1 / 27

จัดทำโดย พญ . รจิ ตา หาญตะล่อม วันที่ 26 27 30 กันยายน 2556

จัดทำโดย พญ . รจิ ตา หาญตะล่อม วันที่ 26 27 30 กันยายน 2556. ระบบสมองเป็นอวัยวะที่ควบคุมสติ ความคิด คุณธรรม และ พฤติกรรมของมนุษย์ สมองขาดเลือด - 1 นาทีทำให้หมดสติได้ - 4 - 5 นาทีเซลล์สมองเริ่มตาย - 8 นาที เสียชีวิตได้ สมองขาดกลูโคส 10 - 15 นาที พิการได้

arnold
Download Presentation

จัดทำโดย พญ . รจิ ตา หาญตะล่อม วันที่ 26 27 30 กันยายน 2556

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. จัดทำโดย พญ.รจิตา หาญตะล่อม วันที่ 26 27 30 กันยายน 2556

  2. ระบบสมองเป็นอวัยวะที่ควบคุมสติ ความคิด คุณธรรม และ พฤติกรรมของมนุษย์ สมองขาดเลือด - 1 นาทีทำให้หมดสติได้ - 4 - 5 นาทีเซลล์สมองเริ่มตาย - 8 นาที เสียชีวิตได้ สมองขาดกลูโคส 10 - 15 นาที พิการได้ สมองต้องการเลือด 17% ของเลือดที่ออกจากหัวใจ และต้องการออกซิเจน 20% ของร่างกายทั้งหมด สมอง

  3. คือ ภาวะที่สมองขาดเลือดไปเลี้ยง ซึ่งเกิดจากหลอดเลือดที่ไปเลี้ยงสมองตีบตัน หรือแตก จนเกิดการเสียหายหรือตายของเนื้อสมอง ทำให้สมองเสียการควบคุมการทำงานของอวัยวะในร่างกาย โรคหลอดเลือดสมอง หรือ อัมพาต(stroke/ cerebrovascular disease)

  4. ในปี 2552 มีคนไทยเสียชีวิตด้วยโรคหลอดเลือดสมอง 13,353 คน เฉลี่ยวันละ 36 คน หรือ 3 คนทุก 2 ชม. คนอายุ 15ปีขึ้นไปเป็น 751,350คน ( จากสถิติสาธารณสุข ปี2552 สนง นโยบายและยุทธศาสตร์ กรุงเทพ และ การสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 4 ปี 2551 – 2552วิชัย เอกพลากร)

  5. แบ่งตามพยาธิสภาพ 1.Hemorrhage 20% 1.1 Intracerebral hemorrhage อาการเป็นเร็วซึม มักไม่มีอาการของสมองใหญ่ยกเว้นเลือดออกที่ผิวสมอง 1.2 subarachnoid hemorrhage:ปวดศีรษะมาก ปวดกระบอกตา คอแข็ง STROKE

  6. 2. Ischemia 80% 2.1 cerebral thrombosis - large vv dz. - small vv dz. (lacunar stroke) 2.2 cerebral embolism - cardiac :valvular heart disease, AF - artery: artherosclerotic plaque rupture 2.3 systemic hypoperfusion

  7. แบ่งตามระยะเวลาการดำเนินโรคแบ่งตามระยะเวลาการดำเนินโรค 1.Transient ischemic attack อาการหายภายใน 24 ชม. 2. reversible ischemic neurological deficit (RIND)อาการเกิดขึ้น และคงอยู่นานมากกว่า 24 ชม อาการหายภายใน 3 สัปดาห์ 3. Progressive stroke 4. Complete stroke อาการคงที่ ไม่เป็นมากขึ้น

  8. แบ่งตามตำแหน่งพยาธิสภาพแบ่งตามตำแหน่งพยาธิสภาพ 1. carotid system 2. Vertebro-basilar system

  9. ความดันโลหิตสูง สูบบุหรี่เป็นประจำ กิจกรรมทางกายไม่เพียงพอ อ้วน(BMI >/= 25 kg/m2) อ้วนลงพุง ( รอบเอวหญิง >/=80 cm ชาย >/=90 cm) เบาหวาน ปัจจัยเสี่ยง

  10. การดื่มแอลกอฮอล์ ผู้สูงอายุ โรคหัวใจโดยเฉพาะกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน ลิ้นหัวใจ หัวใจด้านซ้ายโตและหัวใจเต้นผิดจังหวะ ญาติสายตรงเป็นโรคหลอดเลือดสมอง คอเลสเตอรอลสูง

  11. อาการที่เกิดขึ้นอยู่กับ- ตำแหน่งที่ขาดเลือดไปเลี้ยง - ความรุนแรงขึ้นกับการทำลายของเนื้อสมอง - ความรวดเร็วในการเกิดการขาดเลือด เช่นภาวะ embolism จะมีอาการเริ่มต้นเร็วมากกว่าภาวะที่ค่อยๆ เป็นมากขึ้นเช่นในภาวะของ thrombosis - หลอดเลือด collateral (collateralcirculation) ถ้าผู้ป่วยมีหลอดเลือด collateral ที่หล่อเลี้ยงทดแทนส่วนที่ขาดเลือดได้ดี จะมีอาการ น้อยกว่า อาการของสมองขาดเลือด

  12. อาการcarotid system : - แขนขาอ่อนแรงส่วนมากเป็นข้างเดียว ชา หรือ อ่อนแรงครึ่งซีก หน้าเบี้ยว ครึ่งซีกเดียวกัน visual field defect ตาเสียconjugate gaze ตามักมองข้างเดียวกับรอยโรค ความผิดปกติของสมองใหญ่เฉพาะที่ Aphasiaสมองใหญ่ซีกซ้าย ไม่รับรู้ส่วนร่างกายตรงข้ามรอยโรค ชัก monocular visual loss :ophalmicbr of int.carotid a.

  13. อาการ vertebro-basilar system : มักเป็น 2 ข้างเพราะก้านสมองขนาดเล็ก ความผิดปกติของmotor และ sensory มีลักษณะพิเศษ เช่น อ่อนแรงร่างกายซีกหนึ่ง เส้นประสาทสมองเสียอีกข้างหนึ่ง หรือชาลำตัวซีกหนึ่ง ชาหน้าอีกซีกหนึ่ง มักมีdysconjugate gait เห็นภาพซ้อน อาการของ posterior fossaหรือ vertebrobasilar system  ม่านตาผิดปกติ  nystagmus ,vertigo  หายใจผิดปกติ  dysarthria, dysphagia  อาจมีอาการของ cerebellum เช่น เดินเซ action tremor

  14. FAST F: FACE : หน้าเบี้ยว ยิ้มมุมปากตก A: ARMS : แขนอ่อนแรง 1 ข้าง S: SPEECH :พูดไม่ชัด หรือไม่รู้เรื่อง T : TIME:ถ้ามีอาการเช่นนี้ รีบไปโรงพยาบาลโดยด่วน ภายใน 3- 4.5 ชม. อาการ

  15. ประวัติ ตรวจร่างกาย การตรวจทางห้องปฏิบัติการ:CBC, electrolyte , plasma glucose,lipid , coagulogram , Bun/cr , EKG การตรวจทางรังสีวิทยา: - คอมพิวเตอร์สมองComputed tomography scan : CT scan - คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าMagnetic resonance imaging(MRI) - carotid duplex ultrasound:กรณีสงสัยหลอดเลือดแดงที่ คอตีบ (carotid stenosis) การวินิจฉัย

  16. ผู้ที่อายุมากกว่า 35 ปีขึ้นไปควรได้รับการตรวจคัดกรองเบาหวานความดันโลหิตสูง หัวใจและหลอดเลือดปีละ 1 ครั้ง คุมความดันโลหิต < 140/90 mmHg คุม total cholesterol< 200 คุมน้ำหนักได้เหมาะสม และ ออกกำลังกายอย่างน้อย 30 นาทีต่อวัน 5 วันต่อสัปดาห์ อาหาร:เลี่ยงอาหารน้ำตาลและไขมันสูง ลดเกลือ เพิ่มการกินผัก ผลไม้ เลิกบุหรี่ ลดแอลกอฮอล์ ชายไม่เกิน 2แก้วมาตรฐาน หญิงไม่เกิน 1 แก้วมาตรฐาน (1 แก้วมาตรฐาน = เบียร์ 360 cc ,ไวน์ 120cc ,วิสกี้ 45cc ) การป้องกัน

  17. รักษาให้เร็วที่สุด 1. การรักษาทั่วไป: - ประเมิน A – B - C Airway and breathing :หลังจากดูแล้วว่าไม่มีภาวะหัวใจหยุดเต้น ให้ดูแลเรื่องการหายใจให้โล่ง และรับออกซิเจนให้เพียงพอ ( -ออกซิเจนในเลือด >/= 95%) Circulation: - น้ำให้เพียงพอ : 0.9% NaClเลี้ยงการให้สานน้ำที่มีน้ำตาล ยกเว้นมี ภาวะน้ำตาลต่ำ - ระยะเฉียบพลันไม่ควรลดความดันโลหิตยกเว้น >/= 220/120mmHg - คุมน้ำตาลในเลือดให้น้อยกว่า 180 มากกว่า 50mg/dl การรักษา

  18. หมายถึง เนื้อเยื่อที่มีการขาดเลือด ซึ่งมีความเสี่ยงต่อ การเกิด infarct แต่มีศักยภาพที่จะสามารถแก้ไขให้กลับคืนสภาพเดิมได้ IschemicPenumbra

  19. การรักษาเฉพาะ การให้ยาละลายลิ่มเลือด:ละลายลิ่มเลือดที่อุดตันโดยตรงเพื่อแก้ไขให้เลือดกลับมาไหลเวียนอย่างเพียงพอRecombinant tissue plasminogen activator ( RtPA ) ให้ภายใน4.5 ชม. แรก การให้ยาต้านการแข็งตัวของเลือด:ทำให้เลือดที่สามารถจับตัวเป็นลิ่มได้heparin,low molecular weight heparin , warfarin การให้ยาต้านเกล็ดเลือด : ป้องกันการเกิดซ้ำของหลอดเลือดสมองอุดตัน aspirin การรักษาภาวะสมองบวม:mannitol การรักษาโดยการผ่าตัดในcerebellar infarction ที่สมองบวม และ middle cerebral artery infarction ขนาดใหญ่

  20. การรักษาระยะยาว กายภาพบำบัด การป้องกันไม่ให้เกิดโรคหลอดเลือดสมองตีบซ้ำ cardiogenic emboli :โดยเฉพาะ AF, valvular heart disease หรือมี intracardiac thrombus พิจารณา warfarin carotid stenosis :carotid endarterctomy กรณีอื่นๆ - antiplatelet :ASA, clopidogrel(plavix) - ACEI :enalapril - ยาลดไขมัน:statin คุมปัจจัยเสี่ยงอื่นๆ

More Related