110 likes | 419 Views
บทบาท และวิธีบริหารแบบ Hollywood model สำหรับหัวหน้า ส่วนราชการประจำจังหวัดและนักบริหารระดับกลาง (นบก.). บทบาทและสมรรถนะเพื่อการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ส่วนราชการ ที่เชื่อมโยงกับแผนฯ และคำรับรองฯ ของจังหวัด. Change agent. Repeater. Communication and Idea marketing etc.
E N D
บทบาท และวิธีบริหารแบบ Hollywood model สำหรับหัวหน้าส่วนราชการประจำจังหวัดและนักบริหารระดับกลาง (นบก.) บทบาทและสมรรถนะเพื่อการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ส่วนราชการ ที่เชื่อมโยงกับแผนฯ และคำรับรองฯ ของจังหวัด Change agent Repeater Communication and Idea marketing etc Hollywood model : รูปแบบและวิธีบริหารจัดการภารกิจและโครงการพิเศษที่ต้องทำเป็นทีมร่วมกันจากหลายหน่วยงาน การปรับใช้ Hollywood model กับภารกิจและโครงการของจังหวัด บุญรอด สิงห์วัฒนาศิริ ที่ปรึกษาระบบราชการ สำนักงาน ก.พ. อภิปราย ซักถาม หรือฝึกปฏิบัติตามที่จังหวัดเห็นควร
ผลจากการปรับเปลี่ยนการบริหารจัดการภาครัฐ จากปี 2545 เป็นต้นมา บัดนี้ทิศทางการพัฒนาบทบาท ได้ขยายจากนักบริหารระดับสูงมาถึงนักบริหารระดับกลางแล้ว และภาครัฐได้ส่งสัญญาณการพัฒนาบทบาท นบก.ไว้ชัดเจน 2546 – 2549 ปัจจุบันและอนาคต 2545 - 2546 Restructuring Remanaging & Retraining นักบริหารระดับสูง ผวจ. จากปี 2545 - ปัจจุบัน ปลัดกระทรวง + รองปลัดกระทรวง รูปแบบ และบทบาทการบริหารเตรียมสู่อนาคต รองปลัดกลุ่มภารกิจ การบริหารเพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์และการบริหารงานแบบบูรณาการ(Strategic Management & CEO) การรับรองการปฏิบัติราชการ รางวัลประจำปี แผนบริหารราชการแผ่นดิน / กระทรวง / จังหวัด Blueprint for Change ทุกกรม & จังหวัด ส่ง ก.พ.ร. ภายใน 1 พ.ค. 49 Statement of Intention เริ่มใช้กับบางส่วนราชการ ปี 2549 นักบริหารระดับกลาง ปี 2548 - ปัจจุบัน ต้องขับเคลื่อนยุทธศาสตร์และปรับบทบาทเป็น Change agent Repeater MOU พัฒนานักบริหารระดับกลาง การพัฒนานักบริหารระดับกลางเป็นวาระแห่งชาติ
ทั้งนักบริหารระดับกลางและผู้ปฏิบัติงานมีบทบาทที่ปรับเพิ่มใหม่จากผลการพัฒนาระบบราชการ ตั้งแต่ปี 2545 เป็นต้นมา Executives นักบริหารระดับสูง อธิบดี / ผวจ. และรองฯ CEO Managers นักบริหารระดับกลาง (นบก.) Area Agenda Change agent Function บริหารภารกิจโครงการในจังหวัด บริหารภารกิจโครงการพิเศษร่วมกัน ตัวแทนกระทรวง กรม Repeater Etc Knowledge Workers ผู้ปฏิบัติงาน ผู้ปฏิบัติงานตามหน้าที่ในหน่วยที่สังกัดและร่วมทีมกับหน่วยอื่น
บทบาทของนักบริหารระดับกลางที่เพิ่มใหม่ คือ การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ส่วนราชการและการสร้างการเปลี่ยนแปลง หลักบริหารจัดการที่เพิ่มใหม่ให้ นบก. ยึดถือ บทบาทและวิธีการบริหารจัดการ บทบาท Good Governance จากมาตรา 3 /1 พรบ.บริหารฯ 2545 เป็น พ.ร.ฎ.ฯ หลักเกณฑ์และวิธีบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 บทบาทตามอำนาจและหน้าที่ + บทบาทใหม่ การเป็นตัวแทนส่วนราชการ Change agent Change manager Function การเป็น Manager ตามภารกิจ / โครงการ ของพื้นที่จังหวัด ศาลปกครอง KPIs Owner สตง. Area สาธารณะ Strategic Enabler การเป็น Manager ตามวาระแห่งชาติ / จังหวัด หรือภารกิจของพื้นที่จังหวัด ประสานและสนับสนุนกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น / ภาคเอกชน Facilitator Agenda
Hollywood Model(H.M.)คืออะไร? ใช้ในกรณีใด? H.M. เป็นรูปแบบและวิธีการบริหารจัดการงานที่เป็นภารกิจตาม Agenda หรือโครงการที่ต้องทำร่วมกันหลายหน่วยโดยการประกอบกำลังที่มีศักยภาพเพื่อบรรลุผลลัพธ์ร่วมกัน Hollywood Model : Detroit Model H.M. ใช้ในการบริหารงานที่เป็นภารกิจตาม Agenda / โครงการพิเศษ เช่น ท่องเที่ยวเชิงศิลปวัฒนธรรม คาราวานแก้จนและอื่นๆ
H.M. เป็นรูปแบบการประกอบทีมกันผลิตภาพยนตร์ตามผลลัพธ์ที่กำหนดร่วมกัน ตั้งแต่ผู้อำนวยการผลิต/ผู้อำนวยการสร้าง ดารานำ/ดาราประกอบ จนถึงคนงาน ซึ่งต้องคัดสรรผู้แสดงที่มีศักยภาพให้เหมาะกับบทบาทเมื่อเสร็จภารกิจก็สลายทีมไป ผลลัพธ์ที่ต้องการ ผู้แสดง โหมโรง ต้มยำกุ้ง แรงบันดาลใจ บทบาท ผลงาน ผู้อำนวยการสร้าง ผู้อำนวยการผลิต ช่างแต่งหน้า ................... ดาราประกอบ ดารานำ ผู้กำกับ ผลลัพธ์ที่ต้องการสร้างภาพยนตร์เรื่องนั้น สรุป การคัดสรรผู้แสดงและทีมงานมาประกอบทีม การสร้างแรงบันดาลใจแก่ทีมงาน การจัดทำ Script การถ่ายทำ / ตัดต่อ การตลาด การติดตามผลสำเร็จ ฯลฯ
ตัวอย่างการพัฒนา Hollywood modelลักษณะต่างๆ นายอำเภอ..............ผอ. โครงการ โครงการแก้ปัญหาความยากจนในอำเภอ .... พัฒนาการ อำเภอ เกษตร อำเภอ 1 อื่นๆ โครงการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ผอ. โครงการ เจ้าภาพ เจ้าภาพ เจ้าภาพ 2 การแก้ปัญหาไข้หวัดนกของจังหวัด.... 3 เจ้าภาพ เจ้าภาพ เจ้าภาพ ผอ. โครงการ
H.M. ประกอบด้วยการบริหารจัดการเช่นเดียวกับการสร้างภาพยนตร์ คือ 1.Mission / Project Idea & Design และ 2. Project planning implementation and evaluation ผลลัพธ์ที่เพิ่มคุณค่าร่วมกัน Mission/ Outcome หลักการและเหตุผลที่เป็นที่มาของการริเริ่มโครงการ 1 Project Concept & Idea Idea & Target วัตถุประสงค์ K.P.I. Design Talent การปฏิบัติตามแผน Strategy Mission/ Project Ownership วิธีบริหารจัดการที่ต้องใช้ เช่น การสื่อความหมาย ฯลฯ 2 Implementation Cost / Budget Benefit & Evaluation บริหารจัดการปัจจัยแวดล้อมอื่นๆ
ความหมาย : คุณลักษณะและพฤติกรรมการปฏิบัติงานที่ทำให้ มีผลงานโดดเด่น แตกต่างกัน องค์ประกอบ : ความรู้และทักษะเป็นส่วนหนึ่ง 30 - 40% แต่ส่วนอื่นๆ สำคัญเช่นกัน 60 - 70% ข้อมูลความรู้ที่บุคคลมีในสาขาต่างๆ ความเชี่ยวชาญ ชำนาญพิเศษในด้านต่างๆ องค์ความรู้ และ ทักษะต่างๆ บทบาทที่บุคคลแสดงออกต่อผู้อื่น ความรู้สึกนึกคิดเกี่ยวกับเอกลักษณ์และคุณค่าของตน (Social Role) (Self-Image) (Traits) (Motives) ความเคยชิน พฤติกรรมซ้ำๆ ในรูปแบบใด รูปแบบหนึ่ง จินตนาการ แนวโน้มวิธีคิด วิธีปฏิบัติตนอันเป็นไปโดยธรรมชาติของบุคคล ที่มา : สำนักงาน ก.พ.
2 ประเภทของสมรรถนะที่ ก.พ.จะปรับใช้ในราชการ แต่ส่วนราชการและจังหวัดอาจกำหนดเพิ่มเติมได้ ตัวอย่าง สมรรถนะที่ส่วนราชการและจังหวัดกำหนดเพิ่ม ศิลปการสื่อสาร สมรรถนะที่ต้องใช้เฉพาะตำแหน่ง Functional / Specific Competency การมองภาพองค์รวม การคิดวิเคราะห์ การมุ่งผลสัมฤทธิ์(Achievement Motivation) บริการที่ดี (Service Mind) การสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ (Expertise) สมรรถนะหลักที่ต้องมีสำหรับทุกตำแหน่ง Core Competency ความร่วมแรงร่วมใจ(Teamwork) จริยธรรม (Integrity)