250 likes | 636 Views
การจัดทำข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง (Blueprint for Change). การประชุมเชิงปฏิบัติการครั้งที่ 2 มิถุนายน 2548. ตัวอย่างการกรอกข้อมูลตามแบบฟอร์ม. แบบฟอร์มที่ 5: แบบฟอร์มเพื่อวิเคราะห์สิ่งที่จังหวัด / ส่วนราชการจะต้องมุ่งเน้น ประเด็นยุทธศาสตร์ : การพัฒนาศักยภาพการแข่งขันทางเศรษฐกิจ
E N D
การจัดทำข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง (Blueprint for Change) การประชุมเชิงปฏิบัติการครั้งที่ 2มิถุนายน 2548
ตัวอย่างการกรอกข้อมูลตามแบบฟอร์มตัวอย่างการกรอกข้อมูลตามแบบฟอร์ม
แบบฟอร์มที่ 5:แบบฟอร์มเพื่อวิเคราะห์สิ่งที่จังหวัด/ส่วนราชการจะต้องมุ่งเน้น ประเด็นยุทธศาสตร์: การพัฒนาศักยภาพการแข่งขันทางเศรษฐกิจ กลยุทธ์: สร้างศักยภาพการแข่งขันภาคการเกษตร เพิ่มคุณภาพผลผลิตพืช กระบวนงานที่คัดเลือกมาปรับปรุง (จากแบบฟอร์ม 4.2) แปรรูปผลผลิตการเกษตรเพื่อเพิ่มมูลค่า พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานการผลิต (ปัจจัยด้านน้ำ) ส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรและอาหารให้ได้มาตรฐานความปลอดภัย (Food Safety) กระบวนงานที่ต้องจัดทำเพิ่มเติม(จากแบบฟอร์ม 1.1 ชุดที่ 2)
แบบฟอร์มที่ 5:แบบฟอร์มเพื่อวิเคราะห์สิ่งที่จังหวัด/ส่วนราชการจะต้องมุ่งเน้น ประเด็นยุทธศาสตร์: การพัฒนาศักยภาพการแข่งขันทางเศรษฐกิจ กลยุทธ์: สร้างศักยภาพการแข่งขันภาคการเกษตร เพิ่มคุณภาพผลผลิตพืช กระบวนงานที่คัดเลือกมาปรับปรุง (จากแบบฟอร์ม 4.2) แปรรูปผลผลิตการเกษตรเพื่อเพิ่มมูลค่า พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานการผลิต (ปัจจัยด้านน้ำ) ส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรและอาหารให้ได้มาตรฐานความปลอดภัย (Food Safety) กระบวนงานที่ต้องจัดทำเพิ่มเติม(จากแบบฟอร์ม 1.1 ชุดที่ 2)
แบบฟอร์มที่ 5:แบบฟอร์มเพื่อวิเคราะห์สิ่งที่จังหวัด/ส่วนราชการจะต้องมุ่งเน้น ประเด็นยุทธศาสตร์: การพัฒนาศักยภาพการแข่งขันทางเศรษฐกิจ กลยุทธ์: สร้างศักยภาพการแข่งขันภาคการเกษตร เพื่อเพิ่มคุณภาพผลผลิตทางการเกษตรให้มีความปลอดภัยได้มาตรฐาน GAP • พันธุ์พืชที่แข็งแรงมีภูมิต้านทานโรคดีและเหมาะสมกับสภาพแวดล้อม • เกษตรกรมีคุณภาพมีความสามารถในการเพาะปลูกและเข้าใจในมาตรฐาน GAP • เทคโนโลยีทางการเกษตรที่ดีและมีประสิทธิภาพ • ความสำเร็จในการส่งเสริมเกษตรอินทรีย์ • คุณภาพของดินและปริมาณน้ำที่เพียงพอ - การวิจัยและพัฒนาพันธุ์พืชและการพัฒนาเทคโนโลยีทางการเกษตร - การพัฒนาบุคลากรภาครัฐให้มีความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีทางการเกษตร (เช่นเทคนิคการเพาะปลูกมาตรฐาน GAP การปรับปรุงดินเกษตรอินทรีย์และเทคนิคการจัดการน้ำเป็นต้น) - การเผยแพร่ความรู้แก่เกษตรกร (เช่นเทคนิคการเพาะปลูกมาตรฐาน GAP การปรับปรุงดินเกษตรอินทรีย์และเทคนิคการจัดการน้ำเป็นต้น) - การจัดการน้ำที่มีประสิทธิภาพ 1. เกษตรกร กระบวนงานที่คัดเลือกมาปรับปรุง (จากแบบฟอร์ม 4.2)
แบบฟอร์มที่ 6:แบบฟอร์มเพื่อวิเคราะห์ช่องว่าง (Gap Analysis) และระบุสิ่งที่ต้องดำเนินการ/ต้องเปลี่ยนแปลง 1........... 1........... 2........... 1........... 2........... 1........... 1........... 1........... 1........... 2........... 3........... 1........... 2........... 1........... 2........... 1........... ตัวอย่าง • การวิจัยและพัฒนาพันธุ์พืชและเทคโนโลยีทางการเกษตร • การพัฒนาบุคลากรภาครัฐให้มีความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีทางการเกษตร (เช่นเทคนิคการเพาะปลูกมาตรฐาน GAP การปรับปรุงดินเกษตรอินทรีย์และเทคนิคการจัดการน้ำเป็นต้น) • การฝึกอบรมและถ่ายทอดความรู้แก่เกษตรกร (เช่นเทคนิคการเพาะปลูกมาตรฐาน GAP การปรับปรุงดินเกษตรอินทรีย์และเทคนิคการจัดการน้ำเป็นต้น) • การตรวจและออกใบรับรองแหล่งเพาะปลูกที่ได้มาตรฐาน • การบริหารจัดการแหล่งน้ำ การประชาสัมพันธ์โครงการและการรับจดทะเบียนฟาร์ม การฝึกอบรมกระบวนการผลิตพืชตามหลักเกษตรดีที่เหมาะสม (ผู้ตรวจรับรองแปลง) ฝึกอบรมที่ปรึกษาเกษตรกร (GAP อาสา) ฝึกอบรมและให้คำแนะนำแก่ฟาร์มสมาชิก การตรวจรับรองแหล่งผลิตพืช (หน่วยต่อแปลง) การออกเอกสารรับรอง • มีระบบในการจัดเก็บข้อมูลเกี่ยวกับ: • - ผลการวิจัยและพัฒนา • - แหล่งและปริมาณน้ำความต้องการและประสิทธิภาพในการใช้น้ำ • - ผลผลิตแยกตามชนิดและแหล่งเพาะปลูก • - แหล่งเพาะปลูกที่ได้มาตรฐานGAP และรายละเอียดข้อมูลการออกใบรับรองเป็นต้น • พัฒนาบุคลากรที่มีหน้าที่โดยตรงให้มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับ: • การวิจัยและพัฒนาพันธุ์พืช • เทคโนโลยีทางการเกษตรเป็นต้น T H กระบวนงานที่คัดเลือกมาปรับปรุง (จากแบบฟอร์ม 4.2) หมายเหตุ: * ระบุด้านด้านขั้นตอน / วิธีปฏิบัติงาน (P) ด้านการจัดแบ่งงานและบทบาทหน้าที่ (S) ด้านเทคโนโลยี (T) ด้านบุคลากร (H)
แบบฟอร์มที่ 5:แบบฟอร์มเพื่อวิเคราะห์สิ่งที่จังหวัด/ส่วนราชการจะต้องมุ่งเน้น ประเด็นยุทธศาสตร์: การพัฒนาศักยภาพการแข่งขันทางเศรษฐกิจ กลยุทธ์: สร้างศักยภาพการแข่งขันภาคการเกษตร เพิ่มคุณภาพผลผลิตพืช กระบวนงานที่คัดเลือกมาปรับปรุง (จากแบบฟอร์ม 4.2) แปรรูปผลผลิตการเกษตรเพื่อเพิ่มมูลค่า พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานการผลิต (ปัจจัยด้านน้ำ) ส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรและอาหารให้ได้มาตรฐานความปลอดภัย (Food Safety) กระบวนงานที่ต้องจัดทำเพิ่มเติม(จากแบบฟอร์ม 1.1 ชุดที่ 2)
แบบฟอร์มที่ 5:แบบฟอร์มเพื่อวิเคราะห์สิ่งที่จังหวัด/ส่วนราชการจะต้องมุ่งเน้น ประเด็นยุทธศาสตร์: การพัฒนาศักยภาพการแข่งขันทางเศรษฐกิจ กลยุทธ์: สร้างศักยภาพการแข่งขันภาคการเกษตร เพื่อส่งเสริมให้เกษตรกร/ ประชาชนในชุมชนมีรายได้และคุณภาพชีวิตที่ดีมีรายได้เพิ่มขึ้น • ความเข้าใจเกี่ยวกับความต้องการของตลาด • ผลผลิตทางการเกษตรที่มีคุณภาพดีและมีปริมาณที่เหมาะสมเพื่อเป็นวัตถุดิบในการแปรรูป • ผู้ประกอบการที่มีความสามารถความพร้อมและเทคโนโลยีการแปรรูปที่มีประสิทธิภาพ - การสำรวจความต้องการของตลาดและสภาพการแข่งขัน - การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ให้ตรงกับความต้องการของตลาด - การส่งเสริมการเพาะปลูกพืชที่มีศักยภาพต่อการแปรรูปในปริมาณที่เหมาะสมและมีคุณภาพได้มาตรฐาน - การเสริมสร้างความร่วมมือกับภาคเอกชนในการพัฒนาเทคโนโลยีการแปรรูปและบรรจุภัณฑ์ตลอดจนการถ่ายทอดเทคโนโลยี - การพัฒนาบุคลากรภาครัฐให้มีความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีการแปรรูปเพื่อถ่ายทอดฯให้แก่ผู้ประกอบการ - การถ่ายทอดเทคโนโลยีการแปรรูปแก่ผู้ประกอบการ 1.เกษตรกร 2.ผู้ผลิตชุมชน (OTOP) กระบวนงานที่คัดเลือกมาปรับปรุง (จากแบบฟอร์ม 4.2)
แบบฟอร์มที่ 6:แบบฟอร์มเพื่อวิเคราะห์ช่องว่าง (Gap Analysis) และระบุสิ่งที่ต้องดำเนินการ/ต้องเปลี่ยนแปลง 1........... 1........... 1........... 2........... 1........... 1........... 1........... 1........... 1........... 2........... 1........... 2........... 1........... 2........... 1........... 2........... 1........... ตัวอย่าง สร้างกลุ่มใหม่ พัฒนากลุ่มเดิม สนับสนุนเทคโนโลยีและปัจจัยการผลิต กลุ่มดำเนินการผลิต พัฒนาผลิตภัณฑ์ พัฒนาบรรจุภัณฑ์ ประสานงานขอใบรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์ ส่งเสริมด้านการตลาด • การสำรวจความต้องการของตลาดและสภาพการแข่งขัน • การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่เทคโนโลยีการแปรรูปและการออกแบบบรรจุภัณฑ์ • การส่งเสริมการเพาะปลูกพืชที่มีศักยภาพต่อการแปรรูปในปริมาณที่เหมาะสมและมีคุณภาพที่ได้มาตรฐาน • การประสานความร่วมมือจากภาคเอกชนในการพัฒนาเทคโนโลยีการแปรรูปออกแบบบรรจุภัณฑ์และการถ่ายทอดเทคโนโลยีการแปรรูป • การถ่ายทอดเทคโนโลยีการแปรรูปแก่เกษตรกร/ ผู้ผลิตชุมชน (OTOP)/ ผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดย่อม (SME) • การส่งเสริมและช่วยประสานงานแก่ผู้ประกอบการในการออกใบรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์ มีระบบในการจัดเก็บข้อมูลเกี่ยวกับ: - ผลการสำรวจความต้องการของตลาดและสถิติรายได้ของจังหวัดในการจำหน่ายสินค้าแปรรูปแต่ละชนิด - ชนิดของพืชและแหล่งเพาะปลูกที่เหมาะสมและศักยภาพในการผลิต (ทั้งด้านปริมาณและคุณภาพ) เป็นต้น พัฒนาองค์ความรู้เกี่ยวกับการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรเพื่อเป็นแหล่งในการถ่ายทอดวิทยาการและเทคโนโลยีแก่ผู้สนใจ จัดตั้งศูนย์แลกเปลี่ยนวิทยาการและเทคโนโลยีการแปรรูประหว่างภาครัฐและภาคเอกชน พัฒนาบุคลากรที่มีหน้าที่โดยตรงให้มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับ: - เทคโนโลยีการแปรรูปและบรรจุภัณฑ์เป็นต้น T P P H กระบวนงานที่คัดเลือกมาปรับปรุง (จากแบบฟอร์ม 4.2) หมายเหตุ: * ระบุด้านด้านขั้นตอน / วิธีปฏิบัติงาน (P) ด้านการจัดแบ่งงานและบทบาทหน้าที่ (S) ด้านเทคโนโลยี (T) ด้านบุคลากร (H)
แบบฟอร์มที่ 5:แบบฟอร์มเพื่อวิเคราะห์สิ่งที่จังหวัด/ส่วนราชการจะต้องมุ่งเน้น ประเด็นยุทธศาสตร์: การพัฒนาศักยภาพการแข่งขันทางเศรษฐกิจ กลยุทธ์: สร้างศักยภาพการแข่งขันภาคการเกษตร เพิ่มคุณภาพผลผลิตพืช กระบวนงานที่คัดเลือกมาปรับปรุง (จากแบบฟอร์ม 4.2) แปรรูปผลผลิตการเกษตรเพื่อเพิ่มมูลค่า พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานการผลิต (ปัจจัยด้านน้ำ) ส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรและอาหารให้ได้มาตรฐานความปลอดภัย (Food Safety) กระบวนงานที่ต้องจัดทำเพิ่มเติม(จากแบบฟอร์ม 1.1 ชุดที่ 2)
แบบฟอร์มที่ 5:แบบฟอร์มเพื่อวิเคราะห์สิ่งที่จังหวัด/ส่วนราชการจะต้องมุ่งเน้น ประเด็นยุทธศาสตร์: การพัฒนาศักยภาพการแข่งขันทางเศรษฐกิจ กลยุทธ์: สร้างศักยภาพการแข่งขันภาคการเกษตร เพื่อให้เกษตรกรมีปริมาณน้ำที่เพียงพอต่อการเพาะปลูก • มีข้อมูลที่จำเป็นต่อการจัดการน้ำที่ดีเกี่ยวกับ • แหล่งและปริมาณน้ำ • ประเภทเกษตรกรรมและความต้องการใช้น้ำเป็นต้น • ความสามารถในการกักเก็บและการจัดการน้ำที่มีประสิทธิภาพ - การสำรวจเพื่อจัดเก็บข้อมูลความต้องการใช้น้ำแหล่งน้ำและปริมาณน้ำที่สามารถจัดเก็บ - การปรับปรุงและจัดสร้างแหล่งกักเก็บน้ำสำหรับชุมชนให้สามารถกักเก็บน้ำได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น - การให้ความรู้และสร้างความเข้าใจแก่เกษตรกรในการหันมาเพาะปลูกพืชทางเลือกที่เหมาะสมกับปริมาณและคุณภาพของน้ำ 1.เกษตรกร กระบวนงานที่คัดเลือกมาปรับปรุง (จากแบบฟอร์ม 4.2)
แบบฟอร์มที่ 6:แบบฟอร์มเพื่อวิเคราะห์ช่องว่าง (Gap Analysis) และระบุสิ่งที่ต้องดำเนินการ/ต้องเปลี่ยนแปลง 1........... 1........... 1........... 2........... 1........... 1........... 1........... 2........... 1........... 2........... 1........... 2........... ตัวอย่าง รับคำขอรับการสนับสนุนด้านแหล่งน้ำ พิจารณาโครงการ / ศึกษารายละเอียด สำรวจและออกแบบแหล่งน้ำ จัดทำแผนงานโครงการและคำของบประมาณ จัดเวทีประชาคมในแต่ละอำเภอและจัดลำดับความสำคัญของแหล่งน้ำ ดำเนินการก่อสร้างปรับปรุงแหล่งน้ำ ส่งมอบให้อปท. ดูแล • การสำรวจเพื่อเก็บข้อมูลความต้องการใช้น้ำแหล่งและปริมาณน้ำที่สามารถกักเก็บ • การศึกษาและกำหนดแนวทางในการพัฒนาและจัดสร้างแหล่งกักเก็บน้ำให้สอดคล้องกับความต้องการ • การประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างความเข้าใจแก่เกษตรกรและชุมชนเกี่ยวกับแผนการบริหารและจัดการน้ำ • การปรับปรุงและจัดสร้างแหล่งกักเก็บน้ำ มีระบบในการจัดเก็บข้อมูลเกี่ยวกับ: - แหล่งน้ำและปริมาณน้ำในจังหวัด (ทั้งด้านปริมาณและคุณภาพ) - ผลการสำรวจความต้องการของการใช้น้ำในจังหวัด เป็นต้น T กระบวนงานที่คัดเลือกมาปรับปรุง (จากแบบฟอร์ม 4.2) หมายเหตุ: * ระบุด้านด้านขั้นตอน / วิธีปฏิบัติงาน (P) ด้านการจัดแบ่งงานและบทบาทหน้าที่ (S) ด้านเทคโนโลยี (T) ด้านบุคลากร (H)
แบบฟอร์มที่ 5:แบบฟอร์มเพื่อวิเคราะห์สิ่งที่จังหวัด/ส่วนราชการจะต้องมุ่งเน้น ประเด็นยุทธศาสตร์: การพัฒนาศักยภาพการแข่งขันทางเศรษฐกิจ กลยุทธ์: สร้างศักยภาพการแข่งขันภาคการเกษตร เพิ่มคุณภาพผลผลิตพืช กระบวนงานที่คัดเลือกมาปรับปรุง (จากแบบฟอร์ม 4.2) แปรรูปผลผลิตการเกษตรเพื่อเพิ่มมูลค่า พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานการผลิต (ปัจจัยด้านน้ำ) ส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรและอาหารให้ได้มาตรฐานความปลอดภัย (Food Safety) กระบวนงานที่ต้องจัดทำเพิ่มเติม(จากแบบฟอร์ม 1.1 ชุดที่ 2)
แบบฟอร์มที่ 5:แบบฟอร์มเพื่อวิเคราะห์สิ่งที่จังหวัด/ส่วนราชการจะต้องมุ่งเน้น ประเด็นยุทธศาสตร์: การพัฒนาศักยภาพการแข่งขันทางเศรษฐกิจ กลยุทธ์: สร้างศักยภาพการแข่งขันภาคการเกษตร เพื่อให้ผู้ประกอบการอาหารผลิตสินค้าที่ปลอดภัยได้มาตรฐานสามารถแข่งขันได้ประชาชนบริโภคอาหารที่ปลอดภัยมีคุณภาพ • ผู้ผลิตมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักเกณฑ์และความสำคัญของมาตรฐานการผลิตสินค้าและมีเทคโนโลยีการผลิตที่มีประสิทธิภาพ • กระบวนการตรวจสอบและออกใบรับรองมาตรฐานที่มีประสิทธิภาพ • วัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตที่มีคุณภาพและมีปริมาณที่เพียงพอ - การประชาสัมพันธ์เพื่อเผยแพร่ความรู้แก่ผู้ผลิตให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักเกณฑ์ความสำคัญของมาตรฐานความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์ตลอดจนเกณฑ์การออกใบรับรองมาตรฐาน - การฝึกอบรมและถ่ายทอดความรู้แก่ผู้ผลิตเกี่ยวกับวิธีการคัดสรรวัตถุดิบและวิธีการผลิตที่ได้มาตรฐานความปลอดภัยและการจัดสร้าง Knowledge Management เกี่ยวกับความรู้และวิทยาการการผลิต - การปรับปรุงหลักเกณฑ์และขั้นตอนการตรวจสอบเพื่อออกใบรับรองมาตรฐานให้เป็นไปตามมาตรฐานสากล 1. ผู้ผลิตอาหาร 2. ผู้บริโภค กระบวนงานที่ต้องจัดทำเพิ่มเติม(จากแบบฟอร์ม 1.1 ชุดที่ 2)
แบบฟอร์มที่ 6:แบบฟอร์มเพื่อวิเคราะห์ช่องว่าง (Gap Analysis) และระบุสิ่งที่ต้องดำเนินการ/ต้องเปลี่ยนแปลง 1........... 1........... 1........... 2........... 1........... 1........... 1........... 2........... 1........... 2........... 1........... 2........... ตัวอย่าง • การประชาสัมพันธ์เพื่อเผยแพร่ความรู้แก่ผู้ผลิตและผู้บริโภคเกี่ยวกับความสำคัญของมาตรฐานสินค้าตลอดจนหลักเกณฑ์การออกใบรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์ • การถ่ายทอดความรู้แก่ผู้ผลิต/ผู้ประกอบการเกี่ยวกับวิธีการคัดสรรวัตถุดิบและวิธีการผลิตให้เป็นไปตามมาตรฐานความปลอดภัย (Food Safety) • การตรวจสอบและออกใบรับรองมาตรฐานความปลอดภัยให้แก่ผู้ผลิต/ผู้ประกอบการ • การประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อพัฒนาช่องทางจัดจำหน่ายและตลาดรองรับ มีระบบในการจัดเก็บข้อมูลเกี่ยวกับ: - หลักเกณฑ์และมาตรฐานในการรับรองมาตรฐานความปลอดภัย (Food Safety) - เกษตรกรและผู้ประกอบการที่อยู่ในข่ายส่งเสริมและสนับสนุนให้ได้รับการรับรองมาตรฐานเป็นต้น พัฒนาองค์ความรู้เกี่ยวกับหลักเกณฑ์และกระบวนพัฒนาเพื่อให้ได้รับการรับรองมาตรฐานความปลอดภัย (Food Safety) เพื่อถ่ายทอดวิธีการวิทยาการและเทคโนโลยีแก่ผู้สนใจ จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์รณรงค์ด้านอาหารปลอดภัย H P P กระบวนงานที่ต้องจัดทำเพิ่มเติม(จากแบบฟอร์ม 1.1 ชุดที่ 2) หมายเหตุ: * ระบุด้านด้านขั้นตอน / วิธีปฏิบัติงาน (P) ด้านการจัดแบ่งงานและบทบาทหน้าที่ (S) ด้านเทคโนโลยี (T) ด้านบุคลากร (H)
ทีมงานสนับสนุน • การวิเคราะห์กระบวนงานปัจจุบัน โทรศัพท์0-2676-5850โทรสาร 0-2676-5855 Email: template_th@deloitte.com • การจัดเก็บข้อมูลด้านศักยภาพบุคลากรติดต่อสายด่วน1785โทรสาร 0-2281-8169หรือ Email:werachai.wongpoo@accenture.com