1 / 82

OP/PP Individual 2556 ใช้จัดสรรงบประมาณกองทุนอื่นๆ อย่างไร ?

OP/PP Individual 2556 ใช้จัดสรรงบประมาณกองทุนอื่นๆ อย่างไร ?. สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 12 สงขลา ขนิษฐา สวนแสน (ก้อย) Kanittha.s@nhso.go.th, ksuansan@gmail.com 074-233888 ต่อ 53 68 , 090-1975259. มาตรฐานโครงสร้างแฟ้มข้อมูลปี 2556.

bracha
Download Presentation

OP/PP Individual 2556 ใช้จัดสรรงบประมาณกองทุนอื่นๆ อย่างไร ?

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. OP/PP Individual 2556ใช้จัดสรรงบประมาณกองทุนอื่นๆ อย่างไร? สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติเขต 12 สงขลา ขนิษฐา สวนแสน (ก้อย) Kanittha.s@nhso.go.th, ksuansan@gmail.com 074-233888 ต่อ 5368, 090-1975259

  2. มาตรฐานโครงสร้างแฟ้มข้อมูลปี 2556 • ข้อมูลมาตรฐาน 21 แฟ้ม (เวอร์ชัน 5.0 1 ก.ค. 2555) PERSON SERVICE ANC DEATH DIAG PP ไม่รับ 4แฟ้ม HOME DRUG MCH CARD PROCED EPI APPOINT SURVEIL FP NCDSCREEN WOMAN NUTRI CHRONIC CHRONICFU LABFU **หน่วยบริการ บันทึกข้อมูลผ่านโปรแกรมเวชระเบียนของตัวเอง และส่งข้อมูลออกตามโครงสร้างแฟ้มที่กำหนด

  3. โหลดมาตรฐานโครงสร้าง 21 แฟ้ม ที่ Website : สนย. http://203.157.10.11/web2011/

  4. รูปแบบและเงื่อนไขการรับส่งข้อมูลในภาพรวมรูปแบบและเงื่อนไขการรับส่งข้อมูลในภาพรวม • โครงสร้างมาตรฐานข้อมูล 21 แฟ้ม เวอร์ชันที่ปรับใหม่ สปสช. จะเริ่มใช้วันที่ 1 กรกฎาคม 2555 สนย. 1 ตุลาคม 2555 • การปรับปรุงโครงสร้างแฟ้มข้อมูล • เพิ่ม fieldCIDต่อท้ายลงในทุกแฟ้ม ( ยกเว้นแฟ้มที่มี CID อยู่แล้ว และแฟ้ม HOME) • รับข้อมูลทั้งหมด 21 แฟ้ม(เป็น zip file เดียวกัน) • แฟ้มใดไม่มีข้อมูลไม่ต้องส่ง (ส่งไม่ครบ 21 แฟ้มได้) • แฟ้ม APPOINT, CARD, WOMAN และ HOME จะรับข้อมูลไว้แต่จะไม่จัดเก็บลงฐานข้อมูล

  5. รูปแบบและเงื่อนไขการรับส่งข้อมูลในภาพรวมรูปแบบและเงื่อนไขการรับส่งข้อมูลในภาพรวม • ไม่รับแฟ้มข้อมูลที่มีโครงสร้างไม่ถูกต้อง ซึ่งจะแจ้งเป็นแฟ้มข้อมูลเสียที่หน้าเว็บ ส่วนแฟ้มที่มีโครงสร้างถูกต้อง แต่ข้อมูลไม่ถูกต้องนั้นจะรับไว้ประมวลผล และจะรายงานเป็นข้อมูล error ตาม code ที่กำหนดไว้

  6. รูปแบบและเงื่อนไขการรับส่งข้อมูลทางเทคนิครูปแบบและเงื่อนไขการรับส่งข้อมูลทางเทคนิค • รูปแบบการส่งแฟ้มข้อมูล PERSON.txt DEATH.txt CHRONIC.txt SERVICE.txt DIAG.txt SURVEIL.txt DRUG.txt PROCED.txt FP.txt EPI.txt NUTRI.txt ANC.txt PP.txt MCH.txt NCDSCREEN.txt CHRONICFU.txt LABFU.txt F21_HCODE_YYYYMMDDhhmmss F21_12345_25560101083011 F21_HCODE_YYYYMMDDhhmmss.zip F21_12345_25560101083011.zip

  7. ช่องทางการส่งข้อมูลปี 2556เหมือนปี 2555 สถานีอนามัย/PCU สสจ.สงขลา Provis / Data Center 1 21 แฟ้ม สนย. 21 แฟ้ม โรงพยาบาล Rep 2 21 แฟ้ม Statement สปสช.

  8. ศึกษาแนวทางการดำเนินการข้อมูล OPPP http://op.nhso.go.th/op • แนวทาง OPPP ปี 2556 • มาตรฐาน 21 แฟ้ม • Flow การตรวจสอบ ในแต่ละแฟ้ม • โปรแกรมตรวจสอบข้อมูล • ERROR CODE

  9. Web ส่งข้อมูล Website : OP/PP Individuals http://op.nhso.go.th/op

  10. แฟ้มตรวจสอบความเชื่อมโยงกัน ต้องส่งเป็นชุด • ข้อมูลมาตรฐาน 21 แฟ้ม (เวอร์ชัน 5.0 1 ก.ค. 2555) 1 SERVICE_บริการ 2 DIAG_บริการ 3 DRUG_บริการ 4 PROCED_บริการ 5 6 7 CHRONICFU_บริการ CHRONIC_สำรวจ LABFU_บริการ

  11. สาระสำคัญส่งการข้อมูล 21 แฟ้ม (ชุด) • แฟ้มที่ต้องส่งเป็นชุดมี 2 ชุด คือ 1. ชุด OP ประกอบด้วย แฟ้ม SERVICEและแฟ้ม DIAG แฟ้ม DRUG และแฟ้ม PROCED ถ้าส่งต้องส่งพร้อมกับSERVICE+DIAG 2.ชุด CHRONIC ประกอบด้วย แฟ้ม CHRONIC+ แฟ้ม CHRONICFU+ แฟ้ม LABFU ต้องส่ง แฟ้ม CHRONIC ให้ผ่านก่อน จึงส่งแฟ้มCRONICFU+ แฟ้ม LABFU

  12. การเชื่อมโยงข้อมูลการให้บริการผู้ป่วยนอก (OP) ชุดข้อมูล OP =SERVICE+DIAG (Add on) (Add on) 1.แฟ้ม DRUG และแฟ้ม PROCED Add On ถ้าส่งต้องส่งพร้อมกับ SERVICE+DIAG เชื่อมโยงกัน 4 ฟิลด์

  13. การเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างแฟ้มChronic ,Chronicfu และ Labfu ชุดข้อมูล CHRONIC =CHRONIC+CHRONICFU+LABFU 2. ต้องส่ง แฟ้ม CHRONIC ให้ผ่านก่อน จึงส่งแฟ้มCRONICFU+ แฟ้ม LABFU

  14. ชนิดของแฟ้ม ปี 2556 1.แฟ้มสำรวจ หมายถึง เก็บข้อมูลโดยการสำรวจ • สำรวจข้อมูลการเสียชีวิต นำข้อมูลมาบันทึกในแฟ้ม DEATH • สำรวจข้อมูลการคลอด นำข้อมูลมาบันทึกในแฟ้ม MCH ดูจากบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก • สำรวจข้อมูลรับวัคซีน เช่น นำข้อมูลมาบันทึก แฟ้ม EPI อาจจะไปรับวัคซีนที่คลินิกเอกชน โดยให้บันทึกลงในเวชระเบียนด้วย ว่าข้อมูลจากการสำรวจ 2.แฟ้มบริการ หมายถึง บันทึกข้อมูลทุกครั้งที่มารับบริการ

  15. แฟ้มสำรวจ และแฟ้มบริการปี 2556 1 แฟ้มสำรวจ 10 แฟ้ม และแฟ้มบริการ 7 แฟ้ม PERSON_สำรวจ _ DEATH_สำรวจ 2 NCDSCREEN_สำรวจ 3 1 SERVICE_บริการ CHRONIC_สำรวจ 4 2 DIAG_บริการ ANC_สำรวจ 5 3 DRUG_บริการ 6 PP_สำรวจ PROCED_บริการ 4 7 MCH_สำรวจ SURVEIL_บริการ 5 8 EPI_สำรวจ 6 CHRONICFU_บริการ 9 FP_สำรวจ 7 LABFU_บริการ 10 NUTRI_สำรวจ

  16. การบันทึกแฟ้มสำรวจกรณีสำรวจหรือบันทึกความครอบคลุมการบันทึกแฟ้มสำรวจกรณีสำรวจหรือบันทึกความครอบคลุม • แฟ้ม NCDSCREEN กรณีสำรวจหรือบันทึกความครอบคลุม ต้องไม่มี SEQ ในแฟ้ม SERVICE • แฟ้ม FP: สถานที่รับบริการ FPPLACE บันทึกรหัสสถานบริการตาม สนย. 5 หลัก ห้ามบันทึก 00000 เด็ดขาด • แฟ้ม EPI: สถานที่รับวัคซีน VCCPLACE บันทึกรหัสสถานบริการตาม สนย.5 หลัก ห้ามบันทึก 00000 เด็ดขาด • แฟ้ม ANC: สถานที่ตรวจ APLACE บันทึกรหัสสถานบริการตาม สนย.5 หลัก ห้ามบันทึก 00000 เด็ดขาด ดูรหัสสถานบริการที่ web สนย. http://www.thcc.or.th/

  17. สาระสำคัญส่งการข้อมูล 21 แฟ้ม (แฟ้มที่ส่งครั้งเดียว) ไม่มีแฟ้มใด ที่ทั้งปีส่งครั้งเดียว การส่งแฟ้ม PERSON (แฟ้มสำรวจ) • ส่งครั้งแรกในเดือนสิงหาคม โดยสำรวจประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบ ให้ความสำคัญการบันทึก TYPEAREA( =1,2,3,4,0) • ส่งครั้งต่อไปต้องไม่ซ้ำกับรายเดิม ,ส่งรายใหม่เท่านั้น การส่งแฟ้ม CHRONIC (แฟ้มสำรวจ) • ส่งครั้งแรกในเดือนสิงหาคม โดยให้สำรวจประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบ • ส่งครั้งต่อไปต้องไม่ซ้ำกับรายเดิม ,ส่งรายใหม่เท่านั้น

  18. สาระสำคัญส่งการข้อมูล 21 แฟ้ม(แฟ้มส่งตามเดือนที่กำหนด) การส่งแฟ้ม NUTRI (แฟ้มสำรวจ) • อายุ 0 – 5 ปี DATE_SERV = กรกฎาคม , ตุลาคม , มกราคม และเมษายน • อายุ 6 – 14 ปี DATE_SERV = กรกฎาคม 56และ มกราคม56 • การส่งแฟ้ม SURVEIL(แฟ้มบริการ) โรคที่เฝ้าระวังระบาดวิทยา(506) • ส่งแยกแฟ้ม ในโฟลเดอร์แล้ว ZIP ตั้งชื่อตามมาตรฐาน (ส่งทุกอาทิตย์) • ส่งภายใน 7 วัน ได้ 1 POINT • ส่ง หลังจาก7วัน แต่ก่อน 60 วัน ได้ 0.5 POINT

  19. ANC แนวใหม่ และการบันทึกข้อมูลแฟ้ม ANC Ex..มาครั้งแรกอายุครรภ์ 10w ช่วงที่=1 , นัดครั้งที่ 2 อายุครรภ์ 20w ช่วงที่=1 นัดครั้งที่ 3 อายุครรภ์ 26w ช่วงที่=1 , นัดครั้งที่ 4 อายุครรภ์ 32w ช่วงที่=3 นัดครั้งที่ 5 อายุครรภ์ 32w ช่วงที่=4

  20. โครงสร้าง แฟ้ม ANC version 5.0 ประกาศ 1 ตุลาคม 2555

  21. ANC แนวใหม่ และการบันทึกข้อมูลแฟ้ม ANC Ex..มาครั้งแรกอายุครรภ์ 10w ช่วงที่=1 , นัดครั้งที่ 2 อายุครรภ์ 18w ช่วงที่=2 ,20w ว่าง นัดครั้งที่ 3 อายุครรภ์ 26w ช่วงที่=3 , นัดครั้งที่ 4 อายุครรภ์ 32w ช่วงที่=4 นัดครั้งที่ 5 อายุครรภ์ 32w ช่วงที่=5

  22. การตรวจสอบข้อมูลการให้บริการผู้ป่วยนอก(OP)การตรวจสอบข้อมูลการให้บริการผู้ป่วยนอก(OP) • ข้อมูลครบถ้วน และถูกต้องตามฟิลด์ที่กำหนดในแต่ละแฟ้ม ตาม Flow การตรวจสอบโครงสร้างแฟ้มที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการผู้ป่วยนอก • PCUCODE เป็นรหัสตามมาตรฐานที่ สนย. กำหนด • รหัสคลินิก (CLINIC) ถูกต้องตามมาตรฐานที่กำหนด โดยจะตรวจสอบจากตำแหน่งที่ 2-3

  23. การตรวจสอบข้อมูลการให้บริการผู้ป่วยนอก(OP)การตรวจสอบข้อมูลการให้บริการผู้ป่วยนอก(OP) • มีข้อมูลการวินิจฉัย (Diagnosis) ที่ถูกต้องและเชื่อมโยงกับการให้บริการได้ • ต้องมีการให้รหัสโรคหลัก (Principle Diagnosis, Pdx) อย่างน้อย 1 รหัสที่ถูกต้องตาม ICD10 (WHO 2010) หรือ ICD10 TM หรือรหัสแพทย์แผนไทย • ตรวจสอบความสอดคล้องของการให้รหัสโรค (ตาม Appendix A3-A4 ของ DRG 5.0) • ประเภทการวินิจฉัย (Diagnosis Type) มีค่าตั้งแต่ 1 – 5

  24. รายละเอียดการให้รหัสโรค(ตาม Appendix A3-A4 ของ DRG 5.0)

  25. อายุ 0-365 วัน

  26. หญิงตั้งครรภ์

  27. รายละเอียดการให้รหัสโรค(ตาม Appendix A3-A4 ของ DRG 5.0) ต่อ

  28. Female Dx

  29. การคิดคะแนนการให้บริการผู้ป่วยนอก(OP)การคิดคะแนนการให้บริการผู้ป่วยนอก(OP) • การให้บริการตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2555ถึง วันที่ 30 มิถุนายน 2556 • มีเลขประชาชน 13 หลักในฐานข้อมูลประชากรของ สปสช. • การให้บริการผู้ป่วยนอก 1 คนใน 1 วัน จะได้ 1 คะแนน • การคิดคะแนน จะพิจารณาเฉพาะรหัสการวินิจฉัยที่บ่งชี้ว่าเป็นโรค หรืออาการแสดงว่าเจ็บป่วย หรือรหัสที่ระบุว่าเป็นผู้ป่วยนอกเท่านั้น

  30. การคิดคะแนนการให้บริการผู้ป่วยนอก (OP)เพิ่มเติม (Add on) • หัตถการจากแฟ้ม PROCED หากผ่านตามเงื่อนไข จะได้เพิ่มรายการละ 0.01 คะแนน • เป็นรหัสที่อยู่ใน ICD 9 CM และ ICD 10 TM และเป็นรหัสที่กำหนดให้สามารถให้ได้ • เป็นรหัสที่เป็นการให้หัตถการกับผู้มารับบริการจริง • บันทึกรหัสยามาตรฐาน (24 หลัก) จากแฟ้ม DRUG หากผ่านตามเงื่อนไข จะได้เพิ่มรายการละ 0.05 คะแนน • มีการส่งต่อ (Refer) จากแฟ้ม SERVICE หากมีการบันทึกข้อมูลการส่งต่อครบถ้วน จะคิดเป็น 0.5คะแนน

  31. รหัสมาตรฐาน โหลดที่ http://www.thcc.or.th/

  32. การคิดคะแนนข้อมูลบุคคลแฟ้ม PERSONแฟ้มสำรวจ สะสม • แฟ้มสำรวจสะสมส่งข้อมูลปีละครั้ง (ก่อนตุลาคม 55) • ไม่ส่งซ้ำ • การให้บริการ ส่งเฉพาะรายใหม่ • มีเลขประชาชน 13 หลักในฐานข้อมูลประชากรของ สปสช. • ข้อมูลที่ผ่านการตรวจสอบ 1 รายการ (1 Record) จะได้ 0.10 คะแนน

  33. การตรวจสอบข้อมูลการให้วัคซีนแฟ้ม EPI แฟ้มบริการและสำรวจ • มีข้อมูลครบถ้วน และถูกต้องตามฟิลด์ที่กำหนดตาม Flow การตรวจสอบ • ฟิลด์ PCUCODE เป็นรหัสตามมาตรฐานที่ สนย. กำหนด • การให้วัคซีนคนต่างด้าวที่ไม่มีเลขประชาชน 13 หลัก • ต้องมีการระบุสัญชาติที่ไม่ใช่สัญชาติไทย (ฟิลด์ NATION ในแฟ้ม PERSON) และ • ต้องมีการบันทึกข้อมูลในฟิลด์ CID แฟ้ม SERVICE (แนะนำให้ ใช้ HN หรือ PID มาบันทึกในฟิลด์ CID โดยหาก HN หรือ PID มีไม่ครบ 13 หลัก ให้ใส่เลข 0 ด้านหน้า HN หรือ PID ให้ครบ 13 หลัก)

  34. การตรวจสอบข้อมูลการให้วัคซีนแฟ้ม EPIแฟ้มบริการและสำรวจ • ข้อมูลการให้วัคซีน • ตรวจสอบการให้รหัสวัคซีน (VCCTYPE) ต้องเป็นรหัสวัคซีนตามที่ สนย. กำหนด • ฟิลด์ VCCPLACE รหัสหน่วยบริการ ต้องเป็นรหัสตามที่ สนย. กำหนด • ตรวจสอบความซ้ำซ้อนจากฟิลด์ PCUCODE ,CID และVCCTYPE

  35. รหัสสัญชาติ

  36. รหัสวัคซีน

  37. การคิดคะแนนข้อมูลการให้วัคซีนแฟ้ม EPIแฟ้มบริการและสำรวจ • ข้อมูลการให้บริการตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2555ถึงวันที่ 30 มิถุนายน 2556 • ข้อมูลที่ผ่านการตรวจสอบ 1 รายการ (1 Record) จะได้ 0.25 คะแนน

  38. การตรวจสอบข้อมูลบริการวางแผนครอบครัว แฟ้มFPแฟ้มบริการและสำรวจ • มีข้อมูลครบถ้วน และถูกต้องตามฟิลด์ที่กำหนดตาม Flow การตรวจสอบ • ฟิลด์ PCUCODE เป็นรหัสตามมาตรฐานที่ สนย. กำหนด • กรณีเพศหญิง ต้องมีอายุไม่ต่ำกว่า 9 ปี และไม่เกิน 60 ปี วิธีการคุมกำเนิด FPTYPE) = 1 , 2 , 3 , 4 , 5 , 7 • กรณีเพศชาย วิธีการคุมกำเนิด (FPTYPE) = 5 , 6 • ตรวจสอบความซ้ำซ้อน • กรณีเป็นข้อมูลบริการตรวจสอบจากฟิลด์ PCUCODE ,CID และ DATE_SERV • กรณีเป็นข้อมูลสำรวจ ตรวจสอบจากฟิลด์ PCUCODE และ CID

  39. การคิดคะแนนข้อมูลบริการวางแผนครอบครัว แฟ้ม FPแฟ้มบริการและสำรวจ • ข้อมูลการให้บริการตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2555ถึงวันที่ 30 มิถุนายน 2556 • มีเลขประชาชน 13 หลักในฐานข้อมูลประชากรของ สปสช. • ข้อมูลที่ผ่านการตรวจสอบ 1 รายการ (1 Record) จะได้ 0.10 คะแนน

  40. รหัสวิธีการคุมกำเนิด

  41. การตรวจสอบข้อมูลการบริการฝากครรภ์ แฟ้ม ANC • มีข้อมูลครบถ้วน และถูกต้องตามฟิลด์ที่กำหนดตาม Flow การตรวจสอบ • ฟิลด์ PCUCODE เป็นรหัสตามมาตรฐานที่ สนย. กำหนด • เป็นเพศหญิง อายุไม่ต่ำกว่า 9 ปี และไม่เกิน 60 ปี (ตรวจสอบจากฐานข้อมูล สปสช.) • อายุครรภ์ (GA) ต้องอยู่ระหว่าง 4 – 45 สัปดาห์ มีผล ANCRES • ฟิลด์ APLACE เป็นรหัสตามที่ สนย. กำหนด • ตรวจสอบความซ้ำซ้อน • PCUCODE , CID แม่ และ DATE_SERV

  42. การคิดคะแนนข้อมูลบริการฝากครรภ์แฟ้ม ANC • ข้อมูล DATESERVE ตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2555ถึงวันที่ 30 มิถุนายน 2556 • มีเลขประชาชน 13 หลักในฐานข้อมูลประชากรของ สปสช. • ข้อมูลที่ผ่านการตรวจสอบ 1 รายการ (1 Record) จะได้ 0.10 คะแนน

  43. การตรวจสอบข้อมูลการตั้งครรภ์คลอด ดูแลแม่หลังคลอด แฟ้ม MCH • มีข้อมูลครบถ้วน และถูกต้องตามฟิลด์ที่กำหนดตาม Flow การตรวจสอบ • ฟิลด์ PCUCODE เป็นรหัสตามมาตรฐานที่ สนย. กำหนด • เป็นเพศหญิง อายุไม่ต่ำกว่า 9 ปี และไม่เกิน 60 ปี (ตรวจสอบจากฐานข้อมูล สปสช.) • วันที่ดูแม่ต้องมากกว่าวันคลอด (PPCARE1>BDATE) • มีข้อมูลในฟิลด์วันที่ดูแลแม่ครั้งที่ 1 (PPCARE1)เสมอจึงผ่าน • ในฟิลด์ PPCARE2 และ PPCARE3 จะมีหรือไม่มีก็ได้ • หากมีวันที่ดูแลแม่ต้องมากกว่าครั้งก่อนเสมอ (PPCARE3 > PPCARE2 > PPCARE1)

  44. การตรวจสอบข้อมูลการตั้งครรภ์คลอด ดูแลแม่หลังคลอด แฟ้ม MCH • ตรวจสอบความซ้ำซ้อน • PCUCODE , CID และ GRAVIDA • การตั้งครรภ์ 1 ครั้ง จะส่งข้อมูลที่สมบูรณ์ได้เพียง 1 ครั้ง การคิดคะแนนข้อมูลการตั้งครรภ์คลอด ดูแลแม่หลังคลอด แฟ้ม MCH • เงื่อนไข 1 มีวันที่ดูแลแม่ครั้งที่ 2 • เงื่อนไข 2เป็นข้อมูลการคลอด (DATESERVE) ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2555 – วันที่ 30 มิถุนายน 2556 • มีเลขประชาชน 13 หลัก(มารดา) ในฐานข้อมูลประชากรของ สปสช. • ข้อมูลที่ผ่านการตรวจสอบ 1 รายการ (1 Record) จะได้ 3.0 คะแนน

  45. การคิดคะแนนข้อมูลการตั้งครรภ์คลอด ดูแลแม่หลังคลอด แฟ้ม MCH • เงื่อนไข 1 มีวันที่ดูแลแม่ครั้งที่ 2 • เงื่อนไข 2เป็นข้อมูลการคลอด (DATESERVE) ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2555 – วันที่ 30 มิถุนายน 2556 • มีเลขประชาชน 13 หลัก(มารดา) ในฐานข้อมูลประชากรของ สปสช. • ข้อมูลที่ผ่านการตรวจสอบ 1 รายการ (1 Record) จะได้ 3.0 คะแนน

  46. การแลแม่หลังคลอด อย่างมีคุณภาพต้องเยี่ยมที่บ้าน • เยี่ยมครั้งที่ 1 รพ.สามารถเยี่ยมได้ ที่ตามไปเยี่ยมที่บ้าน หรือนัดมาตรวจที่ รพ. โดยแม่มีเงื่อนไขในการเยี่ยมที่เหมาะสม • รพ. และสอ.สามารถ เยี่ยมได้ทั้งคู่ • ยึดประโยชน์ผู้ใช้บริการเป็นหลัก

  47. การตรวจสอบข้อมูลการคลอด ดูแลเด็กหลังคลอด แฟ้ม PP • มีข้อมูลครบถ้วน และถูกต้องตามฟิลด์ที่กำหนดตาม Flow การตรวจสอบ • ฟิลด์ PCUCODE เป็นรหัสตามมาตรฐานที่ สนย. กำหนด • น้ำหนักแรกเกิดต้องไม่ต่ำกว่า 500 กรัม • วันที่ดูเด็กต้องมากกว่าวันคลอด (BCARE1>BDATE) • มีข้อมูลในฟิลด์วันที่ดูแลแม่เด็กครั้งที่ 1 (BCARE1) • ในฟิลด์ BCARE2 และ BCARE3 จะมีหรือไม่มีก็ได้ • หากมีวันที่ดูแลแม่ต้องมากกว่าครั้งก่อนเสมอ (BCARE3 > BCARE2 > BCARE1)

  48. การตรวจสอบข้อมูลการคลอด ดูแลเด็กหลังคลอด แฟ้ม PP • ตรวจสอบความซ้ำซ้อน • PCUCODE , CID • การดูแลเด็กหลังคลอด 1 คน จะส่งข้อมูลที่สมบูรณ์ได้เพียง 1 ครั้ง

  49. การคิดคะแนนข้อมูลการคลอด ดูแลเด็กหลังคลอด แฟ้ม PP • เงื่อนไข 1 มีวันที่ดูแลเด็กครั้งที่ 2 และ • เงื่อนไข 2 เป็นข้อมูลวันการคลอด (BDATE) ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2555 – วันที่ 30 มิถุนายน 2556 ดูวันการคลอดเป็นเกณฑ์ • มีเลขประชาชน 13 หลัก(เด็ก)ในฐานข้อมูลประชากรของ สปสช. • ข้อมูลที่ผ่านการตรวจสอบ 1 รายการ (1 Record) จะได้ 3.0 คะแนน

  50. อย่าทิ้งข้อมูล การเยี่ยมแม่&ลูกให้ส่งให้หมด ถึงแม้ไม่ผ่านเงื่อนไข 2 ไม่ได้เงิน OPPP แต่จะได้เงิน P&P

More Related