370 likes | 635 Views
AEC กับการเตรียมความพร้อมของ กรมปศุสัตว์. โดย … น.สพ . วัช รพล โชติยะปุตตะ กองปศุสัตว์ต่างประเทศ กรมปศุสัตว์. Outline. ภาพรวม AEC ผลกระทบการเปลี่ยนแปลงโลก สู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ( Global Change ) ยุทธศาสตร์ AEC ที่สำคัญต่อภาคการปศุสัตว์ ไทย
E N D
AEC กับการเตรียมความพร้อมของ กรมปศุสัตว์ โดย… น.สพ.วัชรพล โชติยะปุตตะ กองปศุสัตว์ต่างประเทศ กรมปศุสัตว์
Outline • ภาพรวม AEC • ผลกระทบการเปลี่ยนแปลงโลกสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (Global Change) • ยุทธศาสตร์ AECที่สำคัญต่อภาคการปศุสัตว์ไทย • กรมปศุสัตว์กับการเตรียมรับการเปิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
1. ภาพรวม AEC • ASEAN สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ก่อตั้งเมื่อวันที่ ๘ สิงหาคม ๒๕๑๐ โดยการลงนามปฏิญญากรุงเทพ ประเทศสมาชิกผู้ก่อตั้ง มี 5 ประเทศ “อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และไทย” ดร.ถนัด คอมันตร์ • มีบทบาทสำคัญในการเดินทางไปเจรจาไกล่เกลี่ยความขัดแย้งระหว่างประเทศเพื่อนบ้านเหล่านี้ และได้เชิญให้รัฐมนตรีต่างประเทศของประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้อีก 4 ประเทศ คือ มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และสิงคโปร์ มาหารือร่วมกันที่แหลมแท่น จ. ชลบุรี อันนำมาสู่การลงนามในปฏิญญากรุงเทพ
ปัจจุบันมีประเทศสมาชิก10 ประเทศ
Lyrics, “The ASEAN Way” Raise our flag high, sky high Embrace the pride in our heart ASEAN we are bonded as one Look-in out to the world. For peace, our goal from the very start And prosperity to last. We dare to dream we care to share. Together for ASEAN we dare to dream, we care to share for it's the way of ASEAN. Mr.KittikhunSodprasert, MrSampowTriudom, Mrs.PayomValaipatchra
เราอยู่กินกันมาสี่สิบสองปีแล้ว จดทะเบียน แต่งงาน(กฎบัตรอาเซียน) กันเถิด(๒๐๐๗)
การเคลื่อนย้ายแรงงานวิชาชีพตามข้อตกลง Mutual Recognition Arrangements : MRAs)
กรอบความร่วมมือระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียนกับประเทศนอกกลุ่ม 3 ประเทศ จุดประสงค์ : เพื่อส่งเสริมความร่วมมือในระดับอนุภูมิภาคเอเชียตะวันออก และเพื่อนำไปสู่การจัดตั้งชุมชนเอเชียตะวันออก (East Asian Community)
Continues… ASEAN +6 จุดประสงค์: เพื่อเพิ่มขีดความสามารถของกลุ่มในการลงทุน การทำการค้า ฯลฯ ให้มีศักยภาพสามารถแข่งขันกับภูมิภาคอื่น ๆ เช่น สหภาพยุโรป
ทิศทางการเปลี่ยนแปลงและผลกระทบทิศทางการเปลี่ยนแปลงและผลกระทบ
2. ผลกระทบการเปลี่ยนแปลงโลกสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (Global Change) ประเด็นแนวโน้มสถานการณ์เศรษฐกิจโลกในภูมิภาคสำคัญๆ คือ ยุโรป สหรัฐ และเอเชีย ภาพรวม : มีแนวโน้มทั้งเป็นบวก และลบ วิกฤต Eurozone ในขณะนี้วิกฤตหนี้ยุโรปเข้าขั้นวิกฤต และได้ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจโลก ส่งผลต่อตลาดหุ้นทั่วโลก โดยเฉพาะตัวเลข GDP ในบางประเทศ เช่น กรีซ และอิตาลี สเปน โปตุเกส ก็มีแนวโน้มที่จะลดลง สหรัฐ: การฟื้นตัวของเศรษฐกิจสหรัฐยังมีปัญหาทั้งที่เกิดจากปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอก ปัจจัยภายใน คือ ปัญหาภาวะหนี้สินของภาครัฐสูงถึง 16 ล้านล้านเหรียญฯ (ไทยโพสต์, 2013) เอเชีย: ตัวแปรสำคัญในเอเชียที่กระทบต่อเศรษฐกิจโลก คือ เศรษฐกิจจีนและญี่ปุ่น
ด้านสังคมและประชากรศาสตร์ด้านสังคมและประชากรศาสตร์ ปัจจุบัน (2555) โลกมีประชากร 7,058 ล้านคน ประชากรโลกเพิ่มปีละ 1.2% เท่ากับประชากรโลกเพิ่มปีละ 85 ล้านคน - ประชากรโลกกำลังมีอายุสูงขึ้นเรื่อยๆ ปัจจุบัน โลกมีประชากรอายุ 65 ปีขึ้นไป 8% หรือ 565 ล้านคน - ประชากรในประเทศที่พัฒนาแล้ว มีอายุสูงกว่าประชากรในประเทศกำลังพัฒนามาก ประเทศพัฒนาแล้วมีประชากรอายุ 65 ปีขึ้นไป 16% ขณะที่ประเทศกำลังพัฒนามี 6% แหล่งข้อมูล: Population Reference Bureau
ภาพรวมการส่งออกสินค้าปศุสัตว์ ปี 2554 ในอาเซียน
ภาพรวมการส่งออกสินค้าปศุสัตว์ ปี 2555 ในอาเซียน
ผลการเปิด AEC ต่อภาคสินค้าเกษตร
3. ยุทธศาสตร์ AECที่สำคัญต่อภาคการปศุสัตว์ไทย • ยุทธศาสตร์ที่ 1 : การเสริมสร้างความสามารถในการแข่งขันของสินค้า บริการและการลงทุน การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต สร้างมูลค่าเพิ่มในภาคการเกษตร อุตสาหกรรม และบริการ โดยส่งเสริมการวิจัยและพัฒนา พัฒนาประสิทธิภาพและผลิตภาพการผลิตสินค้าเกษตร โดยการพัฒนาปรับปรุงพันธุ์สัตว์ (โค และสุกร) การพัฒนา/ปรับปรุงมาตรฐาน/ด่าน ส่งเสริมผู้ประกอบการไทยในการใช้ประโยชน์จากห้องปฏิบัติการตรวจวิเคราะห์สินค้าเกษตรและอาหารที่กระจายอยู่ทุกภูมิภาคของประเทศ
Continues… ยุทธศาสตร์ที่ 4 : การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เผยแพร่ความรู้เรื่องภาษา เพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อรองรับอาเซียน ยุทธศาสตร์ที่ 5 : การพัฒนากฎหมายและกฎระเบียบ เพื่ออำนวยความสะดวกด้านการค้า การลงทุน รวมทั้งสมารถปกป้องผลประโยชน์และเพิ่มความสามารถในการแงขันของประเทศ (ปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวกับมาตรฐานและการตรวจสอบสินค้าเกษตรให้สอดรับพันธกิจอาเซียน) ยุทธศาสตร์ที่ 6 :การสร้างความรู้ ความเข้าใจและความตระหนักถึงความสำคัญของอาเซียน
4. กรมปศุสัตว์กับการเตรียมรับการเปิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน โดยกรมปศุสัตว์ได้เตรียมความพร้อมดังต่อไปนี้ 1. พัฒนาประสิทธิภาพศักยภาพในระบบงานควบคุมการนำเข้าสินค้า ปศุสัตว์ กรมปศุสัตว์ มีนโยบายให้ความสำคัญกับระบบการนำเข้าสินค้า ปศุสัตว์และการป้องกันการลักลอบสินค้าปศุสัตว์ที่ไม่ได้มาตรฐานเข้าสู่การเป็นประชาคมอาเซียน 2. พัฒนาประสิทธิภาพ การผลิตสัตว์ การควบคุมกำจัดโรคระบาดสัตว์ และพัฒนาศักยภาพการตรวจวินิจฉัยโรคสัตว์และทดสอบชีววัตถุสำหรับสัตว์ การตรวจสอบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์ และการเข้าถึงตลาดโดยยกระดับมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์ไทย เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน
Continues… 3.ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการและการค้า และการมีบทบาทนำในการปศุสัตว์ทั้งในกรอบทวิภาคี พหุพาคี และองค์กรระหว่างประเทศ รวมทั้งส่งเสริมบทบาทของภาคเอกชน การมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ได้มีการจัดการประชุมระดับทวิภาคีและการทำความตกลงในระดับกรมปศุสัตว์ของแต่ละประเทศมาอย่างยาวนาน เช่น มาเลเซีย สปป.ลาว กัมพูชา เวียดนาม การให้ความช่วยเหลือทางวิชาการแก่ประเทศเพื่อนบ้าน เช่น ด้านระบาดวิทยาทางสุขภาพสัตว์ การตรวจวินิจฉัยโรคสัตว์ การผลิตวัคซีนในสัตว์ งานด่านกักกันและเคลื่อนย้ายสัตว์ งานส่งเสริมการเลี้ยงสัตว์และปรับปรุงพันธุ์สัตว์
Continues… ๔. พัฒนาศักยภาพของข้าราชการ เจ้าหน้าที่ของกรมปศุสัตว์ และผู้ที่เกี่ยวข้องในภาคปศุสัตว์ให้มีทักษะที่เหมาะสมในการก้าวเข้าสู่ประชาคมอาเซียน มีนโยบายให้ความสำคัญกับการพัฒนาบุคลากรทั้งระบบในการพัฒนาด้านภาษาอังกฤษ และภาษาของประเทศเพื่อนบ้านในอาเซียน ๕. พัฒนากฎ ระเบียบที่จะเอื้อต่อการพัฒนาธุรกิจ ด้านเทคโนโลยี และนวัตกรรมด้านปศุสัตว์ระกว่างประเทศ ๖. กรมปศุสัตว์เห็นชอบที่จะให้มีการจัดตั้งศูนย์ประสานงานอาเซียนของกรมปศุสัตว์
Continues… ๗. เผยแพร่ความรู้ ข้อมูลข่าวสารและการสร้างความตระหนักรู้การเข้าสู่ประชาคมอาเซียนให้ข้าราชการ เจ้าหน้าที่ เกษตรกร สถาบันเกษตรกร และผู้ที่เกี่ยวข้องในภาคปศุสัตว์ทั้งในภาครัฐและภาคเอกชน การเผยแพร่ความรู้ประชาคมอาเซียนด้านปศุสัตว์ทางเว็ปไซด์