400 likes | 652 Views
เครื่องมือการจัดการความรู้ Knowledge Management Tools. ผศ . ดร. วิภาดา เวทย์ประสิทธิ์ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ Email : wwettayaprasit@yahoo.com. 4. เรียนรู้ เลียนแบบ พัฒนาต่อยอด. 3. เลียนรู้ รับมา ทำเลียนแบบ. 2. รับรู้ แต่อาจไม่ได้นำไปใช้.
E N D
เครื่องมือการจัดการความรู้Knowledge Management Tools ผศ.ดร. วิภาดา เวทย์ประสิทธิ์ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ Email : wwettayaprasit@yahoo.com
4 เรียนรู้ เลียนแบบ พัฒนาต่อยอด 3 เลียนรู้ รับมา ทำเลียนแบบ 2 รับรู้ แต่อาจไม่ได้นำไปใช้ 1 ไม่รู้ ไม่รู้ไม่ชี้vs. ไม่รู้แล้วชี้ บันไดสี่ขั้นสู่การเรียนรู้ (Learning)
เครื่องมือของการจัดการความรู้เครื่องมือของการจัดการความรู้ • ชุมชนแนวปฏิบัติ (Communities of Practice – CoP) • ฐานความรู้ความสำเร็จ (Best Practices Databases) • ฐานความรู้บทเรียน (Lessons Learned Databases) • แหล่งผู้รู้ในองค์กร (Center of Excellence – CoE)
เครื่องมือของการจัดการความรู้(ต่อ)เครื่องมือของการจัดการความรู้(ต่อ) • การเล่าเรื่อง (Story Telling) • ทบทวนหลังการปฏิบัติ (After Action Reviews – AAR) • การใช้ที่ปรึกษาหรือพี่เลี้ยง (Monitoring Programs) • การเสวนา (Dialogue) • เพื่อนช่วยเพื่อน (Peer Assist) • ฟอรัม ถาม-ตอบ (Forum)
เครื่องมือจัดการความรู้เครื่องมือจัดการความรู้ (Knowledge Management Tools) จากหนังสือ การจัดการความรู้ สู่การปัญญาปฏิบัติ โดย อ.บดินทร์ วิจารณ์ Mapping โดย ภก.ประชาสรรณ์ แสนภักดี Download ได้จาก www.prachasan.com
ชุมชนนักปฏิบัติ CoP แนวปฏิบัติ Domain ชุมชน ชุมชนแห่งการปฏิบัติ เปรียบเหมือนเก้าอี้สามขา
7 ชุมชนนักปฏิบัติ CoP • เปนกลุมคนที่มารวมตัวกันอยางไมเปนทางการ • มีวัตถุประสงคเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู • สรางองคความรูใหมๆ • มาจากคนที่อยูในกลุมงานเดียวกัน หรือมีความสนใจในเรื่องใดเรื่องหนึ่งรวมกัน • มีความไววางใจและความเชื่อมั่นในการแลกเปลี่ยน ความรูระหวางกันและกัน เปนสิ่งที่สําคัญ
8 ชุมชนนักปฏิบัติ CoP • มีความแตกตางจากการจัดตั้งทีมงาน เนื่องจากเปนการรวมกัน.......อยางสมัครใจ........ • ควรมีการบันทึกสิ่งที่เรียนรูระหวางกัน • ใหแรงจูงใจหรือรางวัล.... สําหรับสมาชิกที่ใหความรวมมือและแลกเปลี่ยนเรียนรู เพื่อเปนตัวอยางแกคนอื่นๆตอไป • ควรสงเสริมให CoP มีการเติบโตและขยายตัว
สร้างชุมชนนักปฏิบัติ • Expert 5% Training Professional 40% • Expert in Community • of Practice 100%
Create CoP6 CoP2 CoP10 CoP9 CoP11 CoP1 CoP5 CoP4 CoP8 CoP3 CoP7 Learn Share CoP1 Use Capture CoP พัฒนาสู่ LO
ระดับการเขารวมใน ชุมชนนักปฏิบัติ (CoP) แสดงระดับการเขารวมในชุมชนนักปฏิบัติ (CoP)
การใช้ที่ปรึกษาหรือพี่เลี้ยงการใช้ที่ปรึกษาหรือพี่เลี้ยง (Mentoring System) • เปนวิธีการถายทอดความรูแบบตัวตอตัว • เปนวิธีการหนึ่งในการสอนงานและใหคําแนะนําอยางใกลชิด • นอกจากจะใหคําปรึกษาในดานการงานแลว ยังเปนที่ปรึกษาในเวลามีปญหาหรือสับสน • ที่สําคัญพี่เลี้ยงจะตองเปนตัวอยางที่ดีในเรื่องพฤติกรรม จริยธรรม และการทํางานใหสอดคลองกับความตองการขององคกร
การทบทวนหลังการปฎิบัติการทบทวนหลังการปฎิบัติ (After Action Review - AAR) เปนกิจกรรมที่ใชทบทวนหรือประเมินผลของกิจกรรมชุมชนนักปฏิบัติ (CoP) ในแตละครั้งวามีจุดดีจุดดอย รวมทั้งโอกาสและอุปสรรค อยางไรในการทํา CoP เพื่อเปนขอมูลในการปรับปรุงการทํา CoP ในครั้งตอไปใหดีขึ้น รวมทั้งเปนการเปดโอกาสใหสมาชิกในกลุมไดเสนอแนะขอคิดเห็นตางๆเพื่อการปรับปรุงการทํา CoP ใหสอดคลองกับเปาหมายของกลุมและเปาหมายของสมาชิก
การเสวนา (Dialogue)
ฐานความรู้บทเรียน (Lesson Learned) • ฐานความรู (Knowledge Bases) • เปนการเก็บขอมูลความรูตางๆ ที่องคกรมี ไวในระบบฐานขอมูล • สามารถเขาถึงขอมูลไดตลอดเวลาผานระบบอินเทอรเน็ต อินทราเน็ต หรือระบบอื่นๆ ไดอยางสะดวกรวดเร็วและถูกตอง • ควรคํานึงถึงความพรอมของโครงสรางพื้นฐานเพื่อสนับสนุนระบบเทคโนโลยีสารสนเทศดวย
BP วิธีปฎิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice - BP) • การจัดเก็บความรูและวิธีปฏิบัติที่เปนเลิศในรูปของเอกสาร • เปนการจัดเก็บขอมูลขององคกรในรูปแบบงายๆ • เพื่อความสะดวกในการคนหาและนําไปใช • จัดทําฐานความรูของวิธีปฏิบัติที่เปนเลิศ อาจไดจากการทําการเทียบเคียง (Benchmarking)
แหล่งผู้รู้ในองค์กร (Center of Excellence - CoE)
แนวปฏิบัติ :TKC กลุ่มโรคเบาหวาน ผู้เชี่ยวชาญ
แนวปฏิบัติ :TKC กลุ่มโรคเบาหวาน ผู้เชี่ยวชาญ
การเล่าเรื่อง (Story Telling) • สรางความสมดุลระหวางความนาสนใจในการบรรยายเรื่องและเนื้อหาที่ตองการสื่อ
เข้าใจง่าย • เล่าจากมุมมองของคนสำคัญคนใดคนหนึ่ง • มีการสอดแทรกแนวคิด • เกิดขึ้นไม่นาน • เป็นเรื่องจริง • เล่าสั้นๆ หนึ่งเรื่องมีประเด็นเดียว • จบลงด้วยความสุข • เป็นตัวเชื่อมต่อความรู้ ความเข้าใจในผู้ฟังให้เกิดความคิดใหม่ๆ • กระตุ้นให้ผู้ฟังนำบทเรียนไปใช้กับงานของตนเอง • ไม่ทำให้เกิดช่องว่างของการรู้กับการปฏิบัติ • เล่าเรื่องในประเด็นเดียวกันแต่สะท้อนความรู้/วิธีการคนละแบบ ลักษณะ ข้อดี STORY TELLING ผลที่ได้ ข้อควรคำนึง • ก่อให้เกิดความรื่นรมย์ • ถ่ายทอดข่าวสาร • รักษาวัฒนธรรม • สร้างพันธภาพ สร้างชุมชน • เกิดการเปลี่ยนแปลงขององค์กร • ให้ผู้ฟังตัดสินใจเอง • เล่าเฉพาะเหตุการณ์และผลที่เกิดขึ้น • วิเคราะห์คุณค่าของเรื่องที่จะเล่า • ใช้ภาษาพูดง่ายๆ
เพื่อนช่วยเพื่อน (Peer Assist)
เวทีถาม-ตอบ (Forum) • จัดการประชุมหรือกิจกรรมอยางเปนกิจลักษณะอยางสม่ำเสมอ • เชนการสัมนา และการประชุมทางวิชาการ
อื่นๆ (Others) • สมุดหนาเหลือง (Yellow Pages) • จัดตั้งทีมขามสายงาน (Cross-Functional Team) • การสับเปลี่ยนงาน (Job Rotation) และการยืมตัวบุคลากรมาชวยงาน (Secondment)
27 ความหมายคุณอำนวย ลดความยุ่งยากหรืออุปสรรค ทำให้ง่าย หรือ ง่ายขึ้น ดำเนินการทำหน้าที่หรือกิจกรรมทั้งก่อน ระหว่าง และหลังการประชุม เพื่อช่วยให้กลุ่มได้บรรลุเป้าหมายของตนเอง อำนวยความสะดวก
28 บทบาทของคุณอำนวย • ช่วยให้กลุ่มได้มีการสนทนาที่สร้างสรรค์ และจะต้องช่วยให้กลุ่ม กำหนดวาระ/ประเด็น และบริหารกระบวนการอภิปราย • ผู้นำทางด้านกระบวนการ เป็นคนที่ทำให้กระบวนการง่ายขึ้น หรือสะดวก คล่องตัวขึ้น ช่วยเหลือ นำทางไม่ใช่ควบคุม
29 คุณอำนวย นำกลุ่มไปสู่การหาคำตอบ สร้างวิสัยทัศน์ และพัฒนาแผน ซึ่งจะจูงใจทุกคนให้นำเป้าหมายที่ตกลงกันไว้ ไปสู่ความสำเร็จ ทำหน้าที่เหมือนผู้อำนวยเพลง สร้างความสอดประสานกลมกลืน และนำศักยภาพ ความสามารถของทุกคน ให้ทุกคนมีส่วนสร้างความสำเร็จ จะต้องเป็นผู้สื่อสารและสร้างความเข้าใจระหว่างหน่วยงาน
30 คุณอำนวยไม่ใช่..... • โฆษกของกลุ่ม • ครูผู้บรรยาย • กรรมการผู้ตัดสิน • ผู้สังเกตการณ์ • ผู้นำหรือเจ้านาย • ผู้เชี่ยวชาญในเนื้อหา
31 ออกแบบ ให้ทุกคนมีส่วนนำ บริหาร ความสำเร็จสู่เป้าหมาย ที่ตกลงร่วมกัน กระบวนการ การ อำนวยกลุ่ม ที่เป็นกลาง นำอย่างไม่ ครอบงำ เน้นทำอย่างไร มากกว่าทำอะไร อำนวยความสะดวก ทำให้ง่ายขึ้น ใช้พลังศักยภาพ สื่อสาร จากสมาชิกกลุ่ม สร้างความ เข้าใจ