน • การสังเกตุ การสัมภาษณ์ • การประเมินสรุป (Summative Evaluation) • แบบทดสอบท้ายบทเรียน • แบบวัดความพึงพอใจ
การวิเคราะห์คุณภาพแบบทดสอบการวิเคราะห์คุณภาพแบบทดสอบ • เทคนิค 25 % • กลุ่มคะแนนสูง 25 % • กลุ่มคะแนนต่ำ 25 % • คะแนนกลาง ๆ ตัดทิ้งทั้งหมด • ค่าความยากง่าย(P) อยู่ระหว่าง 0.2- 0.8 • ค่าอำนาจจำแนก (D) ตั้งแต่ 0.25 ขึ้นไป • ค่าความเชื่อมั่น 0.8 ขึ้นไป
ค่าความยากง่าย-อำนาจจำแนกค่าความยากง่าย-อำนาจจำแนก
การทดสอบเครื่องมือวิจัยการทดสอบเครื่องมือวิจัย • Tryout แบบทดสอบ • One to One • Small Group • Large Group / Filed Study • การหาประสิทธิภาพ 80/80 prachyanunn@kmutnb.ac.th http://www.prachyanun.com
One to one • การทดลองแบบหนึ่งต่อหนึ่ง • ทดลองให้นักเรียนหนึ่งคนเข้าเรียนรายวิชาใน e-Learning • สังเกตปัญหาในการเรียน • สัมภาษณ์การเข้าใช้ระบบ e-Learning • หาข้อขัดข้องทำการแก้ไข prachyanunn@kmutnb.ac.th http://www.prachyanun.com
Small Group • การทดลองกลุ่มเล็ก 3-9 คน • แบ่งออกเป็นกลุ่มอ่อน – ปานกลาง - เก่ง • ทดลองให้นักเรียนสามคนเข้าเรียนในรายวิชา e-Learning • สังเกตพฤติกรรมและปัญหาในการเข้าเรียน • สัมภาษณ์ปัญหาในการเข้าเรียนทั้งสามคน นำมาวิเคราะห์ปัญหา • ปรับแก้ไขข้อบกพร่องที่เกิดขึ้น prachyanunn@kmutnb.ac.th http://www.prachyanun.com
Large Group • การทดลองกลุ่มใหญ่ 30 คน • ทดลองให้นักเรียน 15-30 คนเข้าเรียนในรายวิชา e-Learning • สังเกตพฤติกรรมและปัญหาในการเข้าเรียน • สัมภาษณ์ปัญหาในการเข้าเรียนทั้งหมด นำมาวิเคราะห์ปัญหา • ปรับแก้ไขข้อบกพร่องที่เกิดขึ้น prachyanunn@kmutnb.ac.th http://www.prachyanun.com
ระดับความคิดเห็น ข้อเสนอแนะ ในการปรับปรุง ดีมาก 5 ดี 4 ปานกลาง 3 พอใช้ 2 ควร ปรับปรุง 1 ตัวอย่างแบบประเมินสื่อ ด้านการประเมิน 1. ด้านตัวอักษร (Text) 2. ด้านภาพนิ่ง (Image) 3. ด้านภาพเคลื่อนไหว (Animation) 4. ด้านเสียง (Audio) 5. ด้านปฏิสัมพันธ์ (Interactive) prachyanunn@kmutnb.ac.th http://www.prachyanun.com
การหาประสิทธิภาพสื่ออิเล็กทรอนิกส์การหาประสิทธิภาพสื่ออิเล็กทรอนิกส์ E1/E2 : 80/80 E1หมายถึง ค่าร้อยละของคะแนนเฉลี่ยของนักศึกษาที่ทำแบบทดสอบระหว่างเรียนแต่ละหน่วย E2 หมายถึง ค่าร้อยละของคะแนนเฉลี่ยของนักศึกษาที่ทำแบบทดสอบหลังการเรียนเมื่อเรียนครบทุกหน่วย prachyanunn@kmutnb.ac.th http://www.prachyanun.com
E post – Epre > 60 • การวิเคราะห์หาประสิทธิผล E post = ร้อยละของคะแนนที่ได้จากการทำแบบทดสอบหลังเรียนทั้งวิชา E pre = ร้อยละของคะแนนที่ได้จากการทำแบบทดสอบก่อนเรียนทั้งวิชา prachyanunn@kmutnb.ac.th http://www.prachyanun.com
การ Tryout แบบสอบถาม • เครื่องมือการวิจัยที่ประกอบด้วยชุดของคำถามที่จะต้องใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยใช้แบบสอบถามเพื่อเก็บข้อมูลทุกประเภทในการวิจัย ทั้งข้อความจริง ความคิดเห็น การตัดสินใจ ความพึงพอใจ การมีส่วนร่วมและความผูกพันต่าง ๆ เป็นรายบุคคลหรือกลุ่มบุคคล ซึ่งแบบสอบถามมีหลายลักษณะ เช่น แบบคำถามให้ตอบรับหรือปฏิเสธ แบบมีหลายตัวเลือก แบบตรวจสอบรายการ แบบจัดอันดับ แบบลิเคิร์ทและแบบคำถามปลายเปิด
การหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบัคการหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบัค • การหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบัค(Cronbachs’alpha) เป็นการใช้กับเครื่องมือ/แบบสอบถาม ที่ทุกๆข้อคำถาม ไม่มีค่า 0หรือ โดยใช้กับแบบสอบถามประเภทเรียงลำดับ เช่น แบบสอบถามที่ใช้แทนตัวเลขเป็น5 4 3 2 และ1 (Likert Scale) โดยใช้สูตรCronbachs’alpha
บทสรุปการ Tryout แบบสอบถาม • การ Tryout แบบทดสอบ • การหาค่าความยาก-ง่าย • อำนาจจำแนก • ความเชื่อมั่นของแบบทดสอบ • การ Tryout แบบสอบถาม • IOC โดยผู้เชี่ยวชาญ • สอบถามกลุ่มทดสอบแล้วนำมาวิเคราะห์สัมประสิทธิอัลฟ่า
ศูนย์การเรียนรู้ทางการวิจัยศูนย์การเรียนรู้ทางการวิจัย สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ Thank You ! ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข081-7037515 prachyanunn@kmutnb.ac.th http://www.prachyanun.com