990 likes | 1.25k Views
การประเมินผลการปฏิบัติงาน ของจังหวัดชัยภูมิ ตาม พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551. โดย กลุ่มบริหารทรัพยากรบุคคล สำนักงาน จ.ชัยภูมิ. “คู่มือการประเมินผลการปฏิบัติราชการ จังหวัดชัยภูมิ”. แนวทางปฏิบัติตามหนังสือสั่งการของสำนักงาน ก.พ. การกำหนดกรอบแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการ
E N D
การประเมินผลการปฏิบัติงาน ของจังหวัดชัยภูมิตาม พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 โดย กลุ่มบริหารทรัพยากรบุคคล สำนักงาน จ.ชัยภูมิ
“คู่มือการประเมินผลการปฏิบัติราชการ จังหวัดชัยภูมิ” • แนวทางปฏิบัติตามหนังสือสั่งการของสำนักงาน ก.พ. • การกำหนดกรอบแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการ • แต่งตั้งคณะกรรมการ/คณะทำงานขับเคลื่อนระดับจังหวัด • ประกาศจังหวัดชัยภูมิ • คู่มือการประเมินผลการปฏิบัติราชการ
เรื่องแรก แนวทางปฏิบัติตามหนังสือสั่งการของสำนักงาน ก.พ.
ปัญหาของวิธีการประเมินแบบเก่าปัญหาของวิธีการประเมินแบบเก่า เป็นนามธรรม ใช้ความรู้สึกในการตัดสิน เป้าหมายการปฏิบัติงานไม่ชัดเจน ระบบโควตาและการหมุนเวียนกัน ไม่สามารถระบุความเชื่อมโยงของการปฏิบัติงานกับเป้าหมายขององค์กร การมอบหมายและกระจายงานไม่เหมาะสม 4
หลักการ : ข้อกฎหมาย • รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.๒๕๕๐ • มาตรา ๗๘ : การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี • มาตรา ๒๗๙ : ระบบคุณธรรม/พฤติกรรม หลักเกณฑ์และ วิธีการประเมิน ผลการปฏิบัติ ราชการของ ข้าราชการ พลเรือนสามัญ • พรบ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.๒๕๕๑ • มาตรา ๔๒ : ความดีความชอบ/พฤติกรรม • มาตรา ๗๔ : การเลื่อนขั้นเงินเดือน/รางวัล • มาตรา ๗๖ : ประเมินผลของผู้บังคับบัญชา 5
หนังสือสั่งการของสำนักงาน ก.พ. • เรื่องที่ 1 หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลการปฏิบัติราชการของข้าราชการพลเรือน (นร 1012/ว20 ลว. 3 กันยายน 2552) • เรื่องที่ 2เรื่อง มาตรฐานและแนวทางการกำหนดความรู้ ความสามารถ ทักษะและสมรรถนะที่จำเป็น (นร 1012/ว27 ลว. 29 กันยายน 2552) • เรื่องที่ 3 การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการตาม พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือนสามัญ พ.ศ. 2551 เพื่อเป็นแนวทางในการจัดทำรายละเอียดการประเมินผลการปฏิบัติราชการเป็นรายบุคคลต่อไป (นร 1012/ว28 ลว. 22 ตุลาคม 2552
หนังสือสั่งการ ว20สำนักงาน ก.พ.
การบริหารผลการปฏิบัติราชการสำนักงาน ก.พ. ว20 • เพื่อเป็นกระบวนการผลักดันให้องค์การบรรลุเป้าหมายอย่างเป็นระบบ และมีการเชื่อมโยงเป้าหมายระดับองค์กร ระดับสำนัก/กอง จังหวัดจนถึงระดับบุคคลเข้าด้วยกัน • มีการกำหนดเป้าหมายที่ชัดเจน • การพัฒนาผู้ปฏิบัติงานอย่างเหมาะสม • การติดตามผลการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง • การประเมินผลการปฏิบัติงานที่สอดคล้องกับเป้าหมายที่กำหนดไว้ • การนำผลที่ได้รับจากการประเมินไปประกอบการพิจารณาตอบแทนความดีความชอบแก่ผู้ปฏิบัติ
วัตถุประสงค์ • เพื่อเป็นเครื่องมือของฝ่ายบริหารในการกำกับติดตามเพื่อให้ส่วนราชการและจังหวัดสามารถบรรลุเป้าหมายตามวิสัยทัศน์ และพันธกิจอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และคุ้มค่า • เพื่อให้ผู้บังคับบัญชานำผลการประเมินการปฏิบัติราชการไปใช้ประกอบการพิจารณาเลื่อนเงินเดือนและการให้เงินรางวัลประจำปีแก่ข้าราชการพลเรือนตามหลักการของระบบคุณธรรม
‘การบริหารผล’ การปฏิบัติราชการ การบริหารผลการปฏิบัติราชการ กับการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ คุณภาพการบริการ การบริหารกิจการ บ้านเมืองที่ดี มีเจ้าภาพชัดเจน การบริหารจัดการ ภาครัฐแนวใหม่ มุ่งผลสัมฤทธิ์ แข่งขันได้ วัด ประเมินได้ ใช้เทคโนโลยี 10
‘การบริหารผล’ การปฏิบัติราชการ ทำอะไร ทำอย่างไร วิสัยทัศน์องค์กร ยุทธศาสตร์ วัฒนธรรมองค์กร สมรรถนะ ที่จะผลักดันให้ วิสัยทัศน์เป็นจริง เป้าหมายระดับองค์กร ค่านิยมความเชื่อ เป้าหมายระดับสำนัก/กอง ความรู้ความ สามารถในงาน เป้าหมายระดับบุคคล พฤติกรรมที่แสดงออก การบริหารผลการปฏิบัติราชการ 11
ระบบการบริหารผลการปฏิบัติราชการระบบการบริหารผลการปฏิบัติราชการ วางแผน (Plan) ติดตาม (Monitor) ให้รางวัล (Reward) ระบบการบริหารผลการปฏิบัติราชการ ประเมิน (Appraise) พัฒนา (Develop) 12
รอบการประเมินผลงาน รอบการประเมิน ปีละ 2 รอบ • รอบที่ 1: 1 ตุลาคม – 31 มีนาคม ของปีถัดไป • รอบที่ 2: 1 เมษายน – 30 กันยายน ของปีเดียวกัน 13
แนวทางของสำนักงาน ก.พ.องค์ประกอบการประเมิน เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ หมายถึงเป้าหมายผลการปฏิบัติงานที่สอดคล้องและเป็นเหตุแห่งความสำเร็จของเป้าหมายผลการปฏิบัติงานระดับองค์กร เป้าหมายในด้านอื่นๆ หมายถึงเป้าหมายผลการปฏิบัติงานในด้านอื่นๆ ซึ่งไม่ได้เป็นเหตุโดยตรงของเป้าหมายผลการปฏิบัติงานระดับองค์กร แต่มาจากภารกิจและบทบาทหน้าที่ของหน่วยงาน และตำแหน่งที่รับผิดชอบ รวมทั้งงานที่ได้รับมอบหมายพิเศษ พฤติกรรมการปฏิบัติราชการ (สมรรถนะที่คาดหวัง) ผลสัมฤทธิ์ของงาน เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ เป้าหมายอื่นๆ (สอดคล้องกับเป้าหมาย ระดับองค์กร) (สอดคล้องกับงานตามภารกิจ หรืองานที่ได้มอบหมายพิเศษ) ผลสัมฤทธิ์หลัก ตัวชี้วัด- KPI ค่าเป้าหมาย ชื่อสมรรถนะ ระดับของสมรรถนะ ผลสัมฤทธิ์หลัก ตัวชี้วัด- KPI ค่าเป้าหมาย 16
องค์ประกอบการประเมิน (1) เป้าประสงค์ในเชิงปริมาณหรือตัวเลข (Quantitative Targets) (2) เป้าประสงค์ในเชิงคุณภาพหรือพฤติกรรม (Competency) เป้าประสงค์ในเชิงคุณภาพ/พฤติกรรมที่จำเป็นในการปฏิบัติงาน เป้าประสงค์ในเชิงปริมาณ How มุ่งเน้นการพัฒนาศักยภาพและ ผลในระยะยาว What มุ่งเน้นผลระยะสั้น
สมรรถนะ • 1. สมรรถนะหลัก • มุ่งผลสัมฤทธิ์ • บริการที่ดี • สั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ • มีจริยธรรม • ร่วมแรงร่วมใจ 2. สมรรถนะประจำกลุ่มงาน/สายงาน 3. สรรถนะอื่น (2+3) รวม 20 สมรรถนะ พฤติกรรมการปฏิบัติราชการ : สมรรถนะ 18
องค์ประกอบการประเมิน • ผลสัมฤทธิ์ของงานพิจารณาจากความสำเร็จของงาน คือ • เป็นงานของทางราชการที่ได้รับมอบหมาย • ปริมาณผลงาน คุณภาพผลงาน ความรวดเร็วหรือความตรงต่อเวลา และการประหยัดหรือความคุ้มค่า • พฤติกรรมการปฏิบัติราชการประเมินจาก • สมรรถนะหลัก • สมรรถนะที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติราชการ • สัดส่วนผลสัมฤทธิ์ของงานไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 www.ocsc.go.th www.ocsc.go.th
องค์ประกอบ : สัดส่วนคะแนน 20
องค์ประกอบ : ปัจจัยการประเมิน 21
องค์ประกอบ : ระดับผลการประเมิน อย่างน้อย 5 ระดับ 22
แบบการประเมิน • แบบสรุปผลการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ก.พ. กำหนดให้ แต่ส่วนราชการสามารถปรับได้ โดยสาระไม่น้อยกว่าแบบแนบท้ายหลักเกณฑ์ • แบบมอบหมายงานและแบบประเมินผลการปฏิบัติราชการ ส่วนราชการกำหนดเอง 23
แบบที่สำนักงาน ก.พ.จัดทำขึ้นเป็นตัวอย่าง • แบบสรุปผลการประเมินผลการปฏิบัติราชการ • แบบกำหนดและประเมินผลสัมฤทธิ์ของงาน • แบบกำหนดและประเมินสมรรถนะ 24
หนังสือสั่งการ ว27สำนักงาน ก.พ.
หนังสือสำนักงาน ก.พ. ว27 • เน้นมาตรฐาน 3 ด้าน ดังนี้
มาตรฐานความรู้ความสามารถที่ใช้ปฏิบัติงานมาตรฐานความรู้ความสามารถที่ใช้ปฏิบัติงาน
มาตรฐานความรู้ความสามารถกฎหมายและกฎระเบียบราชการมาตรฐานความรู้ความสามารถกฎหมายและกฎระเบียบราชการ
มาตรฐานทักษะจำเป็นสำหรับปฏิบัติงานมาตรฐานทักษะจำเป็นสำหรับปฏิบัติงาน
มาตรฐานสมรรถนะที่จำเป็นสำหรับปฏิบัติงานมาตรฐานสมรรถนะที่จำเป็นสำหรับปฏิบัติงาน
มาตรฐานสมรรถนะที่จำเป็นสำหรับปฏิบัติงานมาตรฐานสมรรถนะที่จำเป็นสำหรับปฏิบัติงาน
หนังสือสั่งการ ว28สำนักงาน ก.พ.
คำชี้แจง สำนักงาน ก.พ. หนังสือ ว.28 • การเลื่อนเงินเดือนตั้งแต่ครึ่งปีแรกของปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 เป็นต้นไปตามกฎ ก.พ.ว่าด้วยการเลื่อนเงินเดือน พ.ศ. 2552 • การเลื่อนเงินเดือนตามกฎ ก.พ. ฉบับดังกล่าวให้ใช้ฐานในการคำนวณและช่วงเงินเดือนสำหรับการเลื่อนเงินเดือนในแต่ละประเภทและระดับตำแหน่งตามแผนภูมิ ดังนี้
บริหาร (S) ฐานในการคำนวณ 2 ค่า และ ช่วงเงินเดือนสำหรับการเลื่อนเงินเดือนประจำปี วิชาการ (K) 59,770 อำนวยการ (M) 52,650 45,540 45,530 45,150 23,230 47,450/36,020 66,480 33,540 59,770 50,550 59,770 36,020 64,340 18,190 22,220 66,480 /64,340 50,550 ทั่วไป (O) 39,440/30,870 60,290 /58,690 31,440/28,280 63,290 43,190 56,890 52,310 44,260 30,600 60,430 19,950 21,880 54,010 35,830 44,850 37,980 56,530 25,190 13,270 17,680 61,650 15,730 27,710 54,110 /53,370 54,100 /53,360 31,430/ 28,270 54,000 35,820 44,840 61,640 37,970 56,520 25,180 13,260 17,670 21,870 61,640 16,030 31,220 51,110 44,060 53,360/53,360 31,680 20,350 52,650 10,790 15,390 28,270/28,270 18,910 12,530 23,230 4,630 6,800 28,550 10,190 48,220 18,910 23,230 28,550/28,550 15,410/15,410
คำชี้แจง สำนักงาน ก.พ. หนังสือ ว.28 (ต่อ) • ข้าราชการผู้ได้รับอนุญาตให้ลาไปปฏิบัติงาน หรือถูกสั่งให้ไปทำการซึ่งให้นับเวลาระหว่างนั้นเหมือนเต็มเวลาราชการ เมื่อกลับมาปฏิบัติราชการ ให้ผู้บังคับบัญชาผู้มีอำนาจสั่งเลื่อนเงินเดือนพิจารณาสั่งให้มีการคำนวณหาอัตราเงินเดือนที่จะได้รับในอัตราไม่เกินร้อยละ 3 ของฐานเงินเดือนข้าราชการผู้นั้นในแต่ละรอบการประเมิน • วงเงินงบประมาณและการบริหารวงเงินงบประมาณสำหรับเลื่อนเงินเดือน • ให้ส่วนราชการและจังหวัดเลื่อนเงินเดือนข้าราชการพลเรือนในสังกัด ครั้งที่ 1 (1 เมษายน) และครั้งที่ 2 (1 ตุลาคม) ภายในวงเงินร้อยละ 3 ของเงินเดือนที่จ่ายให้ข้าราชการ ณ วันที่ 1 มีนาคม และ 1 กันยายนตามลำดับ • ให้ส่วนราชการและจังหวัดแยกวงเงินการเลื่อนเงินเดือน ออกเป็น 3 กลุ่ม คือ
คำชี้แจง สำนักงาน ก.พ. หนังสือ ว.28 (ต่อ) • กลุ่มผู้บริหารตำแหน่งประเภทบริหาร • กลุ่มผู้ดำรงตำแหน่งประเภทอำนวยการ • กลุ่มผู้ดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการและประเภททั่วไป โดยให้ส่วนราชการและจังหวัดเลื่อนเงินเดือนข้าราชการภายในวงเงินของแต่ละกลุ่มก่อนหากวงเงินของกลุ่มใดมีเหลือ สามารถเกลี่ยวงเงินเลื่อนเงินเดือนให้กลุ่มอื่นได้ • ในกรณีที่ส่วนราชการมีหน่วยงานในราชการบริหารส่วนภูมิภาค ให้ส่วนราชการ แยกเงินการเลื่อนเงินเดือนข้าราชการเพลเรือนในราชการบริหารส่วนกลางออกจากส่วนภูมิภาค โดยตัดยอดจำนวนคนและจำนวนเงินของข้าราชการในส่วนภูมิภาคผู้ดำรงตำแหน่งประเภท • วิชาการ ระดับชำนาญการพิเศษ ชำนาญการ ปฏิบัติการ และตำแหน่งประเภททั่วไป ระดับอาวุโส ชำนาญงาน ปฏิบัติการออกจากวงเงินการเลื่อนเงินเดือน ทั้งนี้ ผวจ.เป็นผู้มีอำนาจสั่งบรรจุและแต่งตั้ง ตามมาตรา 57 ของ พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 เป็นผู้สั่งเลื่อนเงินเดือนของข้าราชการพลเรือนผู้ตำรงตำแหน่งประเภท/ระดับดังกล่าว
คำชี้แจง สำนักงาน ก.พ. หนังสือ ว.28 (ต่อ) • ให้ผู้ดำรงตำแหน่งต่อไปนี้เป็นผู้บริหารเงินการเลื่อนเงินเดือนของข้าราชการพลเรือนในแต่ละกลุ่มในแต่ละรอบการประเมิน
คำชี้แจง สำนักงาน ก.พ. หนังสือ ว.28 (ต่อ) ทั้งนี้ ผู้บริหารวงเงินให้หัวหน้าส่วนราชการที่ต่ำกว่าระดับกรมหรือหัวหน้าหน่วยงานในส่วนภูมิภาค บริหารวงเงินของข้าราชการในสังกัดได้
คำชี้แจง สำนักงาน ก.พ. หนังสือ ว.28 (ต่อ) • ผู้ที่ได้รับเงินเดือนสูงสุดหรือใกล้ถึงเงินเดือนสูงสุดของสายงานหรือระดับตำแหน่งตามที่ ก.พ.กำหนดให้ได้รับค่าตอบแทนพิเศษ ซึ่งพิจารณาจากผลการปฏิบัติราชการโดยคิดเป็นร้อยละของฐานในการคำนวณไว้ตามช่วงเงินเดือนในแต่ละประเภทหรือตำแหน่งตามกรอบฐานเงินเดือนที่กำหนดไว้ตามช่วงเงินเดือนในแต่ละประเภทและตำแหน่ง ส่วนการเบิกจ่ายค่าตอบแทนของข้าราชการและลูกจ้างประจำผู้ได้รับเงินเดือนหรือค่าจ้างถึงขั้นสูงหรือใกล้ถึงขั้นสูงของอันดับหรือตำแหน่ง (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2551ซึ่งได้ประกาศใน ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 125 ตอนพิเศษ 148 ง วันที่ 6 ก.ย. 2551
การเลื่อนเงินเดือนในระบบใหม่การเลื่อนเงินเดือนในระบบใหม่ ประเมิน ผลงานประจำปี เลื่อนเงินเดือนเป็น % ของฐานในการคำนวณ (ค่ากลาง) ยกเลิกโควตา 15% งบประมาณ/ครึ่งปี : 3% ของเงินเดือนทุกคนในส่วนราชการ ผลงานดีเด่น/ครึ่งปี : ไม่เกิน 6% ของค่ากลาง ปีละ 2 ครั้ง / ไม่น้อยกว่า 5 ระดับ • ผลงานดีเด่นเลื่อนไม่เกิน 6 % ในรอบครึ่งปี / ผลงานระดับที่ ลดหลั่นลงมาให้อิสระแต่ละส่วนราชการกำหนดเอง • กำหนดค่ากลาง 2 ค่า ในแต่ละระดับ • ไม่บังคับสัดส่วนจำนวนคนแต่ละระดับ (Force Distribution) • ส่วนราชการบริหารงบประมาณเอง (3%) • เลื่อนได้ไม่เกินเงินเดือนสูงสุดของช่วงเงินเดือนแต่ละสายงาน • เงินเดือนตันให้ได้รับเงินตอบแทนพิเศษเป็นร้อยละของค่ากลาง : ประกาศระดับผลการประเมินและ % การเลื่อนในแต่ละระดับ : ประกาศรายชื่อผู้มีผลงานระดับดีมาก/ดีเด่น : แจ้งผลการเลื่อนเงินเดือนเฉพาะตัวบุคคล 41
การประเมินผลงาน กับ การเลื่อนเงินเดือน 42 ขั้นสูง ขั้นสูง 2 ขั้น 1.5 ขั้น 1 ขั้น 0.5 ขั้น ไม่เลื่อน ค่ากลางบน ค่ากลางล่าง ขั้นต่ำ ขั้นต่ำ
ตัวอย่างการคำนวณค่ากลาง ตัวอย่างการคำนวณค่ากลาง ค่ากลางบน (33,540 + 21,865) /2 = 27,702.5 ค่ากลาง (33,540 + 10,190)/2 = 21,865 ค่ากลางล่าง (10,190 + 21,865) /2 = 16,027.5 ประเภททั่วไป ระดับชำนาญงาน 33,540 27,710 21,880 21,870 ประเภททั่วไป ระดับชำนาญงาน 16,030 10,190 7
ทดลองคำนวณการเลื่อนเงินเดือนทดลองคำนวณการเลื่อนเงินเดือน ขั้นสูง 33,540 ค่ากลางบน 21,880 27,710 21,870 ค่ากลางล่าง 16,030 10,190 ขั้นต่ำ เงินเดือน 22,250 บาท
ตัวอย่างการจัดสัดส่วนจำนวนคนและวงเงินงบประมาณตัวอย่างการจัดสัดส่วนจำนวนคนและวงเงินงบประมาณ * ส่วนราชการสามารถปรับสัดส่วนร้อยละให้เหมาะสมได้
การจัดสรรวงเงินเลื่อนเงินเดือนการจัดสรรวงเงินเลื่อนเงินเดือน ปัจจุบัน แนวใหม่ ส่วนกลาง (ปลัดฯอธิบดี) ส่วนกลาง บริหาร 9 ขึ้นไป 8 ลงมา ส่วนภูมิภาค อำนวยการ ส่วนภูมิภาค(ผู้ว่าฯ) วิชาการ/ทั่วไป 46
เรื่องสอง กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ของ จังหวัดชัยภูมิ
ก่อนเริ่มรอบประเมิน การวิเคราะห์ถอดงานกิจกรรมของแต่ละคน การเลือกงาน/กิจกรรมมาจัดทำคำรับรอง การกำหนดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย การจัดทำคำรับรองของแต่ละคน ระหว่างรอบการประเมิน ผู้ประเมิน/ผู้รับการประเมินทำรายงานผล การตรวจสอบหลักฐานข้อมูลตรวจเยี่ยม ครบรอบการประเมิน การประเมินคะแนน การกำหนดเงินที่จะเลื่อน การติดตาม/ประเมินผลและปรับปรุงงาน กรอบการบริหารผลการปฏิบัติงาน กรอบการบริหารผลการปฏิบัติงาน • แต่งตั้งคณะกรรมการกลั่นกรองฯ • ประกาศหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผล การประเมินผลสัมฤทธิ์งาน (70) การประเมินสมรรถนะ (30) * สมรรถนะของ ก.พ. : 5 ตัว • การมุ่งผลสัมฤทธิ์ • การบริการที่ดี • การสั่งสมความเชี่ยวชาญในอาชีพ • มีจริยธรรม • การร่วมแรงร่วมใจ - แบบสรุปผลการประเมินในภาพรวม - แบบสรุปผลการประเมินผลสัมฤทธิ์งาน - แบบสรุปผลการประเมินสมรรถนะ
เรื่องสาม องค์กรหรือกลไกในการขับเคลื่อนการประเมินผลการปฏิบัติราชการของจังหวัดชัยภูมิ
1.1 การแต่งตั้งคณะกรรมการกลั่นกรอง • แต่งตั้งคณะกรรมการกลั่นกรองผลการประเมินการปฏิบัติราชการของข้าราชการพลเรือนสามัญ จ. ชัยภูมิ (คำสั่ง 3170/2552 ลว. 11 ธันวาคม2552) เพื่อทำหน้าที่เสนอความเห็นเกี่ยวกับมาตรฐานและความเป็นธรรมของการประเมิน โดยมี องค์ประกอบ • รองผู้ว่าราชการจังหวัด เป็นประธาน • หัวหน้าส่วนราชการที่เห็นสมควร ไม่น้อยกว่า 4 คน เป็นกรรมการ • หัวหน้าส่วนราชการที่รับผิดชอบงานการเจ้าหน้าที่ เป็นเลขานุการ มีหน้าที่ • เสนอความเห็นเกี่ยวกับผลการประเมินผลการปฏิบัติราชการของข้าราชการสามัญประเภทอำนวยการ ประเภทวิชาการ และประเภททั่วไปทุกระดับ