1 / 34

ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ปี 2558 (2015)

การเสริมสร้างศักยภาพเมืองชายแดน ภายใต้ประชาคมอาเซียนที่จังหวัดสระแก้ว กองความร่วมมือการค้าและการลงทุน กรมการค้าต่างประเทศ. ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ปี 2558 (2015). ประชาคม ความมั่นคง อาเซียน (ASC). กฎบัตรอาเซียน. ASEAN Charter. พิมพ์เขียว AEC AEC Blueprin t. ประชาคม

kiaria
Download Presentation

ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ปี 2558 (2015)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การเสริมสร้างศักยภาพเมืองชายแดนภายใต้ประชาคมอาเซียนที่จังหวัดสระแก้วกองความร่วมมือการค้าและการลงทุนกรมการค้าต่างประเทศการเสริมสร้างศักยภาพเมืองชายแดนภายใต้ประชาคมอาเซียนที่จังหวัดสระแก้วกองความร่วมมือการค้าและการลงทุนกรมการค้าต่างประเทศ

  2. ประชาคมอาเซียน(ASEAN Community) ปี 2558 (2015) ประชาคม ความมั่นคง อาเซียน (ASC) กฎบัตรอาเซียน ASEAN Charter พิมพ์เขียว AEC AEC Blueprint ประชาคม เศรษฐกิจ อาเซียน(AEC) ประชาคม สังคม-วัฒนธรรม อาเซียน (ASCC) ตารางดำเนินการ สินค้า 8,300 รายการยกเว้นภาษีนำเข้าภายใต้ ATIGA

  3. ความสามารถในการแข่งขันของประเทศสมาชิกอาเซียนความสามารถในการแข่งขันของประเทศสมาชิกอาเซียน ในThe Global Competitiveness Index ranking ที่มา :World Economic Forum

  4. หน่วย: ล้าน USD ขนาดเศรษฐกิจของประเทศอาเซียนและGMSปี 2555 Source: United Nation (2012 est.)

  5. แนวโน้มอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศอาเซียน ปี2556-2557 หน่วย : ร้อยละ ที่มา : IMF : สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

  6. สถิติการค้าต่างประเทศของอาเซียนและGMSสถิติการค้าต่างประเทศของอาเซียนและGMS หน่วย : ล้านเหรียญสหรัฐ ที่มา : สำนักงานเลขาธิการASEANรอาเซียน

  7. สถิติการค้าภายในประเทศอาเซียนและGMS ปี 2555 หน่วย : ล้านเหรียญสหรัฐ ที่มา : สำนักงานเลขาธิการอาเซียน

  8. สถิติการใช้สิทธิพิเศษทางการค้าของไทยกับอาเซียนและ GMS หน่วย : ล้านเหรียญสหรัฐฯ ที่มา : กรมการค้าต่างประเทศ , กรมศุลกากร

  9. การใช้สิทธิพิเศษทางการค้าภายใต้ AEC 1 ต้องมี CO ฟอร์มD ยื่นต่อศุลกากรประเทศผู้นำเข้า 2 มีสัดส่วนการผลิตสินค้าที่ใช้วัตถุดิบจากไทยหรืออาเซียไม่น้อยกว่า 40% 3 สินค้าพิกัด 01-24 (สินค้าเกษตร)ผู้ส่งออกสามารถขอ CO ฟอร์มD โดยรับรองว่าสินค้ามีคุณสมบัติตามข้อ 2 ต่อกรมการค้าต่างประเทศหรือหน่วยงานที่ได้รับมอบหมาย 4 สินค้าพิกัด 25-97 (สินค้าอุตสาหกรรม) 4.1 ต้องเป็นผู้ผลิตสินค้า,ผู้ส่งออก,รับรองตนเอง(Self Certificate)

  10. การใช้สิทธิพิเศษทางการค้าภายใต้ AEC 4.2 ยื่นขอรับการตรวจคุณสมบัติของสินค้าทางด้านถิ่น กำเนิดต่อกรมการค้าต่างประเทศผลการตรวจมีผล2ปี 4.3 นำหนังสือแจ้งผลการรับรองคุณสมบัติของสินค้ามาประกอบการยื่นขอรับ CO ฟอร์มD เพื่อกำกับไปกับการส่งออกทุกครั้ง 4.4 หากประเทศผู้นำเข้ามีข้อสงสัยคุณสมบัติของถิ่นกำเนิดสินค้าและขอให้ตรวจสอบ กรมการค้าต่างประเทศสามารถเข้าไปตรวจสอบคุณสมบัติของสินค้าหรือกระบวนการผลิตว่าเป็นไปตามกฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้าของอาเซี่ยนหรือไม่

  11. การค้าชายแดนระหว่างไทยกับประเทศเพื่อนบ้านการค้าชายแดนระหว่างไทยกับประเทศเพื่อนบ้าน (มาเลเซีย-เมียนมาร์-สปป.ลาว-กัมพูชา) 2556 2557(มค-เมย) 100% 100% 21.26% (14.58%) 21.05% (14.71%) 6.68% 6.34 % การค้าชายแดน 850,553 ล้านบาท การค้าชายแดน 320,285 ล้านบาท การค้าไทย-อาเซียน 1,019,746 ล้านบาท การค้าไทย-อาเซียน 3,068,879 ล้านบาท การค้าไทย-โลก 4,797,303 ล้านบาท (- 2.14%)จาก 4,829,826 ล้านบาท ปี 2556 การค้าไทย-โลก 14,577,444 ล้านบาท

  12. สถิติการค้าระหว่างประเทศของไทยสถิติการค้าระหว่างประเทศของไทย สถิติการค้าชายแดนของไทย

  13. การค้าชายแดนไทยกับประเทศเพื่อนบ้าน ปี 2556 มูลค่ารวม : 924 , 242 ส่งออก : 560 , 197 นำเข้า : 364 , 045 ดุลการค้า: 196 , 152 มาเลเซีย พม่า มูลค่ารวม: 196,866 ส่งออก : 79,452 นำเข้า : 117,414 ดุลการค้า: -37,962 มูลค่ารวม: 501,402 ส่งออก : 288,051 นำเข้า : 213,051 ดุลการค้า: 74,700 ลาว กัมพูชา มูลค่ารวม: 132,137 ส่งออก : 108,605 นำเข้า : 23,532 ดุลการค้า: 85,073 มูลค่ารวม: 93,836 ส่งออก : 84,088 นำเข้า : 9,748 ดุลการค้า: 74,340

  14. ความได้เปรียบของไทยด้านการค้าชายแดนความได้เปรียบของไทยด้านการค้าชายแดน ที่ตั้งประเทศไทยเป็นศูนย์กลางของภูมิภาค มีแนวชายแดนติดต่อกับประเทศเพื่อนบ้านยาวกว่า 5,500 กิโลเมตรสะดวกต่อการทำค้าชายแดน มีการพัฒนาโครงข่ายโลจิสติกส์ที่มีประสิทธิภาพทั่วประเทศ มีเทคโนโลยีการผลิตก้าวหน้ากว่าประเทศเพื่อนบ้านยกเว้นมาเลเซีย คุณภาพและราคาสินค้าไทยสอดคล้องกับกำลังซื้อของชนชั้นกลางในประเทศเพื่อนบ้าน

  15. ความได้เปรียบของไทยด้านการค้าชายแดนความได้เปรียบของไทยด้านการค้าชายแดน 6 สินค้าไทยมีภาพพจน์ที่ดีในประเทศเพื่อนบ้าน ถือว่าเป็นสินค้าที่มีคุณภาพดีและมีความทันสมัย เนื่องจากผู้ผลิตในไทยมีการแข่งขันสูงและสื่อทางวัฒนธรรมของไทยเข้าไปเผยแพร่อย่างกว้างขวางในประเทศเพื่อนบ้าน 7 ผู้บริโภครู้จัก คุ้นเคยสินค้าไทยมาช้านาน ตั้งแต่ประเทศ CLMV ยังมีนโยบายปิดประเทศ แต่สินค้าไทยสามารถส่งเข้าไปได้ทางชายแดน ภาครัฐมีนโยบายส่งเสริมการค้าชายแดน เช่น จัดตั้งจุดผ่านแดนทางการค้าทั่งประเทศกว่า 90 แห่ง การอำนวยความสะดวกการตรวจปล่อยสินค้า ณ จุดเดียว ที่ด่านชายแดน(One Stop Service)

  16. กัมพูชา พื้นที่ : 181,035 ตารางกิโลเมตร ประชากร : 15,458,332ล้านคน รายได้ประชาชาติ : 14,038 ล้านเหรียญฯ รายได้ต่อหัว : 944 เหรียญสหรัฐ การเติบโตทางเศรษฐกิจ : ร้อยละ 7.3 ส่งออก : มูลค่า 6,782 ล้านเหรียญสหรัฐ : (1) สหรัฐ 32.6% (2) สหราชอาณาจักร 8.3% (3) เยอรมัน 7.7% (4) คานาดา 7.7% (5) สิงคโปร์ 6.6% ไทย 3.7% นำเข้า : มูลค่า 8,895 ล้านเหรียญสหรัฐ : (1) ไทย 27.1% (2) เวียดนาม 20.3% (3) จีน 19.5% (4) สิงคโปร์ 7.1% (5) ฮ่องกง 5.8%

  17. กิจกรรมทางเศรษฐกิจบริเวณชายแดนประเทศ : กัมพูชา การลงทุนจากต่างประเทศ : จีน 23% เกาหลีใต้ 11% มาเลเซีย 7% อังกฤษ 6% สหรัฐอเมริกา 3% เป็นต้น ด่านช่องจอม โอร์เสม็ด จำนวนคนข้ามแดน(ปี 2556) นักท่องเที่ยว 104,672 คน คนข้ามแดน 1,517,448 คน ระยะทางที่รถบรรทุกไทยเข้าไป ในประเทศเพื่อนบ้านได้ ด่านอรัญประเทศปอยเปต ด่านคลองใหญ่ จามเยียม เขตเศรษฐกิจพิเศษในกัมพูชา - พนมเปญ , เกาะกง , ปอยเปต , สีหนุวิลล์ ด่านจันทบุรี บ้านกร็อมเรียง www.dft.go.th

  18. สถิติการค้าชายแดนไทยกับกัมพูชาสถิติการค้าชายแดนไทยกับกัมพูชา

  19. สินค้าส่งออกและนำเข้า การค้าชายแดนไทย-กัมพูชา สินค้านำเข้า สินค้าส่งออก • เครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอลล์ 3,940 ล้านบาท • เครื่องยนต์ 3,687 ล้านบาท • รถยนต์ 3,388 ล้านบาท • เครื่องสำอาง สบู่ 3,158 ล้านบาท • ยางรถยนต์ 2,916 ล้านบาท • มันสำปะหลัง 1,730 ล้านบาท • เครื่องจักรกล 1,650 ล้านบาท • เครื่องรับ-ส่งสัญญาณ 1,436 ล้านบาท • ลวดเละสายเคเบิล 1,206 ล้านบาท • มอเตอร์ไฟฟ้า 567 ล้านบาท

  20. สถิติการค้าชายแดนไทยกับกัมพูชา(รายจังหวัด) มูลค่าการค้า 93,836 ล้านบาท

  21. มาตรการทางการค้าของกัมพูชามาตรการทางการค้าของกัมพูชา • สินค้าที่มาตรการห้ามนำเข้า • อาวุธ วัตถุระเบิด รถยนต์และเครื่องจักรที่ใช้ทางทหาร • ทอง เครื่องเงิน เงินตรา • ยาพิษ • สินค้าที่ควบคุมการส่งออก • ไม้ซุงและไม้ท่อน • ห้ามส่งออกสินค้าไม้ซุงและไม้ท่อนทุกชนิดหากไม่ได้รับอนุญาตจากรัฐบาล • ต้องขอใบอนุญาตส่งออกจากกระทรวงพาณิชย์กัมพูชา • ข้าว ต้องขอใบอนุญาตส่งออกจากกระทรวงพาณิชย์กัมพูชา • สินค้าที่ต้องขอใบรับรองแหล่งกำเนิดสินค้าเพื่อส่งออกไปบางประเทศ ได้แก่ ไม้และผลิตภัณฑ์จากไม้ เสื้อผ้าสำเร็จรูปและถุงมือ รองเท้า กุ้งแช่แข็ง ข้าว เบียร์ และบุหรี่

  22. มาตรการสุขอนามัย • ยารักษาโรค • ผู้ผลิตและผู้นำเข้าต้องจดทะเบียนตำรับยาที่กระทรวงสาธารณสุขกัมพูชา • ต้องขอใบอนุญาตนำเข้าทุกครั้งจากกระทรวงสาธารณสุข มาตรการจดทะเบียนผู้นำเข้า • น้ำมันเชื้อเพลิง • ผู้นำเข้าและผู้ส่งออกน้ำมันเชื้อเพลิงต้องจดทะเบียนที่กระทรวงพาณิชย์กัมพูชา

  23. มาตรการตรวจสอบก่อนนำเข้ามาตรการตรวจสอบก่อนนำเข้า การนำเข้าสินค้าที่มีมูลค่ามากกว่า 7,000 เหรีญสหรัฐ จะต้องตรวจสอบสินค้าในประเทศผู้ส่งออกก่อนที่จะนำเข้าไปยังกัมพูชาโดยกระทรวงพาณิชย์กัมพูชา • สินค้าทั่วไป ยกเว้น • หินและโลหะที่มีค่า • วัตถุศิลป์ • วัตถุระเบีดและผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้อง • อาวุธปืนและกระสุนดินดำ • สัตว์มีชีวิต • หนังสือพิมพ์ • เครื่องใช้ในบ้าน • ทรัพย์สินส่วนตัว เช่น รถยนต์ใช้แล้ว • พัสดุที่ส่งทางไปรษณีย์ • ตัวอย่างสินค้า • สิ่งของที่รัฐบาลต่างประเทศหรือองค์กรระหว่างประเทศบริจาคให้แก่ มูลนิธิ องค์กรการกุศล • สิ่งของและวัสดุครุภัณฑ์ที่ใช้ในภาระกิจของคณะทูต และองค์การสหประชาชาติ • สินค้าที่สภาเพื่อพัฒนากัมพูชาอนุญาตให้นำเข้าโดยยกเว้นภาษี • สินค้าที่รัฐบาลกำหนดให้นำเข้าโดยไม่เสียภาษี

  24. โครงข่ายเส้นทางการค้าผ่านแดนโครงข่ายเส้นทางการค้าผ่านแดน

  25. ความตกลงขนส่งสินค้าผ่านแดนในภูมิภาค 4 ฉบับ 1.บันทึกความเข้าใจระหว่างไทยกับมาเลเซียว่าด้วยการขนส่งสินค้าเน่าเสียง่ายผ่านแดนจากไทยผ่านแดนมาเลเซียไปยังสิงคโปร์ ลงนาม 24 ม.ค. 2522 • ความตกลงว่าด้วยการขนส่งทางถนนระหว่างไทยกับ สปป.ลาว ลงนาม 5 มี.ค. 2542 • กรอบความตกลงอาเซียนว่าด้วยการอำนวยความสะดวกในการขนส่งสินค้าผ่านแดน ลงนาม 16 ธ.ค. 2541 • ความตกลงว่าด้วยการขนส่งข้ามพรมแดนในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง ลงนาม 26 พ.ย. 2542

  26. สถิติการค้าผ่านแดนไทยกับเวียดนามสถิติการค้าผ่านแดนไทยกับเวียดนาม

  27. สินค้าส่งออกและนำเข้า การค้าผ่านแดนไทย-เวียดนาม สินค้าส่งออก สินค้านำเข้า • เครื่องดื่มที่ไม่มีแอลกอฮอลล์ 6,230 ล้านบาท • ผลไม้ 4,281 ล้านบาท • เหล็กและเหล็กกล้า 1,342 ล้านบาท • ผ้าผืนและด้าย 344 ล้านบาท • วงจรพิมพ์ 327 ล้านบาท • โทรศัพท์เคลื่อนที่ 835 ล้านบาท • มอเตอร์ไฟฟ้า 400 ล้านบาท • เครื่องส่งสัญญาณภาพ เสียง 207 ล้านบาท • โครงรถและตัวถัง 90 ล้านบาท • ลวดและสายเคเบิ้ล 76 ล้านบาท

  28. มูลค่าการค้าผ่านแดนไทย- เวียดนาม (รายจังหวัด) ปี 2556 รวมทั้งหมด 16,579ล้านบาท

  29. การจัดงานแสดงสินค้าไทยในประเทศอาเซียนการจัดงานแสดงสินค้าไทยในประเทศอาเซียน ที่มา: กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ

  30. การจัดงานคณะผู้แทนการค้า การลงทุนไทยเยือนประเทศอาเซียน ที่มา: กรมการค้าต่างประเทศ

  31. ประเทศผู้ลงทุนรายใหญ่ในกลุ่มประเทศ CLMV : ล้านเหรียญสหรัฐ

  32. สัดส่วนการลงทุนของไทยใน CLMV รายประเทศ มูลค่าการลงทุนรวม 20,887 ล้านเหรียญสหรัฐฯ

  33. กัมพูชา : การลงทุนจากต่างประเทศ รายประเทศ(2537-ก.ย.2554) ที่มา : CAMBODIA INVESTMENT BOARD

  34. กัมพูชา : การลงทุนจากต่างประเทศ รายสาขา(2537- ก.ย. 2554)มูลค่าการลงทุน 39,886 ล้านเหรียญสหรัฐ ที่มา : CAMBODIA INVESTMENT BOARDหมายเหตุ : เงินลงทุนรวมสัดส่วนการลงทุนของชาวกัมพูชา

More Related