330 likes | 490 Views
โครงการพัฒนาข้อมูลสถิติและสารสนเทศระดับพื้นที่ 76 จังหวัด/18 กลุ่มจังหวัด. การประชุมคณะกรรมการสถิติกลุ่มจังหวัด ครั้งที่ 1/2557 วันอังคารที่ 1 0 มิถุนายน 2557 เวลา 13.30 น. ณ ห้องประชุมสบายดี ชั้น 4 ศาลากลางจังหวัดอุดรธานี. กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1.
E N D
โครงการพัฒนาข้อมูลสถิติและสารสนเทศระดับพื้นที่ 76 จังหวัด/18 กลุ่มจังหวัด • การประชุมคณะกรรมการสถิติกลุ่มจังหวัด • ครั้งที่ 1/2557 • วันอังคารที่ 10มิถุนายน 2557 เวลา13.30 น.ณ ห้องประชุมสบายดี ชั้น 4 • ศาลากลางจังหวัดอุดรธานี • กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1
ระเบียบวาระที่1 เรื่องที่ประธานแจ้งที่ประชุมทราบระเบียบวาระที่1 เรื่องที่ประธานแจ้งที่ประชุมทราบ • ระเบียบวาระที่2 เรื่องเพื่อทราบ • 2.1 คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสถิติกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1 • 2.2 ความเป็นมาและแนวทางการดำเนินงานโครงการพัฒนาข้อมูลสถิติและสารสนเทศระดับพื้นที่ 76 จังหวัด/18 กลุ่มจังหวัด • ระเบียบวาระที่ 3เรื่องนำเสนอเพื่อพิจารณา • 3.1ผลิตภัณฑ์ที่มีศักยภาพ (Product Champion)และประเด็นปัญหาสำคัญ (Critical Issue) ตามประเด็นยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน1 • 3.2 เค้าโครงร่างแผนพัฒนาสถิติกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1 • ระเบียบวาระที่ 4เรื่องอื่นๆ (ถ้ามี) วาระการประชุมคณะกรรมการสถิติกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1ครั้งที่ 1/2557ภายใต้โครงการพัฒนาข้อมูลสถิติและสารสนเทศระดับพื้นที่ 76 จังหวัด/18 กลุ่มจังหวัดวันอังคารที่10มิถุนายน 2557 เวลา 13.30 น. ห้องประชุมสบายดีศาลากลางจังหวัดอุดรธานี
ระเบียบวาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งที่ประชุมทราบ วาระการประชุมคณะกรรมการสถิติกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1ครั้งที่ 1/2557ภายใต้โครงการพัฒนาข้อมูลสถิติและสารสนเทศระดับพื้นที่ 76 จังหวัด/18 กลุ่มจังหวัดวันอังคารที่10มิถุนายน 2557 เวลา 13.30 น. ห้องประชุมสบายดีศาลากลางจังหวัดอุดรธานี
ระเบียบวาระที่ 2 เรื่องเพื่อทราบ • วาระที่ 2.1คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสถิติกลุ่มจังหวัด ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1 วาระการประชุมคณะกรรมการสถิติกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1ครั้งที่ 1/2557ภายใต้โครงการพัฒนาข้อมูลสถิติและสารสนเทศระดับพื้นที่ 76 จังหวัด/18 กลุ่มจังหวัดวันอังคารที่10มิถุนายน 2557 เวลา 13.30 น. ห้องประชุมสบายดีศาลากลางจังหวัดอุดรธานี
ระเบียบวาระที่ 2 เรื่องเพื่อทราบ วาระที่ 2.2ความเป็นมาและแนวทางการดำเนินงานโครงการพัฒนาข้อมูลสถิติและสารสนเทศระดับพื้นที่ 76 จังหวัด/18 กลุ่มจังหวัด วาระการประชุมคณะกรรมการสถิติกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1ครั้งที่ 1/2557ภายใต้โครงการพัฒนาข้อมูลสถิติและสารสนเทศระดับพื้นที่ 76 จังหวัด/18 กลุ่มจังหวัดวันอังคารที่10มิถุนายน 2557 เวลา 13.30 น. ห้องประชุมสบายดีศาลากลางจังหวัดอุดรธานี
โครงการพัฒนาข้อมูลสถิติและสารสนเทศระดับพื้นที่ 76 จังหวัด/18 กลุ่มจังหวัด โดย สำนักงานสถิติแห่งชาติ ร่วมกับ สถาบันส่งเสริมการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ กรอบแนวคิดการดำเนินงานเพื่อการจัดทำแผนพัฒนาสถิติจังหวัด/กลุ่มจังหวัด + + = การพัฒนาต่อยอดและขยายชุดข้อมูลเพื่อการตัดสินใจจากประเด็นยุทธศาสตร์ใน 3 ด้าน ได้แก่ เศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รวมทั้ง ชุดข้อมูลที่มีความเชื่อมโยงกับตัวชี้วัดการพัฒนาจังหวัดและกลุ่มจังหวัดที่สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 ทิศทางการพัฒนาตามแผนฯ 11 ยุทธศาสตร์การพัฒนาสถิติ 3 ด้าน 21 สาขา แผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด แผนพัฒนาสถิติระดับพื้นที่ ยุทธศาสตร์การพัฒนาระดับพื้นที่ของสำนักงานสถิติแห่งชาติ แบ่งออกเป็น 3 ด้าน โดยมีรายการข้อมูลหรือสถิติทางการที่สำคัญจำเป็นต่อการพัฒนาพื้นที่ 21 สาขา ครอบคลุมเรื่องเศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ทิศทางการพัฒนาตามแผนฯ 11 ได้จัดทำยุทธศาสตร์สำคัญ 6 ประเด็น ซึ่งให้ความสำคัญกับการพัฒนาทั้งด้านสังคม เศรษฐกิจ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม แผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด ที่กำหนดประเด็นยุทธศาสตร์การพัฒนานั้น ในกระบวนการจัดทำได้มีการทบทวนและนำแนวทางของแผนฯ 11 และวาระแห่งชาติต่างๆ ใช้ประกอบในการกำหนดทิศทางการพัฒนาพื้นที่ การพัฒนาข้อมูลให้มีเพียงพอ จึงเป็นเรื่องสำคัญที่จะช่วยตอบสนองในการจัดทำแผนหรือการกำหนดประเด็นยุทธศาสตร์การพัฒนาระดับพื้นที่นั้นๆ ได้
โครงการพัฒนาข้อมูลสถิติและสารสนเทศระดับพื้นที่ 76 จังหวัด/18 กลุ่มจังหวัด โดย สำนักงานสถิติแห่งชาติ ร่วมกับ สถาบันส่งเสริมการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ ภาคเหนือตอนบน 2 น่าน พะเยา เชียงราย น่าน ภาคเหนือตอนบน 1 เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน ลำพูน ลำปาง ภาคอีสานตอนบน 1 อุดรธานี หนองคาย เลย หนองบัวลำภู บึงกาฬ ภาคเหนือตอนล่าง 1 พิษณุโลก ตาก สุโขทัย อุตรดิตถ์ เพชรบูรณ์ ภาคอีสานตอนบน 2 สกลนคร นครพนม มุกดาหาร ภาคเหนือตอนล่าง 2 กำแพงเพชร พิจิตร นครสวรรค์ อุทัยธานี ภาคอีสานตอนกลาง ขอนแก่น กาฬสินธุ์ มหาสารคาม ร้อยเอ็ด ในระยะที่ผ่านมา สำนักงานสถิติแห่งชาติ ได้ดำเนินการพัฒนาระบบสถิติ รองรับการพัฒนาประเทศอย่างต่อเนื่อง โดยให้ความสำคัญกับการเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 สู่ยุทธศาสตร์เชิงพื้นที่ของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาข้อมูลสถิติและสารสนเทศระดับพื้นที่ 76 จังหวัด/18 กลุ่มจังหวัด ภาคกลางตอนบน 2 ลพบุรี ชัยนาท สิงห์บุรี อ่างทอง ภาคอีสานตอนล่าง 2 อุบลราชธานี ศรีสะเกษ ยโสธร อำนาจเจริญ ภาคกลางตอนล่าง 1 กาญจนบุรี ราชบุรี สุพรรณบุรี นครปฐม ภาคอีสานตอนล่าง 1 นครราชสีมา ชัยภูมิ บุรีรัมย์ สุรินทร์ ภาคกลางตอนล่าง ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี สระแก้ว นครนายก สมุทรปราการ ภาคกลางตอนล่าง 2 สมุทรสงคราม สมุทรสาคร เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ 2555 2556 2557 ภาคตะวันออก ชลบุรี ระยอง จันทยุรี ตราด นำร่อง 10 จังหวัด นำร่อง 2 กลุ่มจังหวัด พัฒนาข้อมูลสถิติและสารสนเทศระดับพื้นที่ 76 จังหวัด/18 กลุ่มจังหวัด ภาคกลางตอนบน 1 อยุธยา สระบุรี ปทุมธานี นนทบุรี ภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย สุราษฎร์ธานี ชุมพร นครศรีธรรมราช พัทลุง ภาคใต้ฝั่งอันดามัน พังงา ระนอง ภูเก็ต กระบี่ ตรัง ภาคใต้ชายแดน สงขลา สตูล ปัตตานี ยะลา นราธิวาส
โครงการพัฒนาข้อมูลสถิติและสารสนเทศระดับพื้นที่ 76 จังหวัด/18 กลุ่มจังหวัด โดย สำนักงานสถิติแห่งชาติ ร่วมกับ สถาบันส่งเสริมการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ บูรณาการข้อมูลสารสนเทศระดับพื้นที่เพื่อตอบสนองยุทธศาสตร์การพัฒนา กลุ่มจังหวัด ประกอบการตัดสินใจเชิงพื้นที่ พัฒนาสมรรถนะของบุคลากรด้านสถิติขององค์กรภาครัฐ ให้มีความเป็นมืออาชีพด้านข้อมูลสถิติและสารสนเทศ วัตถุประสงค์หลักของโครงการ ร่างแผนพัฒนาสถิติกลุ่มจังหวัด เพื่อประกอบการตัดสินใจตามประเด็นยุทธศาสตร์ของจังหวัด ได้แก่ ข้อมูลในการบริหารจัดการ Product Champion ที่ได้รับการเลือก ปัจจัยแห่งความสำเร็จ และตัวชี้วัด (KPI) ฯลฯ ผลผลิตหลักของโครงการ
จาก Product Champion และ Critical Issue สู่การพัฒนาชุดข้อมูลตามแนวคิดห่วงโซ่มูลค่า (Value Chain: VC) แผนพัฒนากลุ่มจังหวัด [วิสัยทัศน์] โครงการพัฒนาข้อมูลสถิติและสารสนเทศระดับพื้นที่ 76 จังหวัด/18 กลุ่มจังหวัด โดย สำนักงานสถิติแห่งชาติ ร่วมกับ สถาบันส่งเสริมการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ VC1 VC2 VC3 VC4 เป้าประสงค์ เป้าประสงค์1 เป้าประสงค์2 เป้าประสงค์3 ประเด็นยุทธศาสตร์ ปัจจัยแห่งความสำเร็จ(CSF: Critical Success Factors) ประเด็นยุทธฯ 1 ประเด็นยุทธฯ2 ประเด็นยุทธฯ 3 CSF 1.1 CSF 1.2 … CSF 2.1 CSF 2.2 … CSF 3.1 CSF 3.2 … CSF 4.1 CSF 4.2 … 01 02 แนวทางการพัฒนาข้อมูลบนแนวคิดห่วงโซ่คุณค่า แผนพัฒนาสถิติจังหวัด/กลุ่มจังหวัด รายงานสถานการณ์ตามประเด็นยุทธศาสตร์ จากCritical Success Factors สู่การกำหนดตัวชี้วัด(KPI) และชุดข้อมูลสำหรับทุกข้อต่อในValue Chain [ Data Gap Analysis ]
“ ... โครงการนี้ จะช่วยสนับสนุนการกำหนดทิศทางการพัฒนาของกลุ่มจังหวัดทั้งในระดับผลิตภัณฑ์ที่มีศักยภาพ (Product Champion) เพื่อการสร้างรายได้ให้จังหวัดและแนวทางการพัฒนาแก้ไขปัญหาสำคัญด้านต่างๆ (Critical Issues)...” ประโยชน์กลุ่มจังหวัดจะได้รับจากโครงการการพัฒนาข้อมูลสถิติและสารสนเทศระดับพื้นที่ การกำกับราชการแบบบูรณาการ(Strategic Integrated Command) การสื่อสารความร่วมมือทางยุทธศาสตร์(Strategic Communication) การตัดสินใจเชิงยุทธศาสตร์(Strategic Decision) • การวิเคราะห์ศักยภาพการพัฒนาของจังหวัด เพื่อกำหนดเลือก Product Champion และCritical Issue • เครื่องมือในการกำหนดโครงการสำคัญ (Flagship Project) ที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของจังหวัด • การบริหารโครงการ แผนงานและงบประมาณที่มีความสัมพันธ์กัน (โดยใช้แนวคิด Value Chain) • การตรวจสอบ และติดตาม • การประเมินผลที่ใช้ CSF – KPI ใน Value Chain ประเมินผลทั้งระดับโครงการและแผนงาน (Output by PC / CI : Area) • รายงานสถานการณ์ทางยุทธศาสตร์ (ประเด็นการพัฒนา หรือ Product Champion) • Business Intelligence / Dashboard / PMOC SWOT Product Champion & Critical Issue Flagship Projects Project Management based on VC Provincial Statistics & Database Provincial Strategic Reports Business Intelligence Strategic Dashboard BCG Budgeting Monitoring Evaluating
ระเบียบวาระที่ 3เรื่องนำเสนอเพื่อพิจารณา วาระที่ 3.1ผลิตภัณฑ์ที่มีศักยภาพ (Product Champion) และประเด็นปัญหาสำคัญ (Critical Issue) ตามประเด็นยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1 วาระการประชุมคณะกรรมการสถิติกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1ครั้งที่ 1/2557ภายใต้โครงการพัฒนาข้อมูลสถิติและสารสนเทศระดับพื้นที่ 76 จังหวัด/18 กลุ่มจังหวัดวันอังคารที่10มิถุนายน 2557 เวลา 13.30 น. ห้องประชุมสบายดีศาลากลางจังหวัดอุดรธานี
กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1 • วิสัยทัศน์ (Vision) “เป็นศูนย์กลางการลงทุนด้านการค้า เกษตรกรรม อุตสาหกรรม การบริการ การท่องเที่ยวของอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขงและประชาคมอาเซียน” • เพิ่มรายได้จากการท่องเที่ยว • มีโครงสร้างพื้นฐานและสิ่งอำนวยความสะดวกที่พร้อมรองรับการเป็นศูนย์กลางการลงทุนด้านต่างๆในลุ่มน้ำโขง • เพิ่มศักยภาพการตลาด การค้า และบริการ • เพิ่มผลผลิตสินค้าทางการเกษตรให้ได้มาตรฐาน และแปรรูปสินค้าเกษตร • เป้าประสงค์ • ประเด็นยุทธศาสตร์ตามแผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1(2558-2561) • พัฒนาศักยภาพด้านการท่องเที่ยว • เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันด้านการลงทุน อุตสาหกรรม การค้า และบริการ • ส่งเสริมและพัฒนาสินค้าเกษตรให้ได้มาตรฐานและครบวงจร
จุดยืนทางยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1
สรุปผลการวิเคราะห์ศักยภาพและตำแหน่งจุดยืนทางยุทธศาสตร์ตามแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด (2557-2560) • ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องนำเสนอเพื่อพิจารณา • วาระที่ 3.1ผลิตภัณฑ์ที่มีศักยภาพ (Product Champion) และประเด็นปัญหาสำคัญ (Critical Issue) ตามประเด็นยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1
Product Champion & Critical Issues ของจังหวัดต่างๆ ภายในกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1
Product Champion & Critical Issues ของจังหวัดต่างๆ ภายในกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1
จากประเด็นยุทธศาสตร์สู่การกำหนด Product Champion/Critical Issues ของกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1 • ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องนำเสนอเพื่อพิจารณา • วาระที่ 3.1ผลิตภัณฑ์ที่มีศักยภาพ (Product Champion) และประเด็นปัญหาสำคัญ (Critical Issue) ตามประเด็นยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 • พัฒนาศักยภาพด้านการท่องเที่ยว • ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องนำเสนอเพื่อพิจารณา • วาระที่ 3.1ผลิตภัณฑ์ที่มีศักยภาพ (Product Champion) และประเด็นปัญหาสำคัญ (Critical Issue) ตามประเด็นยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1
ส่งเสริมและพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์และการท่องเที่ยวเชื่อมโยงกับประเทศเพื่อนบ้าน ประเด็นยุทธศาสตร์ การพัฒนาศักยภาพด้านการท่องเที่ยว กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตอนบน 1 วางยุทธศาสตร์ / แผนการท่องเที่ยว พัฒนาระบบบริหาร จัดการการท่องเที่ยว พัฒนาปัจจัย พื้นฐานด้านท่องเที่ยว /ทรัพยากร พัฒนาแหล่งและกิจกรรมท่องเที่ยว พัฒนาธุรกิจบริการ การท่องเที่ยว พัฒนาการตลาด และประชาสัมพันธ์ • พัฒนามาตรฐานมัคคุเทศก์ / ผู้นำเที่ยว • พัฒนาศักยภาพแรงงานวิชาชีพและบุคลากรด้าน การท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ • ส่งเสริมการรวมกลุ่ม ผู้ประกอบการท่องเที่ยว เชิงท่องเทียวกับประเทศเพื่อนบ้าน • พัฒนาทรัพยากรทางการท่องเที่ยว • การจัดการคุณภาพ สิ่งแวดล้อม เพื่อการ ท่องเที่ยวที่ยั่งยืน • พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ถนน ไฟฟ้า ป้ายบอกทาง • การจัดการปัญหาจากการท่องเที่ยว อาทิ สิ่งปฏิกูล ขยะและมลภาวะ • การพัฒนาและปรับปรุงระบบสาธารณูปโภค ไฟฟ้า ประปา โครงข่ายโทรศัพท์และInternet • สร้างสรรค์กิจกรรมท่องเที่ยว ใหม่ๆ ให้สอดคล้องกับความสนใจ • จัดทำมาตรฐานแหล่งท่องเที่ยว • ส่งเสริม/อนุรักษ์/ฟื้นฟู/ปรับปรุง/บูรณะ/พัฒนา แหล่งท่องเที่ยวเชิง..... • ยกระดับคุณภาพสิ่งอำนวยความสะดวกในสถานที่ท่องเที่ยว เช่นห้องน้ำและน้ำดื่มสาธารณะเช่นห้องน้ำและน้ำดื่มสาธารณะ • การรับรองมาตรฐานที่พักและโรงแรม • พัฒนามาตรฐานธุรกิจบริการที่เกี่ยวเนื่องกับการท่องเที่ยว อาทิ ร้านอาหาร โชว์พิเศษต่างๆ • พัฒนามาตรฐานสินค้า ของฝากและของที่ระลึก • พัฒนามาตรฐานธุรกิจ นำเที่ยว • สนับสนุนธุรกิจการจัดประชุมและสัมมนา (MICE) • การทำการตลาดกลุ่มนัก ท่องเที่ยวคุณภาพ • ประชาสัมพันธ์สร้างภาพลักษณ์ • การตลาดเชิงรุก ผ่านสื่อสมัยใหม่ (Social Network) • การวางแผนและกำหนดตำแหน่งเชิงยุทธศาสตร์ (Strategic Positioning) สำหรับการท่องเที่ยวเชิง...... • การกำหนดนักท่องเที่ยวกลุ่มเป้าหมาย • การรวบรวมและจัดทำข้อมูลสารสนเทศเพื่อการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์และวัฒนธรรม • การกำหนดขีดความสามารถในการรองรับนักท่องเที่ยว (Carrying Capacity) • สร้างความเชื่อมั่นด้านความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน • การสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชน • การเชื่อมโยงและจัดเส้นทาง (routs) การท่องเที่ยวระหว่างจังหวัด
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่2ประเด็นยุทธศาสตร์ที่2 • เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันด้านการลงทุน อุตสาหกรรม การค้า และบริการ • ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องนำเสนอเพื่อพิจารณา • วาระที่ 3.1ผลิตภัณฑ์ที่มีศักยภาพ (Product Champion) และประเด็นปัญหาสำคัญ (Critical Issue) ตามประเด็นยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1
ประเด็นยุทธศาสตร์ เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันด้านการลงทุน อุตสาหกรรม การค้า และบริการ พัฒนาสิ่งอํานวยความสะดวกของเมืองและด่านชายแดนให้ได้มาตรฐานสากล กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตอนบน 1 พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ พัฒนาผู้ประกอบการและส่งเสริมการประกอบธุรกิจ พัฒนาการเป็นศูนย์กลางโลจิส ติกส์ให้บริการธุรกิจการค้า พัฒนาด้านการตลาดและการบริการ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน การพัฒนาเมืองและชุมชนให้ น่าอยู่ มีระบบสาธารณูปโภคที่ดี เลย • การขยาย/ปรับปรุงระบบการให้บริการน้ำประปา • การขยาย/ปรับปรุงระบบการให้บริการไฟฟ้า • การขยาย/ปรับปรุงระบบการให้บริการโทรศัพท์ • การพัฒนาเมืองให้น่าอยู่มีสิ่งแวดล้อมที่ดีและมีคุณภาพ • การจัดการมลพิษ (คุณภาพน้ำอากาศ/ขยะและของเสียอันตรายชุมชนและอุตสาหกรรม) • การจัดการสิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชน (พื้นที่สีเขียวและภูมิทัศน์) • การปรับปรุงระบบเทคโนโลยีสารสนเทศให้มีประสิทธิภาพ • ขยายพื้นที่ให้บริการเทคโนโลยีสารสนเทศ • ส่งเสริมให้ประชาชนมีโอกาสเข้าถึงเทคโนโลยีสารสนเทศ • พัฒนาผู้ประกอบการให้มีขีดความสามารถในการแข่งขันรองรับการค้าการลงทุน • พัฒนาบุคลากรที่เกี่ยวข้องให้มีความรู้ในธุรกิจโลจิสติกส์ เพื่อยกระดับธุรกิจสู่เกณฑ์มาตรฐาน • การส่งเสริม พัฒนาการรวมกลุ่มผู้ประกอบการค้า • สร้างและขยายเครือข่ายการค้า การลงทุนทั้งในและต่างประเทศ • การยกระดับความพร้อมด้านเทคโนโลยี (Technology Readiness) • พัฒนาแรงงานให้มีฝีมือเพื่อรองรับการเป็นศูนย์กลาง โลจิสติกส์ • การการจัดตั้งศูนย์กระจายสินค้า • การพัฒนาประสิทธิภาพและลดต้นทุนการขนส่งและกระจายสินค้า • การลดอัตราการสูญเสียระหว่างขนส่ง • การลดต้นทุนในการบริหารจัดการและเก็บรักษาสินค้าคงคลัง • การจัดการงานด้านศุลกากร (ส่งออก/นำเข้า) • เชื่อมโยงเครือข่ายธุรกิจ โลจิสติกส์ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน • เตรียมชุมชนให้มีความพร้อมเข้าสู่ศูนย์กลางโลจิสติกส์ • การทำการตลาดและประชาสัมพันธ์ผ่านช่องทางการสื่อสารต่าง ๆ • การจัดกิจกรรมส่งเสริมเครือข่ายธุรกิจโลจิสติกส์ เช่นการรับแจ้งปัญหา เกี่ยวกับการขนส่งสินค้า เป็นต้น • การพัฒนา/ปรับปรุงเส้นทางสายหลัก • การพัฒนา/ปรับปรุงเส้นทางสายรอง • การพัฒนา/ปรับปรุงการขนส่งทางราง • การพัฒนา/ปรับปรุงการขนส่งทางอากาศ
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่3ประเด็นยุทธศาสตร์ที่3 • ส่งเสริมและพัฒนาสินค้าเกษตรให้ได้มาตรฐานและครบวงจร • ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องนำเสนอเพื่อพิจารณา • วาระที่ 3.1ผลิตภัณฑ์ที่มีศักยภาพ (Product Champion) และประเด็นปัญหาสำคัญ (Critical Issue) ตามประเด็นยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1
ประเด็นยุทธศาสตร์ ส่งเสริมและพัฒนาสินค้าเกษตรให้ได้มาตรฐานและครบวงจร การส่งเสริมมาตรฐานการผลิตข้าวปลอดภัย กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตอนบน 1 การวิจัยและพัฒนา (R&D) การเพิ่มผลผลิต พัฒนาคุณภาพ และลดต้นทุน การแปรรูป และสร้าง มูลค่าเพิ่ม การขนส่งสินค้าและจัดการบริหาร สินค้า (Logistics) พัฒนาระบบการตลาด พัฒนาปัจจัยพื้นฐาน และพัฒนาเกษตรกร • การบริหารจัดการน้ำเพื่อการเพาะปลูก • การบริหารจัดการการใช้ที่ดิน (Zoning) • การจัดหาและกระจายกล้าข้าวพันธุ์ดีให้เกษตรกร • การเตรียมพื้นที่เพาะปลูกและการปรับปรุงคุณภาพดิน • การรวมกลุ่มเกษตรกรและสร้างเครือข่าย • การสร้างองค์ความรู้และขีดความสามารถให้เกษตรกร • มีเครือข่ายสถาบันการเงิน/กองทุนเพื่อช่วยเหลือด้านการเงินให้เกษตรกร • ส่งเสริมระบบการผลิตที่ดีและเหมาะสม (GAP) • การใส่ปุ๋ยการใช้สารเคมี และการกำจัดศัตรูพืช • เกษตรกรมีแผนการผลิตและแผนการเก็บเกี่ยวที่เหมาะสม (Crop Planning) • การเพิ่มผลิตภาพการปลูกข้าว • การส่งเสริมมาตรฐานการผลิตเกษตรอุตสาหกรรม (GMP) • สนับสนุนให้นำระบบเกษตรวัสดุเหลือใช้ (Zero Waste) มาปฏิบัติ • ส่งเสริมการแปรรูปเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม • มีระบบการขนส่งและกระจายสินค้าที่ปลอดภัยและมีมาตรฐาน • เพิ่มประสิทธิภาพและลดต้นทุนการขนส่ง • พัฒนาตลาดกลางและศูนย์จำหน่ายสินค้า • พัฒนาตลาดซื้อขายล่วงหน้า (Future Market) • ประชาสัมพันธ์และส่งเสริมการขาย • สร้างเครือข่ายความร่วมมือในการส่งเสริมการคลาด • การวิจัยและพัฒนาพันธุ์ข้าวที่ดีและเหมาะสมกับพื้นที่ • การจัดทำข้อมูลต้นทุนการผลิต • การวิจัยเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อเพิ่มผลผลิต • การวิเคราะห์ความต้องการของตลาดและแนวโน้มสถานการณ์ข้าวทั้งในและต่างประเทศ
ประเด็นยุทธศาสตร์ ส่งเสริมและพัฒนาสินค้าเกษตรให้ได้มาตรฐานและครบวงจร การส่งเสริมมาตรฐานการผลิตอ้อย และการแปรรูป กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตอนบน 1 การวิจัยและพัฒนา (R&D) การเพิ่มผลผลิต พัฒนาคุณภาพ และลดต้นทุน การแปรรูป และสร้าง มูลค่าเพิ่ม การขนส่งสินค้าและจัดการบริหาร สินค้า (Logistics) พัฒนาระบบการตลาด พัฒนาปัจจัยพื้นฐาน และพัฒนาเกษตรกร • การบริหารจัดการน้ำเพื่อการเพาะปลูก • การบริหารจัดการการใช้ที่ดิน (Zoning) • การจัดหาและกระจายพันธ์อ้อยที่ดีให้เกษตรกร • การเตรียมพื้นที่เพาะปลูกและการปรับปรุงคุณภาพดิน • การรวมกลุ่มเกษตรกรและสร้างเครือข่าย • การสร้างองค์ความรู้และขีดความสามารถให้เกษตรกร • มีเครือข่ายสถาบันการเงิน/กองทุนเพื่อช่วยเหลือด้านการเงินให้เกษตรกร • ส่งเสริมระบบการผลิตที่ดีและเหมาะสม (GAP) • การใส่ปุ๋ยการใช้สารเคมี และการกำจัดศัตรูพืช • เกษตรกรมีแผนการผลิตและแผนการเก็บเกี่ยวที่เหมาะสม (Crop Planning) • การเพิ่มผลิตภาพการเพาะปลูกอ้อย • การส่งเสริมมาตรฐานการผลิตเกษตรอุตสาหกรรม (GMP) • สนับสนุนให้นำระบบเกษตรวัสดุเหลือใช้ (Zero Waste) มาปฏิบัติ • ส่งเสริมการแปรรูปเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม • มีระบบการขนส่งและกระจายสินค้าที่ปลอดภัยและมีมาตรฐาน • เพิ่มประสิทธิภาพและลดต้นทุนการขนส่ง • พัฒนาตลาดกลางและศูนย์จำหน่ายสินค้า • พัฒนาตลาดซื้อขายล่วงหน้า (Future Market) • ประชาสัมพันธ์และส่งเสริมการขาย • สร้างเครือข่ายความร่วมมือในการส่งเสริมการคลาด • การวิจัยและพัฒนาพันธุ์อ้อยที่ดีและเหมาะสมกับพื้นที่ • การจัดทำข้อมูลต้นทุนการผลิต • การวิจัยเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อเพิ่มผลผลิต • การวิเคราะห์ความต้องการของตลาดและแนวโน้มสถานการณ์อ้อยทั้งในและต่างประเทศ
การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตยางพาราและการสร้างมูลค่าเพิ่มการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตยางพาราและการสร้างมูลค่าเพิ่ม ประเด็นยุทธศาสตร์ ส่งเสริมและพัฒนาสินค้าเกษตรให้ได้มาตรฐานและครบวงจร กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตอนบน 1 การวิจัยและพัฒนา (R&D) การเพิ่มผลผลิต พัฒนาคุณภาพ และลดต้นทุน การแปรรูป และสร้าง มูลค่าเพิ่ม การขนส่งสินค้าและจัดการบริหาร สินค้า (Logistics) พัฒนาระบบการตลาด พัฒนาปัจจัยพื้นฐาน และพัฒนาเกษตรกร • การบริหารจัดการน้ำเพื่อการเพาะปลูก • การบริหารจัดการการใช้ที่ดิน (Zoning) • การจัดหาและกระจายกล้ายางพันธุ์ดีให้เกษตรกร • การเตรียมพื้นที่เพาะปลูกและการปรับปรุงคุณภาพดิน • การรวมกลุ่มเกษตรกรและสร้างเครือข่าย • การสร้างองค์ความรู้และขีดความสามารถให้เกษตรกร • มีเครือข่ายสถาบันการเงิน/กองทุนเพื่อช่วยเหลือด้านการเงินให้เกษตรกร • ส่งเสริมระบบการผลิตที่ดีและเหมาะสม (GAP) • การใส่ปุ๋ยการใช้สารเคมี และการกำจัดศัตรูพืช • เกษตรกรมีแผนการผลิตและแผนการเก็บเกี่ยวที่เหมาะสม (Crop Planning) • การเพิ่มผลิตภาพการกรีดยาง การเก็บและรักษาน้ำยาง • การส่งเสริมมาตรฐานการผลิตเกษตรอุตสาหกรรม (GMP) • สนับสนุนให้นำระบบเกษตรวัสดุเหลือใช้ (Zero Waste) มาปฏิบัติ • ส่งเสริมการแปรรูปเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม • มีระบบการขนส่งและกระจายสินค้าที่ปลอดภัยและมีมาตรฐาน • เพิ่มประสิทธิภาพและลดต้นทุนการขนส่ง • พัฒนาตลาดกลางและศูนย์จำหน่ายสินค้า • พัฒนาตลาดซื้อขายล่วงหน้า (Future Market) • ประชาสัมพันธ์และส่งเสริมการขาย • สร้างเครือข่ายความร่วมมือในการส่งเสริมการตลาด • การวิจัยและพัฒนาพันธุ์ยางพาราที่ดีและเหมาะสมกับพื้นที่ • การจัดทำข้อมูลต้นทุนการผลิต • การวิจัยเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อเพิ่มผลผลิต • การวิเคราะห์ความต้องการของตลาดและแนวโน้มสถานการณ์ยางพาราทั้งในและต่างประเทศ
จาก Product Champion และ Critical Issues สู่การพัฒนาชุดข้อมูลตามแนวคิดห่วงโซ่มูลค่า (Value Chain) • แผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด • ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องนำเสนอเพื่อพิจารณา • วาระที่ 3.1ผลิตภัณฑ์ที่มีศักยภาพ (Product Champion) และประเด็นปัญหาสำคัญ (Critical Issue) ตามประเด็นยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1 • [ Data Gap Analysis ] • [วิสัยทัศน์] • VC2 • VC3 • VC4 • VC1 • เป้าประสงค์ • เป้าประสงค์ 2 • เป้าประสงค์ 3 • เป้าประสงค์ 1 • ประเด็นยุทธศาสตร์ • ปัจจัยแห่งความสำเร็จ (CSF: Critical Success Factors) • ประเด็นยุทธฯ 1 • ประเด็นยุทธฯ 2 • ประเด็นยุทธฯ 3 • CSF 1.1 • CSF 1.2 • … • CSF 2.1 • CSF 2.2 • … • CSF 3.1 • CSF 3.2 • … • CSF 4.1 • CSF 4.2 • … • 01 • 02 • แผนพัฒนาสถิติจังหวัด/กลุ่มจังหวัด • รายงานสถานการณ์ตามประเด็นยุทธศาสตร์ • จาก Critical Success Factors สู่การกำหนดตัวชี้วัด (KPI) และชุดข้อมูลสำหรับทุกข้อต่อใน Value Chain แนวทางการพัฒนาข้อมูลบนแนวคิดห่วงโซ่คุณค่า
ตัวอย่าง • ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องนำเสนอเพื่อพิจารณา • วาระที่ 3.1ผลิตภัณฑ์ที่มีศักยภาพ (Product Champion) และประเด็นปัญหาสำคัญ (Critical Issue) ตามประเด็นยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1 รายชื่อหน่วยงานหลัก 16 หน่วยงาน ที่บูรณาการฐานข้อมูล “ข้าวปลอดภัย” • สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร • ศูนย์วิจัยข้าว • ศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าว • เกษตรจังหวัด • สถานีพัฒนาที่ดินจังหวัด • เกษตรและสหกรณ์จังหวัด • สำนักงานสหกรณ์จังหวัด • สรุปช่องว่างการพัฒนาการจัดเก็บข้อมูลเพื่อให้มีข้อมูลสนับสนุนการบริหารยุทธศาสตร์
สรุปประเด็นยุทธศาสตร์สู่การกำหนด Product Champion/Critical Issues ของกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1 • ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องนำเสนอเพื่อพิจารณา • วาระที่ 3.1ผลิตภัณฑ์ที่มีศักยภาพ (Product Champion) และประเด็นปัญหาสำคัญ (Critical Issue) ตามประเด็นยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1
ประเด็นเพื่อพิจารณา • ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องนำเสนอเพื่อพิจารณา • วาระที่ 3.1ผลิตภัณฑ์ที่มีศักยภาพ (Product Champion) และประเด็นปัญหาสำคัญ (Critical Issue) ตามประเด็นยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1 • ขอความเห็นชอบในหลักการ ProductChampion/CriticalIssue ตามประเด็นยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1 ตามเสนอ • เห็นชอบในหลักการแนวทางการพัฒนาข้อมูลตามแนวคิดห่วงโซ่มูลค่า (ValueChain)ของ ProductChampion/CriticalIssue ตามประเด็นยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1 • เพื่อให้การพัฒนาข้อมูลเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและตรงตามประเด็นยุทธศาสตร์การพัฒนากลุ่มจังหวัด เห็นควรพิจารณาแต่งตั้งคณะทำงานตาม ProductChampion/CriticalIssueทั้งนี้ มอบหมายให้ฝ่ายเลขานุการประสานงานจัดทำคำสั่งเสนอผู้ว่าราชการจังหวัดพิจารณาลงนามแต่งตั้งต่อไป
ระเบียบวาระที่ 3เรื่องนำเสนอเพื่อพิจารณา วาระที่3.2เค้าโครงร่างแผนพัฒนาสถิติกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1 วาระการประชุมคณะกรรมการสถิติกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1ครั้งที่ 1/2557ภายใต้โครงการพัฒนาข้อมูลสถิติและสารสนเทศระดับพื้นที่ 76 จังหวัด/18 กลุ่มจังหวัดวันอังคารที่10มิถุนายน 2557 เวลา 13.30 น. ห้องประชุมสบายดีศาลากลางจังหวัดอุดรธานี
ตัวอย่าง แผนพัฒนาสถิติกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1 • กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1 พ.ศ. ๒๕๕๗
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องนำเสนอเพื่อพิจารณา • วาระที่ 3.2เค้าโครงร่างแผนพัฒนาสถิติกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1 • ประเด็นพิจารณา พิจารณาเห็นชอบในหลักการเค้าโครงร่างแผนพัฒนาสถิติระดับกลุ่มจังหวัดตามเสนอ
ระเบียบวาระที่ 4เรื่องอื่นๆ (ถ้ามี) วาระการประชุมคณะกรรมการสถิติกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1ครั้งที่ 1/2557ภายใต้โครงการพัฒนาข้อมูลสถิติและสารสนเทศระดับพื้นที่ 76 จังหวัด/18 กลุ่มจังหวัดวันอังคารที่10มิถุนายน 2557 เวลา 13.30 น. ห้องประชุมสบายดีศาลากลางจังหวัดอุดรธานี