301 likes | 1.1k Views
การควบคุมข่ายงาน ( PERT/CPM ). น.อ. วุฒิชัย ชินไชยมงคล. การบริหารโครงการด้วย เทคนิค CPM /PERT. ส่วนประกอบของการบริหารโครงการ. งานย่อย หรือกิจกรรมย่อย กำหนด ขั้นตอน ของงานย่อย : ตามลำดับก่อนหลังหรือ ทำพร้อมกัน ระยะเวลา ของแต่ละงาน. เทคนิคที่ใช้วิเคราะห์โครงการ. Gantt Chart
E N D
การควบคุมข่ายงาน (PERT/CPM) น.อ. วุฒิชัย ชินไชยมงคล
การบริหารโครงการด้วย เทคนิค CPM /PERT ส่วนประกอบของการบริหารโครงการ • งานย่อยหรือกิจกรรมย่อย • กำหนดขั้นตอนของงานย่อย : ตามลำดับก่อนหลังหรือ ทำพร้อมกัน • ระยะเวลาของแต่ละงาน
เทคนิคที่ใช้วิเคราะห์โครงการเทคนิคที่ใช้วิเคราะห์โครงการ • Gantt Chart • CPM (Critical Path Method) • PERT (Program Evaluation and Review Technic)
วัตถุประสงค์การใช้ PERT/CPM • ช่วยวางแผนโครงการ : คำนวณเวลาการดำเนินงานของงานย่อย • ช่วยควบคุมโครงการ : ดำเนินงานตามแผนที่กำหนดไว้ • ช่วยบริหารทรัพยากรที่ใช้ในโครงการ : คน เครื่องมือ • ช่วยบริหารโครงการ: เร่งโครงการต้องเร่งกิจกรรมใด เพิ่มทรัพยากรเท่าไร
ความหมายของคำศัพท์ที่ใช้ใน PERT/CPM • งานย่อยหรือกิจกรรมย่อย ใช้สัญญลักษณ์ • เหตุการณ์ ใช้สัญญลักษณ์ แทนจุดเริ่มต้น • ของงาน หรือจุดสิ้นสุดของงาน • งานเทียม ใช้สัญญลักษณ์ เป็นงานที่ • ไม่ได้ปฏิบัติงานจริง ใช้แสดงความต่อเนื่องของงาน
ขั้นตอนของ PERT/CPM (1) • ศึกษารายละเอียดของโครงการ 1. กระจายกิจกรรม รวบรวมข้อมูล พิจารณาทั้งโครงการมีกี่กิจกรรม2. กำหนด ลำดับการทำงาน ของกิจกรรม ลำดับที่ ทำก่อน-ทำหลังหรือทำพร้อมกัน 3. ประมาณเวลาหรือคำนวณเวลา การดำเนินงานของ แต่ละกิจกรรม
ขั้นตอนของ PERT/CPM (2) • การสร้างข่ายงานเป็นแผนภาพลูกศร 1. กิจกรรมบนเส้นเชื่อม ประกอบด้วย 1 กิจกรรม (A) และ 2 เหตุการณ์ เช่น 1A22. กิจกรรมบนจุดเชื่อมเช่นAB 3. ทิศทางของลูกศรแสดงความต่อเนื่องของกิจกรรม
กฎเกณ์การสร้างข่ายงานกฎเกณ์การสร้างข่ายงาน • ข่ายงานต้องมีจุดเริ่มต้นโครงการเพียงจุดเดียวและจุดสิ้นสุดโครงการเพียงจุดเดียว • งานหรือกิจกรรมแทนด้วยเครื่องหมายลูกศรเพียงอันเดียว • งาน 2 งานที่เริ่มต้นที่เหตุการณ์เดียวกัน จะสิ้นสุดที่เหตุการณ์เดียวกันไม่ได้ • เส้นลูกศรที่แทนงานหรือกิจกรรมต้องเป็นเส้นตรง • ความยาวของลูกศรไม่ได้แทนระยะเวลาการทำงาน • เลขที่ลำดับเหตุการณ์ไล่จากซ้ายไปขวา
หัวข้อการวิเคราะห์ข่ายงานหัวข้อการวิเคราะห์ข่ายงาน 1. โครงการมีกิจกรรมใดบ้าง 2. ลำดับความต่อเนื่องของกิจกรรม 3. กำหนดเวลาหรือคำนวณเวลาเฉลี่ยการทำงานของกิจกรรมต่าง ๆ 4. กิจกรรมใดเป็นกิจกรรมวิกฤต (Critical activity) 5. กิจกรรมใดไม่เป็นกิจกรรมวิกฤต 6. โครงการที่ใช้ CPMคือโครงการที่รู้เวลาการทำงานของกิจกรรม 7. โครงการที่ใช้ PERTคือโครงการที่ต้องคำนวณเวลาเฉลี่ยของกิจกรรม
ชื่อเรียกเวลาต่าง ๆของงานหรือกิจกรรมย่อย • เวลาเริ่มต้นทำงานที่เร็วที่สุด (Earliest Start ตัวย่อคือ ES) • เวลาที่ทำงานเสร็จเร็วที่สุด (Earliest Finish ตัวย่อคือ EF) • เวลาที่เริ่มต้นทำงานช้าที่สุด แต่ไม่ทำให้โครงการล่าช้า (Latest Start ตัวย่อคือ LS) • เวลาที่ทำงานเสร็จช้าที่สุด แต่ไม่ทำให้โครงการล่าช้า (Latest Finish ตัวย่อคือ LF)
การคำนวณหาเวลาเริ่มต้นเร็วที่สุดและเวลาเสร็จเร็วที่สุดการคำนวณหาเวลาเริ่มต้นเร็วที่สุดและเวลาเสร็จเร็วที่สุด การคำนวณหา ES และ EF จะเริ่มจากเหตุการณ์แรกของโครงการจากทางซ้ายไปทางขวาจนถึงเหตุการณ์สุดท้ายของโครงการ ES=เวลาเริ่มต้นเร็วที่สุด EF=เวลาเสร็จเร็วที่สุด EF = ES + t ( t = เวลาที่ใช้ทำงานแต่ละงาน ) 3 0 A(3) 3 B(6) 9 3 2 1 • งาน A เวลาเสร็จเร็วที่สุดคือ EF = 0 + 3 = 3 (ES = 0 , t = 3) • งาน B เวลาเสร็จเร็วที่สุดคือ EF = 3 + 6 = 9 (ES = 3 , t = 6)
ตัวอย่างข่ายงานโครงการงานย่อย 10 งานจากตารางหน้า 8 A(4) = งาน A ใช้เวลาทำงาน 4 สัปดาห์ D(1) 8 E(3) I(3) 4 6 J(2) F(1) C(5) 5 1 2 3 7 9 A(4) B(3) H(1) G(1)
ตัวอย่าง การคำนวณค่า ES และ EF จาก ตารางหน้า 8 เหตุการณ์ เริ่มจากซ้ายไปขวา 1 2 9 งาน 10 8 D(1) งานเทียม 15 15 เวลาเริ่มต้นงาน t=0 9 12 I(3) 12 9 E(3) 4 6 9 9 J(2) F(1) 10 C(5) 5 17 4 0 4 4 7 7 8 8 9 1 2 3 7 9 A(4) B(3) G(1) H(1)
การคำนวณหาเวลาเริ่มต้นช้าที่สุดและเวลาเสร็จช้าที่สุดการคำนวณหาเวลาเริ่มต้นช้าที่สุดและเวลาเสร็จช้าที่สุด • การคำนวณหา LS และ LF จะเริ่มจากเหตุการณ์สุดท้ายของโครงการ จากทางขวาไปทางซ้ายจนถึงเหตุการณ์แรกสุดของโครงการ • LS= เวลาเริ่มต้นช้าที่สุด LF= เวลาเสร็จช้าที่สุด • LS = LF - t (t = เวลาทำงานของกิจกรรม) • งาน Bเวลาเริ่มต้นช้าที่สุดคือ LS = 9 - 6 = 3 (LF = 9 , t=6) • งาน Aเวลาเริ่มต้นช้าที่สุดคือ LS = 3 - 3 = 0 (LF = 3 , t=3) 3 1 0 A(3) 3 B(6) 9 3 2
ตัวอย่างข่ายงานโครงการงานย่อย 10 งานจากตารางหน้า 8 A(4) = งาน A ใช้เวลาทำงาน 4 สัปดาห์ D(1) 8 E(3) I(3) 4 6 J(2) F(1) C(5) 5 1 2 3 7 9 A(4) B(3) H(1) G(1)
ตัวอย่าง การคำนวณค่า LS และ LF จาก ตารางหน้า 8 8 เหตุการณ์เริ่มจากขวาไปซ้าย 9 1 งาน 15 งานเทียม 8 D(1) 15 15 เวลาเสร็จงานสุดท้าย t=17 14 12 E(3) 12 9 I(3) 4 6 9 11 J(2) F(1) 12 C(5) 5 17 4 0 4 17 6 9 15 16 16 1 2 3 7 9 A(4) B(3) G(1) H(1)
*** เส้นทางวิกฤต คือ เส้นทางที่ใช้เวลาดำเนินงาน โครงการมากที่สุด 10 A-C-E-I-J 8 D(1) 15 15 9 12 I(3) 12 E(3) 9 4 6 9 9 J(2) F(1) 10 C(5) 5 17 4 4 4 7 7 8 8 9 0 1 2 3 7 9 A(4) B(3) G(1) H(1) ***งานวิกฤต คือ งานที่อยู่ในเส้นทางวิกฤตทุกงาน
* เวลาเหลือ(Slack Time) คือเวลาที่เริ่มต้นดำเนินการของงานใด ๆสามารถเลื่อนระยะเวลาออกไปได้โดยที่ไม่ทำให้กำหนดการเสร็จสิ้นโครงการต้องล่าช้าหรือเลื่อนออกไป * เวลาเหลือแบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ1. เวลาเหลือทั้งหมด (Total Float) เป็นเวลาเหลือ สูงสุดที่เลื่อนออกไปได้ ไม่ทำให้โครงการล่าช้าTF = LS - ES หรือ TF = LF - EF2. เวลาเหลืออิสระ (Free Float) เป็นเวลาเหลือที่เลื่อนการเริ่มต้นงานนั้น ไม่กระทบงานที่ต่อเนื่อง
งาน เวลา ES EF LS LF เวลาเหลือ งานวิกฤต 4 3 5 1 3 1 1 1 3 2 0 4 4 9 9 9 7 8 12 15 4 7 9 10 12 10 8 9 15 17 0 6 4 14 9 11 15 16 12 15 4 9 9 15 12 12 16 17 15 17 0 2 0 5 0 2 8 8 0 0 $ $ $ $ $ A B C D E F G H I J
งานที่มีเวลาเหลือ คือ งานที่ไม่ได้อยู่ในเส้นทางวิกฤต