1.74k likes | 1.9k Views
การชี้แจงกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553. 1. 2. 3. 4. ประเด็นการนำเสนอ. ที่มาของการประเมินผลการปฏิบัติราชการ. ขั้นตอนการประเมินผลการปฏิบัติราชการ. กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ.
E N D
การชี้แจงกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของจังหวัดประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553
1 2 3 4 ประเด็นการนำเสนอ ที่มาของการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ขั้นตอนการประเมินผลการปฏิบัติราชการ กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ รายละเอียดตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
1 ที่มาของการประเมินผลการปฏิบัติราชการ
1 2 3 1) มาตรา 3/1 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2545 ที่มาของการประเมินผลการปฏิบัติราชการ การประเมินผลการปฏิบัติราชการ 2) แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ.2551- พ.ศ. 2555) 3) พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546
การรับฟังความคิดเห็นจากจังหวัดการรับฟังความคิดเห็นจากจังหวัด มติจาก ก.พ.ร. ที่มาของการประเมินผลการปฏิบัติราชการ กรอบการประเมินผล
มิติด้านการพัฒนาองค์การมิติด้านการพัฒนาองค์การ ความสัมพันธ์เชื่อมโยงระหว่างการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีและตัวชี้วัดในคำรับรองฯ คำรับรองการปฏิบัติราชการของจังหวัด มิติด้านประสิทธิผล 50% ประโยชน์สุข ของประชาชน การพัฒนาสังคม คุณภาพชีวิต ความปลอดภัย ความมั่นคงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการกลุ่มจังหวัด และจังหวัด ระดับความสำเร็จในการขับเคลื่อนนโยบายสำคัญเร่งด่วนของรัฐบาล ความโปร่งใส ภายนอก มิติด้านคุณภาพการให้บริการ 20% อำนวยความสะดวก และตอบสนองความ ต้องการของประชาชน ป้องกันการทุจริตประพฤติมิชอบ ความพึงพอใจ การป้องกันการทุจริต มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ 10% ปรับปรุงระบบ การทำงาน ให้ทันสมัยและ มีประสิทธิภาพ ภายใน การรักษามาตรฐานระยะเวลาการให้บริการ การบริหาร งบประมาณ การควบคุมภายในและ การตรวจสอบภายใน เสริมสร้างขีดสมรรถนะ (เก่ง) และจริยธรรม (ดี) ของข้าราชการ 20% การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (การบริหารความเสี่ยง,การถ่ายทอดเป้าหมาย, การจัดการความรู้ ,การพัฒนาระบบสารสนเทศ,การพัฒนาระบบบริหารงานบุคคล (RM,Individual Scorecard, KM,IT, HR Scorecard, etc.) 9 Strategy Map / Balanced Scorecard
2 ขั้นตอนการประเมินผลการปฏิบัติราชการ
1) ขั้นตอนการเจราจาข้อตกลงตัวชี้วัด ในมิติที่ 1 ของจังหวัด ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 สำนักงาน ก.พ.ร. และที่ปรึกษา รวบรวมและจัดทำรายการตัวชี้วัด และเกณฑ์การให้คะแนนตัวชี้วัดระดับความสำเร็จในการบรรลุ เป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการกลุ่มจังหวัดและจังหวัดในมิติที่ 1 เสนอ อ.ก.พ.ร. พิจารณาให้ความเห็นชอบ จังหวัดเสนอตัวชี้วัดมายัง สำนักงาน ก.พ.ร. ภายในวันที่ 21 สิงหาคม 2552 สำนักงาน ก.พ.ร. และที่ปรึกษาวิเคราะห์ความเหมาะสมของตัวชี้วัดและเกณฑ์ฯ ที่จังหวัดเสนอมา ตัวชี้วัดใดไม่เป็นไปตามรายการตัวชี้วัด ที่ อ.ก.พ.ร. ให้ความเห็นชอบ ตัวชี้วัดทุกตัวที่จังหวัดเสนอ เป็นไปตามรายการตัวชี้วัด ที่ อ.ก.พ.ร. ให้ความเห็นชอบ เจรจากับคณะกรรมการเจรจาฯ (เวทีเจรจา /วีดีทัศน์ทางไกล) สรุปผล แจ้งคณะกรรมการเจรจาฯ และจังหวัด สรุปผล และแจ้งจังหวัด จัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ
การประเมินผล จังหวัดจัดส่งรายละเอียดตัวชี้วัด ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ให้สำนักงาน ก.พ.ร จังหวัดจัดส่งรายงานการประเมินผลตนเอง (SAR) รอบ 12 เดือน ให้สำนักงาน ก.พ.ร. สำนักงาน ก.พ.ร. และที่ปรึกษาติดตามประเมินผล การปฏิบัติราชการ ณ จังหวัด (Site visit : Post-Evaluation) จังหวัดจัดส่งรายงานการประเมินผลตนเอง (SAR) รอบ 6 เดือน ให้สำนักงาน ก.พ.ร. ที่ปรึกษาวิเคราะห์ผล/นำเสนอคณะกรรมการ เจรจาข้อตกลงและประเมินผล สำนักงาน ก.พ.ร./ที่ปรึกษา วิเคราะห์ผลการดำเนินงาน สำนักงาน ก.พ.ร. นำเสนอคณะรัฐมนตรี สำนักงาน ก.พ.ร. และที่ปรึกษาติดตามความก้าวหน้า การปฏิบัติราชการ (Site visit : Pre-Evaluation) คณะรัฐมนตรีพิจารณาอนุมัติ จังหวัดกรอก e-SAR Card รอบ 9 เดือน เข้าระบบในเว็บไซต์ของสำนักงาน ก.พ.ร. 2) ขั้นตอนการประเมินผลการปฏิบัติราชการ การติดตามผล นำผลการประเมินไปเชื่อมโยงกับแรงจูงใจ
2) ขั้นตอนการประเมินผลการปฏิบัติราชการ จังหวัดยืนยันเอกสาร ประกอบคำรับรอง ภายใน 15 วัน หลังจากเจรจาความเหมาะสมฯ
2) ขั้นตอนการประเมินผลการปฏิบัติราชการ
2) ขั้นตอนการประเมินผลการปฏิบัติราชการ
2) ขั้นตอนการประเมินผลการปฏิบัติราชการ
3 กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ
กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ มิติที่ 4 • มิติด้านประสิทธิผล • ผลสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการ • การขับเคลื่อนนโยบายสำคัญเร่งด่วนของรัฐบาล • การพัฒนาสังคม คุณภาพชีวิต ความปลอดภัย ความมั่นคง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มิติที่ 1 • มิติด้านคุณภาพการให้บริการ • ความพึงพอใจ • การป้องกันการทุจริต มิติที่ 2 • มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ • การรักษามาตรฐานระยะเวลาการให้บริการ • การบริหารงบประมาณ • การควบคุมภายในและการตรวจสอบภายใน มิติที่ 3 • มิติด้านการพัฒนาองค์การ • การบริหารจัดการองค์การ
มิติที่ 4ร้อยละ 20 กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ด้านคุณภาพการให้บริการ ด้านประสิทธิภาพฯ มิติที่ 2 ร้อยละ 20 มิติที่ 3ร้อยละ 10 ด้านประสิทธิผล มิติที่ 1ร้อยละ 50 ด้านการพัฒนาองค์การ
3) กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ
3) กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ
3) กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ
3) กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ
กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ประเด็นความแตกต่างของกรอบการประเมินผล
กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ประเด็นความแตกต่างของกรอบการประเมินผล
กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ประเด็นความแตกต่างของกรอบการประเมินผล
กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ประเด็นความแตกต่างของกรอบการประเมินผล
กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ประเด็นความแตกต่างของกรอบการประเมินผล
กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ประเด็นความแตกต่างของกรอบการประเมินผล
4 รายละเอียดตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ มิติที่ 4 • มิติด้านประสิทธิผล • ผลสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการ • การขับเคลื่อนนโยบายสำคัญเร่งด่วนของรัฐบาล • การพัฒนาสังคม คุณภาพชีวิต ความปลอดภัย ความมั่นคง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มิติที่ 1 • มิติด้านคุณภาพการให้บริการ • ความพึงพอใจ • การป้องกันการทุจริต มิติที่ 2 • มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ • การรักษามาตรฐานระยะเวลาการให้บริการ • การบริหารงบประมาณ • การควบคุมภายในและการตรวจสอบภายใน มิติที่ 3 • มิติด้านการพัฒนาองค์การ • การบริหารจัดการองค์การ
มิติด้านประสิทธิผล ตัวชี้วัดที่ 1 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการกลุ่มจังหวัดและจังหวัด (น้ำหนักร้อยละ 20) กำหนดน้ำหนักของตัวชี้วัดกลุ่มจังหวัดรวมกันไม่น้อยกว่าร้อยละ 8 ประเด็นการประเมินผล: ผลสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 2(น้ำหนักร้อยละ 10) ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการของกลุ่มภารกิจ
มิติด้านประสิทธิผล รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 1 รายการตัวชี้วัดและเกณฑ์การให้คะแนนตัวชี้วัด
มิติด้านประสิทธิผล รายการตัวชี้วัดสำหรับจังหวัด
มิติด้านประสิทธิผล รายการตัวชี้วัดสำหรับจังหวัด
มิติด้านประสิทธิผล รายการตัวชี้วัดสำหรับจังหวัด
มิติด้านประสิทธิผล ตัวชี้วัดที่ 1.x (น้ำหนักขึ้นอยู่กับการเจรจา) “ระดับความสำเร็จการของแก้ไขปัญหาสังคมและพัฒนาคุณภาพชีวิต”
มิติด้านประสิทธิผล รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 1.x (น้ำหนักขึ้นอยู่กับการเจรจา) “ระดับความสำเร็จการของแก้ไขปัญหาสังคมและพัฒนาคุณภาพชีวิต” คำอธิบาย: พิจารณาจากระดับความสำเร็จของการแก้ไขปัญหาสังคมและพัฒนาคุณภาพชีวิตตามแผนปฏิบัติการการแก้ไขปัญหาสังคมของจังหวัด โดยแผนปฏิบัติการการแก้ไขปัญหาสังคมของจังหวัดต้องสอดคล้องกับสถานการณ์ทางสังคมระดับจังหวัด
มิติด้านประสิทธิผล รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 1.x (น้ำหนักขึ้นอยู่กับการเจรจา) “ระดับความสำเร็จการของแก้ไขปัญหาสังคมและพัฒนาคุณภาพชีวิต” • รวบรวมและบันทึกข้อมูลสถานการณ์ทางสังคมของท้องถิ่นปีงบประมาณพ.ศ.2552 ตามแนวทางและหลักเกณฑ์ของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ได้อย่างน้อยร้อยละ 80 ของจำนวนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.)วัตถุประสงค์ของการปฏิบัติงาน • วิเคราะห์และจัดทำรายงานสถานการณ์ทางสังคมระดับจังหวัด ตามแนวทางที่กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงขอมนุษย์กำหนด โดยใช้ข้อมูลสถานการณ์ทางสังคมที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ • ข้อมูลสถานการณ์ปัญหาสังคมของจังหวัด ปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 • ผลการดำเนินงานแก้ไขปัญหาสังคมของจังหวัดในปีที่ผ่านมา • ข้อมูลเชิงประเด็นที่เป็นปัญหาสำคัญและเร่งด่วนในระดับจังหวัด ระดับ 1
มิติด้านประสิทธิผล รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 1.x (น้ำหนักขึ้นอยู่กับการเจรจา) “ระดับความสำเร็จการของแก้ไขปัญหาสังคมและพัฒนาคุณภาพชีวิต” • รายงานการจัดลำดับความรุนแรงของปัญหาสังคม โดยนำข้อมูลข้างต้น มาประกอบการดำเนินการ ได้แก่ • ข้อมูลจากการรวบรวมและบันทึกข้อมูลสถานการณ์ทางสังคมของท้องถิ่น • รายงานผลการวิเคราะห์สถานการณ์ทางสังคมระดับจังหวัดตามแนวทางที่กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์กำหนด ระดับ 1
มิติด้านประสิทธิผล รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 1.x (น้ำหนักขึ้นอยู่กับการเจรจา) “ระดับความสำเร็จการของแก้ไขปัญหาสังคมและพัฒนาคุณภาพชีวิต” • จัดทำแผนปฏิบัติการแก้ไขปัญหาสังคมของจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 โดยนำผลการดำเนินงานในระดับ 1 มาประกอบการจัดทำ พร้อมนำเสนอคณะกรรมการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ ( กบจ.) /คณะกรรมการส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมจังหวัด (กสจ.) พิจารณาภายในวันที่ 31 ธันวาคม 2552 • แผนปฏิบัติการแก้ไขปัญหาสังคมของจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 ต้องมีรายละเอียดดังนี้ • วัตถุประสงค์ของการจัดทำแผนปฏิบัติการการแก้ไขปัญหาสังคมของจังหวัดการจัดลำดับความเสี่ยง • กิจกรรม/ขั้นตอน ระยะเวลาดำเนินการ หรือปฏิทินการดำเนินงาน (Gantt Chart) ตามแผนฯ • เป้าหมาย/ผลสำเร็จ/ตัวชี้วัดที่ใช้วัดผลได้อย่างเป็นรูปธรรม • ระบบ/วิธีการจัดเก็บข้อมูล/วิธีการติดตามประเมินผลที่เป็นมาตรฐานและเชื่อถือได้ ระดับ 2
มิติด้านประสิทธิผล รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 1.x (น้ำหนักขึ้นอยู่กับการเจรจา) “ระดับความสำเร็จการของแก้ไขปัญหาสังคมและพัฒนาคุณภาพชีวิต” • ดำเนินการตามแผนปฏิบัติการแก้ไขปัญหาสังคมของจังหวัดได้แล้วเสร็จครบถ้วน ร้อยละ 100 และมีรายงานการติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการการแก้ไขปัญหาสังคมของจังหวัดเพื่อเสนอผู้ว่าราชการจังหวัดอย่างต่อเนื่อง(อย่างน้อย 3 ครั้งต่อปี) • จัดทำสรุปผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการการแก้ไขปัญหาสังคมของจังหวัด โดยระบุปัจจัยสนับสนุน ปัญหา อุปสรรคในการดำเนินงาน พร้อมทั้งระบุแนวทางหรือข้อเสนอแนะในการปรับปรุงการดำเนินงาน สำหรับปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 ระดับ 2
มิติด้านประสิทธิผล รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 1.x (น้ำหนักขึ้นอยู่กับการเจรจา) “ระดับความสำเร็จการของแก้ไขปัญหาสังคมและพัฒนาคุณภาพชีวิต” ผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการการแก้ไขปัญหาสังคมของจังหวัด ดีกว่าเป้าหมาย/ผลสำเร็จ/ตัวชี้วัด ที่กำหนดในระดับคะแนน 2 ร้อยละ 10 ระดับ 5 ผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการการแก้ไขปัญหาสังคมของจังหวัด ดีกว่าเป้าหมาย/ผลสำเร็จ/ตัวชี้วัด ที่กำหนดในระดับคะแนน 2 ร้อยละ 5 ระดับ 4 ผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการการแก้ไขปัญหาสังคมของจังหวัด เป็นไปตามเป้าหมาย/ผลสำเร็จ/ตัวชี้วัด ที่กำหนดในระดับคะแนน 2 ระดับ 3
มิติด้านประสิทธิผล ตัวชี้วัดที่ 1.x (น้ำหนักขึ้นอยู่กับการเจรจา) “อัตราการเข้าเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่าของประชากรกลุ่มอายุ 15 – 17 ปี”
มิติด้านประสิทธิผล รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 1.x (น้ำหนักขึ้นอยู่กับการเจรจา) “อัตราการเข้าเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่าของประชากรกลุ่มอายุ 15 – 17 ปี” คำอธิบาย: จำนวนผู้เข้ารับการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 หรือเทียบเท่า ในระบบโรงเรียน ต่อ จำนวนประชากรกลุ่มอายุ 15 – 17 ปี สูตรการคำนวณ: จำนวนผู้เข้ารับการศึกษาชั้นมัธยมปลายหรือเทียบเท่า/กลุ่มอายุ 15-17 ปี ปีการศึกษา 2553 x 100 จำนวนประชากรกลุ่มอายุ 15 – 17 ปี
มิติด้านประสิทธิผล รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 1.x (น้ำหนักขึ้นอยู่กับการเจรจา) “อัตราการเข้าเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่าของประชากรกลุ่มอายุ 15 – 17 ปี” รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 4.1 (น้ำหนักร้อยละ 6) เกณฑ์การให้คะแนน: หมายเหตุ : X คือ อัตราการเข้าเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่าของประชากรกลุ่มอายุ 15 – 17 ปี (ร้อยละ) ปีการศึกษา พ.ศ. 2552 ของจังหวัดที่เลือกตัวชี้วัดนี้ แหล่งข้อมูล: จำนวนผู้เข้ารับการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 หรือเทียบเท่า ในระบบโรงเรียน ใช้ข้อมูลจาก จังหวัด ที่สอดคล้องกับข้อมูลกระทรวงศึกษาธิการ จำนวนประชากรกลุ่มอายุ 15 – 17 ปี ใช้ข้อมูลจากจังหวัด ที่สอดคล้องกับข้อมูลกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย
มิติด้านประสิทธิผล ตัวชี้วัดที่ 1.x (น้ำหนักขึ้นอยู่กับการเจรจา) “ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหารระดับจังหวัด”
มิติด้านประสิทธิผล รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 1.x (น้ำหนักขึ้นอยู่กับการเจรจา) “ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหารระดับจังหวัด” คำอธิบาย: พิจารณาจากระดับความสำเร็จของการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหารระดับจังหวัด กำหนดเป็นระดับขั้นของความสำเร็จ (Milestone) แบ่งเกณฑ์การให้คะแนนเป็น 5 ระดับ
มิติด้านประสิทธิผล รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 1.x (น้ำหนักขึ้นอยู่กับการเจรจา) “ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหารระดับจังหวัด” • คณะกรรมการระดับจังหวัดทบทวนการดำเนินงานในประเด็นต่าง ๆ เพื่อนำมาใช้เป็นข้อมูลประกอบการจัดทำแผนบูรณาการด้านอาหารปลอดภัยของจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 ดังนี้ 1. ผลการดำเนินงานตามแผนบูรณาการด้านอาหารปลอดภัยจังหวัดในปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 2. แนวทางหรือข้อเสนอแนะในการปรับปรุงการดำเนินงาน สำหรับปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 • จัดทำแผนบูรณาการด้านอาหารปลอดภัยของจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 โดยมีกิจกรรมที่ระบุถึงการให้ความรู้ และความเข้าใจด้านอาหารปลอดภัย และพฤติกรรมในการบริโภคอาหารที่ถูกต้อง และได้รับความเห็นชอบจากผู้ว่าราชการจังหวัด พร้อมทั้งจัดส่งให้ศูนย์ปฏิบัติการความปลอดภัยด้านอาหาร กระทรวงสาธารณสุข ภายในวันที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2553 และดำเนินการตามแผนบูรณาการด้านอาหารปลอดภัยของจังหวัดได้แล้วเสร็จครบถ้วน ร้อยละ 100 ระดับ 1
มิติด้านประสิทธิผล รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 1.x (น้ำหนักขึ้นอยู่กับการเจรจา) “ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหารระดับจังหวัด” • ดำเนินการตรวจประเมินอาหารสด ตลาดสด และร้านอาหารและแผงลอยตามแผนการตรวจสอบ เฝ้าระวังความปลอดภัยด้านอาหารของจังหวัดและคณะกรรมการระดับจังหวัด นำผลการตรวจประเมินดังกล่าวมาใช้เป็นข้อมูลประกอบการวิเคราะห์สถานการณ์ปัญหาด้านอาหารปลอดภัยของจังหวัด และจัดทำเป็นโครงการ/มาตรการเพื่อตอบสนองและแก้ไขปัญหาตามสถานการณ์ปัญหาด้านอาหารปลอดภัยที่ตรวจพบและดำเนินการตามโครงการ/มาตรการได้แล้วเสร็จครบถ้วน ร้อยละ 100 • เผยแพร่ข้อมูลดังกล่าวข้างต้นให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องตลอดห่วงโซ่อาหารรับทราบ พร้อมทั้งจัดส่งข้อมูลดังกล่าวให้กับศูนย์ปฏิบัติการความปลอดภัยด้านอาหาร กระทรวงสาธารณสุข โดยการจัดส่งข้อมูลแบ่งออกเป็น 2 กรณี ได้แก่ -กรณีที่ 1 ข้อมูลสถานการณ์ปัญหาด้านอาหารปลอดภัยตามแผนการตรวจสอบเฝ้าระวังตามปกติของจังหวัด ให้รายงานทุกเดือน - กรณีที่ 2 ข้อมูลสถานการณ์ปัญหาด้านอาหารปลอดภัยแบบฉุกเฉิน เร่งด่วน ให้รายงานทันทีผ่านระบบ FAST (Food Alert System of Thailand) ของกระทรวงสาธารณสุข ระดับ 2
มิติด้านประสิทธิผล รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 1.x (น้ำหนักขึ้นอยู่กับการเจรจา) “ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหารระดับจังหวัด” • ประชาชนกลุ่มเป้าหมายในจังหวัดรับรู้ และมีความเข้าใจด้านอาหารปลอดภัย และมีพฤติกรรมในการบริโภคที่ถูกต้อง ร้อยละ 70 ระดับ 4 • ผลการตรวจประเมินอาหารสด ในรอบ 6 เดือนหลัง (1 เมษายน 2553 – 30 กันยายน 2553) มีทิศทางที่ดีขึ้น ร้อยละ 1-5 เมื่อเทียบกับ ในรอบ 6 เดือนแรก (1 ตุลาคม 2552 - 31 มีนาคม 2553) • ผลการตรวจประเมินตลาดสดประเภทที่ 1 ผ่านเกณฑ์ตลาดสดน่าซื้อระดับดี หรือดีมาก ร้อยละ 80 • ผลการตรวจประเมินร้านอาหารและแผงลอยผ่านเกณฑ์อาหารสะอาด รสชาติอร่อย ร้อยละ 80 ระดับ 3
มิติด้านประสิทธิผล รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 1.x (น้ำหนักขึ้นอยู่กับการเจรจา) “ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหารระดับจังหวัด” • จัดทำสรุปผลการดำเนินงาน ด้านอาหารปลอดภัยของจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 โดยระบุปัจจัยสนับสนุน ปัญหา อุปสรรคในการดำเนินงาน และแนวทาง/ข้อเสนอแนะสำหรับปีต่อไป โดยมีเนื้อหาครอบคลุมประเด็นดังต่อไปนี้ 1. ผลการดำเนินงานตามแผนบูรณาการด้านอาหารปลอดภัยของจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 2. ผลการดำเนินงานตามโครงการ/มาตรการเพื่อแก้ไขปัญหาตามสถานการณ์ปัญหาด้านอาหารปลอดภัยที่ตรวจพบ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 3. สรุปเปรียบเทียบผลการตรวจประเมินอาหารสด รอบ 6 เดือนแรก (1 ตุลาคม 2552 - 31 มีนาคม 2553) และรอบ 6 เดือนหลัง (1 เมษายน 2553 - 30 กันยายน 2553) และผลการตรวจประเมินตลาดสดประเภทที่ 1 และร้านอาหารและแผงลอย 4. ผลการรับรู้และความเข้าใจของประชาชนกลุ่มเป้าหมายในจังหวัดด้านอาหารปลอดภัย และพฤติกรรมในการบริโภคที่ถูกต้อง 5. ข้อเสนอแนะ/แนวทางการดำเนินงานด้านอาหารปลอดภัยของจังหวัดในปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 ระดับ 5
มิติด้านประสิทธิผล ตัวชี้วัดที่ 1.x (น้ำหนักขึ้นอยู่กับการเจรจา) “ร้อยละของจำนวนผลิตภัณฑ์ชุมชนและท้องถิ่นของจังหวัด ที่ได้รับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน (มผช.)”