1 / 16

Learning by Doing

John Dewey. Learning by Doing. น า ง ส า ว สุ นั น ท รั ต น์ โ พ ธิ์ ศ รี ร หั ส 4 7 0 6 4 8 3 0. Biography of John Dewey. John Dewey เกิดในปี ค.ศ.1859. สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี จาก มหาวิทยาลัยแห่งรัฐเวอร์มอนด์ ในปี 1879 . หลังจากนั้นใช้เวลาว่างช่วงสั้นๆ

brittany
Download Presentation

Learning by Doing

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. John Dewey Learning by Doing นางสาวสุนันทรัตน์โพธิ์ศรี รหัส47064830

  2. Biography of John Dewey John Deweyเกิดในปี ค.ศ.1859 สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี จาก มหาวิทยาลัยแห่งรัฐเวอร์มอนด์ ในปี 1879 หลังจากนั้นใช้เวลาว่างช่วงสั้นๆ เป็นอาจารย์สอนพิเศษที่ โรงเรียนมัธยมแห่งหนึ่ง ก่อนจะกลับมาศึกษาต่อจนจบปริญญาเอก ที่มหาวิทยาลัย จอห์น ฮอบกินส์ในปี ค.ศ.1884

  3. Expert and Intention John Deweyเคยดำรงตำแหน่งคณบดี คณะวิชาปรัชญา จิตวิทยา และการสอน ของมหาวิทยาลัยชิกาโก้ มีบทบาทสำคัญในการบุกเบิกแนวคิดและวิธีการสอนแบบใหม่ๆ ทั้งยังได้สร้างโรงเรียนสาธิตขึ้นเพื่อใช้สำหรับทดสอบพัฒนาและ วิเคราะห์ทฤษฎีเกี่ยวกับการเรียนการสอนและที่สำคัญ ยังถือได้ว่าเป็นนักปรัชญาทางการศึกษาแนวหน้าของโลก โดยมีปรัชญามากมายซึ่งเกี่ยวข้องกับการศึกษา ที่แตกแขนงออกไปอย่างมากมาย

  4. Dewey's laboratory school จอห์นดุย หรือจอห์น ดิวอี้ (John Dewey นักปรัชญา นักการศึกษา นักจิตวิทยา ชาวอเมริกัน มีชีวิตอยู่ระหว่าง ค.ศ. 1859-1952)

  5. แนวคิดและปรัชญาทางการศึกษาแนวคิดและปรัชญาทางการศึกษา

  6. ปรัชญาทางการศึกษา ปรัชญาทางการศึกษาโดยทั่วไป "การศึกษา คือ ชีวิต หรือ การศึกษา คือ ความเจริญงอกงาม หรือ การศึกษา คือ การสร้างเสริมประสบการณ์ให้แก่ชีวิต" แต่ปรัชญาที่ทำให้เรานึกถึง JohnDewey คือ

  7. Learning by Doing

  8. ความรู้จะเกิดขึ้นได้ จากความสัมพันธ์ โดยตรง ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อม บุคคลจะได้รับความรู้ต่อเมื่อตนเองเป็นผู้ลงมือ กระทำเอง (Learning by doing) หาใช่คอยรับความรู้จากผู้อื่น และความรู้ที่จะยอมรับได้ว่าเป็นความจริง จะต้องเป็นผลสรุปที่สามารถสนับสนุนได้ จากหลักฐานการค้นคว้าต่าง ๆ เท่านั้น

  9. การเรียนรู้ทางศิลปะ

  10. แนวคิดของการเรียนรู้ศิลปะแนวคิดของการเรียนรู้ศิลปะ การเรียนรู้ศิลปะ คือ การเรียนรู้โดยไร้ระบบมายึดถือ เป็นการพัฒนาทางเชาวน์ปัญญาควบคู่กับการเรียนรู้ เชื่อมั่นว่า การศึกษาที่แท้จริง ทั้งมวลมาจากการผ่านประสบการณ์ ซึ่งมิได้หมายความว่าประสบการณ์ทั้งมวลนั้น เป็นการศึกษาที่แท้จริง ประสบการณ์ กับ การศึกษาจึงไม่สามารถนำมาเฉลี่ย เป็นสมการให้เท่าเทียมกันได้โดยตรง

  11. ปรัชญาทางการศึกษากับประชาธิปไตยปรัชญาทางการศึกษากับประชาธิปไตย

  12. การศึกษากับประชาธิปไตยว่า การศึกษาเป็นเครื่องมือทำให้ประชาชน มีความสามารถผสมผสานวัฒนธรรมและการงานอาชีพของแต่ละบุคคล ให้เกิดประโยชน์อย่างเต็มที่การศึกษาเป็นกระบวนการ ปรับเปลี่ยนประสบการณ์ชีวิตอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต โรงเรียนจะต้องสะท้อนความเป็นจริงของสังคม ความเป็นประชาธิปไตย จะต้องมีหลักธรรม จริยธรรม และเพื่อให้บรรลุเป้าประสงค์นี้ได้ การศึกษาจะต้อง ปฏิรูป กระบวนการเรียนการสอนและหลักสูตรอย่างแท้จริง

  13. แนวคิดทางปรัชญาของDeweyกับการนำมาใช้ในการพัฒนาการศึกษาไทยแนวคิดทางปรัชญาของDeweyกับการนำมาใช้ในการพัฒนาการศึกษาไทย

  14. แนวทางปรัชญาของ John Dewey โดยยึดนักเรียนเป็นสำคัญ จัดให้สอดคล้องกับสติปัญญา และความสามารถของนักเรียนจัดให้สอดคล้องกับความต้องการและความสนใจของผู้เรียนบรรยากาศการเรียนรู้ต้องให้เกิดลักษณะดังนี้- ให้ผู้เรียนได้สร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง - ให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์การเรียนรู้ซึ่งกันและกัน - ให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนรู้ - ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เกี่ยวกับกระบวนการ - ให้ผู้เรียนได้นำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน

  15. ส่วนครูต้องเปลี่ยนบทบาทจาก ผู้บอกความรู้ เป็นผู้สอนวิธีการแสวงหาความรู้ โดย1. ( Manager ) เป็นผู้กำหนดบทบาทให้นักเรียนมีส่วนร่วม2. ( Helper ) เป็นผู้ช่วยเหลือทางด้านวิชาการ3. ( Supporter ) เป็นผู้สนับสนุนด้านสื่อต่าง ๆ และให้คำแนะนำ4. ( Monitor ) เป็นผู้ตรวจสอบงานนักเรียน

  16. END

More Related