440 likes | 1.29k Views
ประชาคมอาเซียน ( ASEAN Community ). บทบาทของภาครัฐต่อ การคุ้มครองและพิทักษ์ผู้ด้อยโอกาส เพื่อรองรับการเข้าสู่ประขาคมอาเซียน. วัตถุประสงค์ของอาเซียน. ส่งเสริมความเข้าใจอันดีระหว่างประเทศสมาชิก ธำรงสันติภาพ เสถียรภาพ ความมั่นคง เสริมสร้างเศรษฐกิจและความอยู่ดีกินดีของประชาชน
E N D
บทบาทของภาครัฐต่อ การคุ้มครองและพิทักษ์ผู้ด้อยโอกาส เพื่อรองรับการเข้าสู่ประขาคมอาเซียน
วัตถุประสงค์ของอาเซียนวัตถุประสงค์ของอาเซียน • ส่งเสริมความเข้าใจอันดีระหว่างประเทศสมาชิก • ธำรงสันติภาพ เสถียรภาพ ความมั่นคง • เสริมสร้างเศรษฐกิจและความอยู่ดีกินดีของประชาชน • พัฒนาสังคมและวัฒนธรรม • ส่งเสริมความร่วมมือกับภายนอก และองค์การระหว่าง ประเทศต่างๆ ที่มา: กรมอาเซียน
กฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter) • ผู้นำอาเซียนได้ลงนามเมื่อ ๒๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๐ มีผลบังคับใช้เมื่อ ๑๕ ธันวาคม ๒๕๕๑ • มีเป้าหมาย ๓ ประการ คือ • มีฎกติกาในการทำงาน (Rules - based) • มีประสิทธิภาพ • มีประชาชนเป็นศูนย์กลาง ที่มา: กรมอาเซียน
ภารกิจ ๓ เสาหลัก • ประชาคมการเมือง-ความมั่นคง (ASEAN – Political Security Community : APSC) กระทรวงการต่างประเทศ (กต.) เจ้าภาพหลัก • ประชาคมเศรษฐกิจ (ASEAN – Economic Community : AEC)กระทรวงพาณิชย์ (พณ.) เจ้าภาพหลัก • ประชาคมสังคมและวัฒธรรม (ASEAN – Socio Cultural Community : ASCC)กระทรวงการพัฒนาสังคมและความ มั่นคงของมนุษย์ (พม.) เป็นเจ้าภาพหลัก
แผนงานการจัดตั้ง ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ประกอบด้วยความร่วมมือในด้านต่างๆ 6 ด้าน
1.การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (HumanDevelopment) ให้ความสำคัญกับการศึกษาการลงทุนในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ส่งเสริมการจ้างงานที่เหมาะสม
2. การคุ้มครองและสวัสดิการสังคม (Social Welfare and Protection) การขจัดความยากจน เครือข่ายความปลอดภัยทางสังคมและความคุ้มกันผลกระทบด้านลบจากการรวมตัวอาเซียนและโลกาภิวัฒน์
3. สิทธิและความยุติธรรมทางสังคม (Social Justice and Rights) การส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิและสวัสดิการสำหรับ สตรี เยาวชน ผู้สูงอายุ และผู้พิการ การคุ้มครองและส่งเสริมแรงงานโยกย้ายถิ่นฐาน ส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กรธุรกิจ
4.ความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม (Environmental Sustainability) การจัดการและการป้องกันปัญหามลพิษทางสิ่งแวดล้อมข้ามแดน โดยการศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมและการมีส่วนร่วมของประชาชน ส่งเสริมเทคโนโลยีด้านสิ่งแวดล้อม ส่งเสริมคุณภาพมาตรฐานการดำรงชีวิตในเขตเมือง
5. การสร้างอัตลักษณ์อาเซียน (Building an ASEAN Identity) • ส่งเสริมความตระหนักของการเป็นประชาคมอาเซียน • การส่งเสริมอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมของอาเซียน ส่งเสริมการสร้างสรรค์ด้านวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้องกับชุมชน
6.การลดช่องว่างทางการพัฒนา (Narrowing the Development Gap) อาเซียนได้ดำเนินการทั้งในรูปแบบของความตกลงในระดับต่างๆ (MOU/ Agreement/ Declaration) โครงการความร่วมมือระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน และประเทศภายนอกภูมิภาค
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) โดย สำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส และผู้สูงอายุ (สท.) กับบทบาท การคุ้มครองและพิทักษ์ผู้ด้อยโอกาส เพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
คำนิยาม : ผู้ด้อยโอกาส “ผู้ประสบปัญหาความเดือดร้อนและได้รับผลกระทบในด้านเศรษฐกิจ สังคม การศึกษา สาธารณสุข การเมือง กฎหมาย วัฒนธรรม ภัยธรรมชาติและภัยสงคราม รวมถึงผู้ที่ขาดโอกาสที่จะเข้าถึงบริการขั้นพื้นฐานของรัฐ ตลอดจนผู้ประสบปัญหาที่ยังไม่มีองค์กรหลักรับผิดชอบ อันจะส่งผลให้ไม่สามารถดำรงชีวิตได้เท่าเทียมกับผู้อื่น”
คำนิยาม : ผู้ด้อยโอกาส(ต่อ) กำหนดไว้ ๕ กลุ่ม ประกอบด้วย ๑. คนยากจน ๒. คนเร่ร่อน/ไร้ที่อยู่อาศัย ๓. ผู้พ้นโทษ ๔. ผู้ติดเชื้อ เอช ไอ วี/ผู้ป่วยเอดส์/ครอบครัวผู้ได้รับผลกระทบจากเอดส์ ๕. ผู้ไม่มีสถานะทางทะเบียนราษฎร
เมื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียนจะเกิดผลกระทบต่อผู้ด้อยโอกาสอย่างไร ? • ด้านเศรษฐกิจ ๑. มีแรงงานเพิ่มมากขึ้น เกิดการแย่งงานกันทำโดยเฉพาะภาคบริการ ๒. ที่ดินราคาสูงขึ้น เพราะเป็นปัจจัยทุนในภาคเกษตร การสร้างที่อยู่อาศัย สร้างโรงงานอุตสาหกรรมที่มา : งานวิจัยปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการคุ้มครองและพิทักษ์สิทธิผู้ด้อยโอกาสจากประชาคมอาเซียน
เมื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียนจะเกิดผลกระทบต่อผู้ด้อยโอกาสอย่างไร ? (ต่อ) • ด้านความมั่นคง ๑. การละเมิดสิทธิเด็ก ๒. การค้ามนุษย์ ๓. การก่ออาชญากรรม ที่มา : งานวิจัยปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการคุ้มครองและพิทักษ์สิทธิผู้ด้อยโอกาสจากประชาคมอาเซียน
เมื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียนจะเกิดผลกระทบต่อผู้ด้อยโอกาสอย่างไร ? (ต่อ) • ด้านสังคม-วัฒนธรรม ๑. การสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษ ๒. การรักษาเอกลักษณ์ประจำชาติ ๓. การกลืนชาติ ที่มา : งานวิจัยปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการคุ้มครองและพิทักษ์สิทธิผู้ด้อยโอกาสจากประชาคมอาเซียน
ภารกิจ สท. กับการคุ้มครองและพิทักษ์ผู้ด้อยโอกาส • สิทธิบริการขั้นพื้นฐาน ๑. ส่งเสริมให้ผู้ด้อยโอกาสเข้าถึงบริการขั้นพื้นฐานของรัฐ ๒. ให้ความคุ้มครองสิทธิผู้ด้อยโอกาสตามที่กฎหมายบัญญัติ ๓. พิทักษ์และปกป้องผู้ด้อยโอกาสตามหลักสิทธิมนุษยชน
ภารกิจ สท. กับการคุ้มครองและพิทักษ์ผู้ด้อยโอกาส (ต่อ) • ร่วมมือกับภาคีเครือข่ายในการแก้ปัญหาด้าน ๑. การค้ามนุษย์ ๒. คนไร้สัญชาติ ๓. ยาเสพติด ๔. อาชญากรรม
ภารกิจ สท. กับการคุ้มครองและพิทักษ์ผู้ด้อยโอกาส (ต่อ) • ส่งเสริมบทบาทองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ชุมชน ๑. การแก้ไขปัญหาแรงงาน ๒. การแก้ไขความยากจน ๓. การแก้ไขปัญหาเอดส์ ๔. การแก้ไขปัญหายาเสพติด
ภารกิจ สท. กับการคุ้มครองและพิทักษ์ผู้ด้อยโอกาส (ต่อ) • พัฒนาระบบสวัสดิการสังคมร่วมกับ อปท. เช่น ๑. กองทุนสวัสดิการชุมชนตั้งแต่เกิดจนตาย ๒. โครงการออมวันละบาท ๓. กองทุนสัจจะออมทรัพย์ ๔. กลุ่มออมทรัพย์ประจำชุมชน
สรุป การคุ้มครองและพิทักษ์สิทธิผู้ด้อยโอกาส เพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน • การให้ความคุ้มครองตามหลักสิทธิมนุษยชน • การให้หลักประกันขั้นพื้นฐานแก่ทุกคนในสังคม • การรับรองและคุ้มครองตามรัฐธรรมนูญไทย • การไม่เลือกปฏิบัติต่อทุกคนที่อาศัยในรัฐไทย