1.28k likes | 2.19k Views
การเงินสถานศึกษา. ยุพดี ดีอินทร์. ผอ.ตสน.สพม.2. เงินในสถานศึกษา. 1. เงินอุดหนุน. 2. เงินรายได้สถานศึกษา. เงินอุดหนุน. หนังสือสั่งการ. หนังสือ สพฐ. ที่ 04006/2279 ลว. 16 ธันวาคม 2548. 2. เงินอุดหนุน. 1.เงินอุดหนุน คชจ.ในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน.
E N D
การเงินสถานศึกษา ยุพดี ดีอินทร์ ผอ.ตสน.สพม.2
เงินในสถานศึกษา 1. เงินอุดหนุน 2. เงินรายได้สถานศึกษา
หนังสือสั่งการ หนังสือ สพฐ. ที่ 04006/2279 ลว. 16 ธันวาคม 2548 2
เงินอุดหนุน 1.เงินอุดหนุน คชจ.ในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2.เงินอุดหนุนปัจจัยพื้นฐานสำหรับ นร.ยากจน 3.ค่าอาหารนักเรียนประจำพักนอน 3
1. เงินอุดหนุน คชจ.ในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ค่าใช้จ่ายรายหัว) หลักการ • รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 • มาตรา 49 • พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 • และที่แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2545 • * หมวด 2 มาตรา 10 • * หมวด 8 มาตรา 60 4
หลักการ • รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 • มาตรา 49 • “ บุคคลย่อมมีสิทธิเสมอกันในการรับการศึกษา • ขั้นพื้นฐานไม่น้อยกว่าสิบสองปี ที่รัฐจะต้องจัดให้ • อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ โดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย” 5
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 • และที่แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2545 • * หมวด 2 มาตรา 10“การจัดการศึกษา • ต้องจัดให้บุคคลมีสิทธิและโอกาสเสมอกันในการ • รับการศึกษาขั้นพื้นฐานไม่น้อยกว่าสิบสองปีที่รัฐ • ต้องจัดให้อย่างทั่วถึง และมีคุณภาพโดยไม่เก็บ • ค่าใช้จ่าย 6
* หมวด 8 มาตรา 60 “ให้รัฐจัดสรรงบประมาณแผ่นดินให้กับการศึกษาในฐานะที่มีความสำคัญสูงสุดต่อการพัฒนา ที่ยั่งยืนของประเทศ โดยจัดสรรเป็นเงินงบประมาณ เพื่อการศึกษาดังนี้(1) จัดสรรเงินอุดหนุนทั่วไปเป็นค่าใช้จ่ายรายบุคคลที่เหมาะสมแก่ผู้เรียนการศึกษาภาคบังคับ และการศึกษาขั้นพื้นฐานที่จัดโดยรัฐและเอกชนให้เท่าเทียมกัน” 7
วัตถุประสงค์ เพื่อใช้ในการจัดการเรียนการสอนให้ได้ประโยชน์สูงสุดในการพัฒนานักเรียนให้เป็นไปตามเจตนารมย์ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 และ พรบ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 , 2545 8
แนวทางการใช้งบประมาณ 1. สถานศึกษาจัดทำแผนการปฏิบัติงานประจำปี 2. เสนอแผนฯ ผ่านความเห็นชอบต่อ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน 3. รายงานผลการดำเนินงานให้สาธารณชนทราบ 4. ใช้จ่ายงบประมาณให้สอดคล้องกับแผนฯ 9
งบประมาณ คชจ.รายหัว * ก่อนประถม 1,700 บาท/คน * ประถม 1,900 บาท/คน * มัธยมศึกษาตอนต้น 3,500 บาท/คน * มัธยมศึกษาตอนปลาย 3,800 บาท/คน 10
3 ประเภท ลักษณะการใช้งบประมาณ • งบบุคลากร • *ค่าจ้างชั่วคราว เช่น จ้างครูอัตราจ้างรายเดือน • พนักงานขับรถ ฯลฯ 11
งบดำเนินงาน • * ค่าตอบแทน เช่น ค่าตอบแทนวิทยากร • ค่าตอบแทนวิทยากรวิชาชีพท้องถิ่น ฯลฯ • * ค่าใช้สอย เช่น ค่าเบี้ยเลี้ยง ค่าเช่าที่พัก ค่าพาหนะ • ค่าจ้างซ่อมแซม ค่าจ้างเหมาบริการ ค่าพาหนะพา นร. • ไปทัศนศึกษาแหล่งเรียนรู้ ฯลฯ • * ค่าวัสดุ เช่น ค่าวัสดุการศึกษา ค่าเครื่องเขียน • ค่าวัสดุเวชภัณฑ์ ค่าซ่อมแซมบำรุงรักษาทรัพย์สิน ฯลฯ • * ค่าสาธารณูปโภค เช่น ค่าน้ำ ค่าไฟฟ้า ค่าโทรศัพท์ • ฯลฯ 12
งบลงทุน • * ค่าครุภัณฑ์ เช่น จัดซื้ออุปกรณ์คอมพิวเตอร์ • เครื่องถ่ายเอกสาร ฯลฯ • * ค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้าง รายจ่ายเพื่อประกอบ • ดัดแปลงต่อเติม หรือปรับปรุงที่ดินและหรือสิ่งก่อสร้าง • ที่มีวงเงินเกินกว่า 50,000 บาท เช่น ค่าจัดสวน • ค่าถมดิน ถนน รั้ว สะพาน บ่อน้ำ ฯลฯ 13
2. เงินอุดหนุนปัจจัยพื้นฐานสำหรับ นร.ยากจน นร.ยากจน = นร.ที่ผู้ปกครองมีรายได้ต่อครัวเรือน ไม่เกิน 40,000 บาท/ปี ให้นักเรียนยากจนขาดแคลน ชั้น ป. 1 – ม. 3 14
งบประมาณ * ประถม 500 บาท/คน/ภาค * มัธยมศึกษาตอนต้น และขยายโอกาส 1,500 บาท/คน/ภาค 15
ลักษณะการใช้งบประมาณ ลักษณะ ถัวจ่าย ค่าหนังสือและอุปกรณ์การเรียน ค่าเสื้อผ้าและเครื่องแต่งกายนักเรียน ค่าอาหารกลางวัน และค่าพาหนะในการเดินทาง 16
การใช้จ่ายงบประมาณ • 1. ค่าหนังสือและอุปกรณ์การเรียน • 2. ค่าเสื้อผ้าและวัสดุเครื่องแต่งกายนักเรียน • ค่าอาหารกลางวัน • ค่าพาหนะในการเดินทาง 17
การจัดซื้อ – จัดจ้าง – จัดหา ดำเนินการตามระเบียบฯพัสดุ การจ่ายเงินสดให้ นร. โดยตรง แต่งตั้งคณะกรรมการอย่างน้อย 3 คน ร่วมกันจ่ายเงิน ใช้ใบสำคัญรับเงินเป็นหลักฐาน 18
แนวทางดำเนินงาน • สำรวจข้อมูล นร.ยากจน และรายงาน สพท. • เพื่อเสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณ • จัดสรรและใช้จ่ายงบประมาณให้เป็นไปตาม • วัตถุประสงค์ • จัดกิจกรรมและควบคุมดูแล นร.ยากจน • รายงานผลการดำเนินงาน 19
3. ค่าอาหารนักเรียนประจำพักนอน ป. 1 - ม. 3 20
ค่าอาหารนักเรียนประจำพักนอนค่าอาหารนักเรียนประจำพักนอน = เงินงบประมาณที่จัดสรรให้แก่สถานศึกษาที่ได้ ดำเนินการจัดที่พักให้แก่นักเรียน ซึ่งมีถิ่นที่อยู่ไม่สะดวก ห่างไกล กันดาร ไว้สำหรับพักอาศัย ทั้งที่จัดในและ นอกสถานศึกษา โดยสถานศึกษาได้ดำเนินการควบคุม ดูแล และจัดระบบแบบเต็มเวลา 21
ยกเว้น • นร.ในสถานศึกษาทั่วไปแบบประจำ • นร.ในสถานศึกษาสังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ • สถานศึกษาที่ได้ดำเนินการจัดหอพักในสถานศึกษาและได้เรียกเก็บเงินค่าอาหาร นร. ประจำพักนอนทุกคนแล้ว • กรณีเรียกเก็บเงินไม่ครบทุกคน จัดสรรให้ได้เฉพาะจำนวน นร. ส่วนที่เหลือ 22
ลักษณะการใช้งบประมาณ ใช้เป็นค่าอาหารนักเรียนประจำพักนอน 23
การใช้จ่ายงบประมาณ • จ่ายหรือจัดหาอาหาร โดยเลือกวิธีได้ดังนี้ • * จัดซื้อวัตถุดิบประกอบอาหาร หรือ • จ้างเหมาทำอาหาร • * จ่ายเงินสดให้ นร. • หากมีงบประมาณคงเหลือ สามารถนำไป • ใช้จ่ายรายการอื่นที่เกี่ยวกับการจัดอาหารได้ 24
แนวทางดำเนินงาน • สำรวจข้อมูลจากโครงการ นร.ประจำพักนอน • และรายงาน สพท. เพื่อเสนอขอรับการสนับสนุน • งบประมาณ • จัดสรรและใช้จ่ายงบประมาณให้เป็นไปตาม • วัตถุประสงค์ • จัดกิจกรรมและควบคุมดูแล นร.ประจำพักนอน • รายงานผลการดำเนินงาน 25
รายได้ สถานศึกษา โดย ยุพดี ดีอินทร์ ผอ.ตสน. สพม. 2
ระเบียบ สพฐ. ว่าด้วยการบริหารจัดการเกี่ยวกับ เงินรายได้สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่เป็นนิติบุคคล ในสังกัดเขตพื้นที่การศึกษา พ.ศ. 2549 1
สถานศึกษา สถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่เป็นนิติบุคคล ในสังกัดเขตพื้นที่การศึกษา ตามประกาศของ สพท. 2
เงินรายได้สถานศึกษา บรรดารายได้ ผลประโยชน์ที่เกิดจากที่ราชพัสดุเบี้ยปรับที่เกิดจากการผิดสัญญาลาศึกษาและเบี้ยปรับที่เกิดจากการผิดสัญญาการซื้อทรัพย์สินหรือจ้างทำของที่ดำเนินการโดยใช้เงินงบประมาณ เงินที่มีผู้มอบให้ และเงินหรือผลประโยชน์อื่นที่สถานศึกษาได้รับไว้เป็นกรรมสิทธิ์ แต่ไม่รวมถึงเงินงบประมาณรายจ่าย 3
การรับเงินและการเก็บรักษาเงินการรับเงินและการเก็บรักษาเงิน หมวด 1 ข้อ 5 - ออกใบเสร็จรับเงินทุกครั้งที่รับเงิน - ใบเสร็จรับเงินใช้ตามแบบทางราชการ - ควบคุมใบเสร็จรับเงินให้ตรวจสอบได้ ข้อ 6 - เก็บรักษาเงินสดไว้สำรองจ่ายตามที่ สพฐ. กำหนด - นอกนั้นนำฝากกระทรวงการคลังหรือ สำนักงานคลังจังหวัด หรือนำฝากธนาคาร 4
การก่อหนี้ผูกพันและการใช้จ่ายเงินการก่อหนี้ผูกพันและการใช้จ่ายเงิน หมวด 2 ข้อ 7 - เงินรายได้สถานศึกษาใดให้ใช้จ่าย หรือก่อหนี้ผูกพันเฉพาะสถานศึกษานั้น ข้อ 8 - ให้นำเงินรายได้ฯไปจ่ายเป็นค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาตามหลักเกณฑ์ อัตราและวิธีการที่ สพฐ. กำหนด ข้อ 9 - อำนาจการอนุมัติจ่ายและก่อหนี้ผูกพันให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่ เลขา สพฐ. กำหนด 5
การเงิน การพัสดุ การบัญชี หมวด 3 ข้อ 10 - การเงิน การบัญชี การพัสดุ ที่มิได้กำหนดไว้ในระเบียบนี้ ให้ถือปฏิบัติตามระเบียบกฎหมายของทางราชการโดยอนุโลม - กรณีจำเป็นต้องปฏิบัตินอกเหนือจากที่กำหนดไว้ในระเบียบนี้ ให้ขอทำความตกลงกับกระทรวงการคลัง 6
บทเฉพาะกาล ข้อ 11 - ให้เงินรายได้สถานศึกษาที่มีอยู่ก่อนระเบียบนี้ใช้บังคับ เป็นเงินรายได้สถานศึกษาตามระเบียบนี้ 7
ประกาศ สพฐ. ว่าด้วยหลักเกณฑ์ อัตรา และวิธีการนำเงินรายได้สถานศึกษาไปจ่ายเป็นค่าใช้จ่าย ในการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ขั้นพื้นฐานที่เป็นนิติบุคคล ในสังกัดเขตพื้นที่การศึกษาพ.ศ. 2551 8
ข้อ 1 การใช้จ่ายเงินรายได้สถานศึกษา เป็นค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษา และค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวเนื่องกับการจัดการศึกษา 9
ให้ใช้จ่ายตามแผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายเงินรายได้ของสถานศึกษาให้ใช้จ่ายตามแผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายเงินรายได้ของสถานศึกษา • คำนึงถึงผลประโยชน์ของผู้เรียน ความคุ้มค่า โปร่งใส และตรวจสอบได้ 10
ข้อ 2 เงินที่มีผู้มอบให้สถานศึกษาโดยระบุวัตถุประสงค์ชัดแจ้ง ให้ใช้จ่าย หรือก่อหนี้ผูกพันได้เฉพาะในกิจการที่ ผู้มอบระบุวัตถุประสงค์ไว้เท่านั้น 11
การใช้จ่ายเงินรายได้ฯการใช้จ่ายเงินรายได้ฯ ข้อ 3 Money รายจ่ายค่าจ้างชั่วคราว เพื่อจ้างครูผู้สอน และพนักงานที่ปฏิบัติงานในลักษณะอำนวยการ งบดำเนินงาน ยกเว้น ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปต่างประเทศ งบเงินอุดหนุน ช่วย นร. ยากจนและขาดแคลน 12
ข้อ 3 (ต่อ) งบลงทุนเฉพาะที่เป็นประโยชน์ต่อการจัดการเรียนการสอนและพัฒนาคุณภาพการศึกษา ค่าครุภัณฑ์ วงเงินต่อหน่วยต่ำกว่า 2,000,000 บาท ค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้าง วงเงินต่อหน่วยต่ำกว่า 10,000,000 บาท รายจ่ายเพื่อสมทบค่าครุภัณฑ์ ที่ดิน และสิ่งก่อสร้าง ให้เป็นไปตามระเบียบว่าด้วยการ บริหารงบประมาณที่ทางราชการกำหนด 13
การใช้จ่ายเงินรายได้ฯการใช้จ่ายเงินรายได้ฯ เพื่อเป็นเงินยืม ข้อ 4 ยืมเงินเพื่อทดรองจ่ายในการบริหารจัดการเพื่อพัฒนาสภาพแวดล้อมและเพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนการสอนของสถานศึกษา การดำเนินงานจัดหารายได้ให้กับสถานศึกษา ยืมเพื่อทดรองจ่ายสวัสดิการของข้าราชการและลูกจ้าง ในส่วนที่เบิกงบประมาณมาชดใช้ได้ 14
ข้อ 5 - ห้ามสั่งซื้อ สั่งจ้าง และก่อหนี้ผูกพัน เกินวงเงินรายได้สถานศึกษาที่มีอยู่ ณ วันที่ดำเนินการ 15
ข้อ 6 - รายงานการรับ – จ่ายเงินรายได้สถานศึกษาให้คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานและสพท. ทราบ ภายใน 30 วัน นับแต่วันสิ้นปีงบประมาณ 16
ข้อ 7 - กรณีจำเป็นต้องปฏิบัตินอกเหนือ จากที่กำหนดไว้ในประกาศนี้ ให้ขอความเห็นชอบต่อ เลขา สพฐ.ก่อนดำเนินการ 17
มอบอำนาจเกี่ยวกับเงินรายได้สถานศึกษามอบอำนาจเกี่ยวกับเงินรายได้สถานศึกษา 1505/2551 ลว 26 พย. 51 • ผอ.ร.ร. ครั้งละไม่เกิน 15 ล้านบาท • ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา 20 ล้านบาท • ผอ สำนักการคลังและสินทรัพย์ สพฐ 20 ล้านบาท • ผู้ว่าราชการจังหวัด 25 ล้านบาท • ที่ปรึกษาสำนักการคลังและสินทรัพย์ สพฐ 30 ล้านบาท • รองเลขาธิการ สพฐ 40 ล้านบาท • นอกนั้นให้เป็นอำนาจเลขาฯ สพฐ 18
แนวการดำเนินงาน เงินรายได้สถานศึกษา
หนังสือ สพฐ.ที่ศธ 04012/ว7 ลว 10 มกราคม 54 เงิน/ผลประโยชน์อื่นที่สถานศึกษาได้รับไว้เป็นกรรมสิทธิ์ • เงินระดมทรัพยากร • เงินบำรุงการศึกษา • เงินได้จากการใช้อาคารสถานที่สถานศึกษา • - เงินค่าตอบแทน/เงินสนับสนุน/เงินบำรุง/ค่าเช่าจากการใช้อาคารเรียน ห้องประชุม ห้องสมุด ห้องโสตทัศนะศึกษา • ห้องคอมพิวเตอร์ บริเวณสถานที่อื่น ๆ ของสถานศึกษา รวมถึงอุปกรณ์และสิ่งอำนวยความสะดวกต่าง ๆ • - เงินบำรุง/ค่าเช่าสถานที่จำหน่ายอาหาร เครื่องดื่ม 1
เงินหรือผลประโยชน์อื่นที่สถานศึกษาได้รับไว้เป็นกรรมสิทธิ์ (ต่อ) • เงินค่าสาธารณูปโภค • - ค่าไฟฟ้าส่วนที่เก็บเพิ่มจาก นร. ที่สมัครใจรับบริการติดตั้งเครื่องปรับอากาศในห้องนอนของสถานศึกษาที่มีการเรียกเก็บค่าบำรุงหอพักนักเรียน • - ค่าไฟฟ้า ค่าน้ำประปา ที่เรียกเก็บจากบ้านพักครู • บ้านพักภารโรง/บุคคลภายนอกที่ขอใช้ร่วมกับสถานศึกษา • ให้สมทบจ่ายค่าไฟฟ้า ประปาของสถานศึกษา 2