830 likes | 1.13k Views
EndNote X5. ปทุมทิพย์ ลิ้มพงศานุรักษ์ หอสมุดป๋วย อึ๊งภากรณ์, มธ. ศูนย์รังสิต. Introduction.
E N D
EndNoteX5 ปทุมทิพย์ ลิ้มพงศานุรักษ์หอสมุดป๋วย อึ๊งภากรณ์, มธ. ศูนย์รังสิต
Introduction • เป็นโปรแกรมที่ใช้ในการจัดการบรรณานุกรม โดยจัดเก็บรายการในรูปของฐานข้อมูล สามารถสืบค้น แก้ไข เปลี่ยนแปลงรายการ รวมทั้ง Importข้อมูลจากฐานข้อมูลออนไลน์ และ Exportรายการบรรณานุกรมออกไปเพื่อให้สามารถนำข้อมูลเหล่านั้นมาใช้ในการอ้างอิงภายในตัวเล่มวิทยานิพนธ์หรืองานวิจัยต่อไป • สร้างและแทรกรายการอ้างอิง (Reference) ในรูปแบบ (Style) ต่างๆ ได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว • ฐานข้อมูลบรรณานุกรมที่สร้างขึ้น เรียกว่า Libraryมีนามสกุล .enl • สามารถสร้าง Libraryได้ไม่จำกัดจำนวน • แต่ละ Libraryสามารถจัดเก็บรายการอ้างอิงได้ไม่จำกัดจำนวน
Introduction • สามารถถ่ายโอนไฟล์เอกสารรูปแบบ PDF (Importing PDF Files) • ไฟล์ PDF ที่จัดเก็บในโปรแกรมสามารถเพิ่มหรือไฮไลท์ข้อความที่สำคัญ ค้นหาเรื่องที่สนใจภายในเอกสาร พร้อมทั้งบันทึกหรือสั่งพิมพ์เอกสารได้ด้วย • สามารถเปลี่ยนรูปแบบการอ้างอิงในเนื้อหา (Citation in Text) ได้หลากหลายรูปแบบ เช่น Display as : Author (Year), Exclud author, Exclude year, Show only in Bibliography เป็นต้น • สามารถใช้งานกับโปรแกรมจัดการเอกสารทั่วไป MS for Windows 2003, 2007, 2040, OpenOffice.org version 3 writer • ใช้งานร่วมกับระบบปฏิบัติการ Windows XP, Vista และ7, Firefox
การติดตั้ง Connection File กรณีต้องการสืบค้นและ Importรายการบรรณานุกรม จากฐานข้อมูลทรัพยากรสารสนเทศสำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จำเป็นต้อง ติดตั้ง Connection Fileดังตัวอย่างข้างต้น
การเข้าสู่โปรแกรม EndNote X5 Start > Programs> EndNote > EndNote Program
ขั้นตอนการสร้างแฟ้มข้อมูลใหม่ (New file) • เลือก Create a new library โดยคลิกที่ภาพ
ตั้งชื่อแฟ้มข้อมูล (File) ตั้งชื่อ Library พร้อมระบุ Drive ที่จะจัดเก็บ (ปกติโปรแกรม EndNote จะอยู่ที่ Drive C)
หน้าจอ จะปรากฏชื่อ My EndNote Library ตามชื่อที่ตั้งไว้
Add References to EndNote library • การเพิ่มรายการอ้างอิงด้วยตนเอง (Entering References) • การถ่ายโอน (Import) ข้อมูลอ้างอิงจากฐานข้อมูลออนไลน์ต่างๆ เข้าสู่โปรแกรม EndNoteทำได้ 3 วิธี ดังนี้ • Direct Exportเป็นการถ่ายโอนรายการอ้างอิงที่สืบค้นจากฐานข้อมูลต่างๆ เข้าสู่ EndNoteโดยตรง • Importing Reference Data into EndNoteการ Saveรายการอ้างอิงที่สืบค้นจากฐานข้อมูลต่างๆ แล้วจึงนำมาถ่ายโอนเข้าสู่ EndNoteโดยใช้ Filterที่เหมาะสม • Online Searchการถ่ายโอนข้อมูลที่ได้จากการสืบค้นฐานข้อมูลผ่านหน้าจอ EndNote โดยตรง
Entering References • คลิกที่ Reference Menu • New Reference
Entering References • เลือกประเภทสิ่งพิมพ์ที่ต้องการจากส่วน Reference Type • พิมพ์รายละเอียดทางบรรณานุกรมที่สำคัญตามประเภทสิ่งพิมพ์ที่เลือก • จากนั้นคลิกที่เครื่องหมาย x เพื่อบันทึกข้อมูล
ตัวอย่างหน้าจอการพิมพ์ข้อมูลทางบรรณานุกรมตัวอย่างหน้าจอการพิมพ์ข้อมูลทางบรรณานุกรม คลิกที่เครื่องหมาย X (อยู่มุมบนขวาของหน้าจอ)เมื่อต้องการ Save ข้อมูล
ดูตัวอย่างการพิมพ์รายละเอียดทางบรรณานุกรมของReference Type แต่ละประเภท • C: > Programs> EndNoteX5 > Examples> Sample LibraryX5 • หมายเหตุ ปกติ โปรแกรม EndNote จะอยู่ที่ Drive C: ยกเว้นผู้ลงโปรแกรมจะกำหนดให้อยู่ Drive อื่น
Attach Figure คลิกที่ References แล้วเลือก Figure > Attach Figure
Attach Figure คลิกที่ Choose File เพื่อเลือกไฟล์ภาพที่ต้องการ
Attach Figure ต้องระบุคำอธิบายภาพในเขตข้อมูล Caption ทุกครั้งที่มีการ Attach Figure เพื่อประโยชน์ในการสืบค้นไฟล์ภาพ
FileAttachments คลิกที่ References แล้วเลือก File Attachments – Attach File
FileAttachments เลือกไฟล์ที่ต้องการ Attach เช่น ไฟล์ PDF เอกสารฉบับเต็มของบทความนี้
Journal • Author • สำหรับผู้แต่งที่เป็นชาวต่างชาติ ให้พิมพ์นามสกุล, ชื่อต้น ชื่อกลาง • ผู้แต่งชาวไทย ให้ใส่เครื่องหมาย , ต่อท้ายนามสกุล ตัวอย่างเช่น สุเทวี บ่อมณี, (เพื่อไม่ให้ระบบกลับนามสกุลมาไว้ก่อนชื่อ) • ผู้แต่งที่เป็นนิติบุคล ให้ใส่เครื่องหมาย , ต่อท้ายชื่อ เช่น มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, • ในกรณีที่มีผู้แต่งมากกว่า 1 คน ให้ใส่ชื่อผู้แต่งแต่ละคนแยกคนละบรรทัด โดยการกด Enterเพื่อขึ้นบรรทัดใหม่ • หากไม่ทราบชื่อผู้แต่ง ให้เว้นว่างในช่องชื่อผู้แต่ง • Year • ให้ใส่ปีที่พิมพ์ เป็นตัวเลข 4 หลัก เช่น 2008 • Title • ให้ขึ้นต้นชื่อเรื่องด้วย Capital Letter
Journal (ต่อ) • Journal • สามารถใส่ได้ทั้งชื่อเต็มของวารสาร และชื่อย่อของวารสาร • Volume ปีที่ • Issue ฉบับที่ • Pages • ใส่เลขหน้าแรก-เลขหน้าสุดท้าย โดยอาจจะใส่เป็นตัวเต็ม เช่น 131-139 หรือ 131-9
Book • Author • ผู้แต่งที่เป็นชาวต่างชาติ ให้ใส่นามสกุล, ชื่อต้น ชื่อกลาง • ผู้แต่งชาวไทย ให้ใส่เครื่องหมาย , ต่อท้ายนามสกุล ตัวอย่างเช่น สุเทวี บ่อมณี, (เพื่อไม่ให้ระบบกลับนามสกุลมาไว้ก่อนชื่อ) • กรณีที่มีผู้แต่งมากกว่า 1 คน ให้ใส่ชื่อผู้แต่งแต่ละคนแยกคนละบรรทัด โดยการกด Enterเพื่อขึ้นบรรทัดใหม่ • Year • ให้ใส่ปีพิมพ์ที่เป็นตัวเลข 4 หลัก เช่น 2007 • Title • ให้ขึ้นต้นชื่อเรื่องด้วย Capital Letter
Book (ต่อ) • City • ให้ใส่ชื่อสถานที่พิมพ์ ตามที่ปรากฏในหน้าปกใน • Publisher • ให้ใส่ชื่อสำนักพิมพ์ ตามที่ปรากฏในหน้าปกใน • Edition • ให้ใส่ครั้งที่พิมพ์ ตามที่ปรากฏในหน้าปกใน
Thesis • Author • ผู้แต่งที่เป็นชาวต่างชาติ ให้ใส่นามสกุล, ชื่อต้น ชื่อกลาง • Year • ให้ใส่ปีพิมพ์ตามที่ปรากฏ เป็นตัวเลข 4 หลัก เช่น 2005 • Title • ให้ขึ้นต้นชื่อเรื่องด้วย Capital Letter • University • ให้ชื่อมหาวิทยาลัย • Degree • ให้ใส่ชื่อปริญญา
ฐานข้อมูลออนไลน์ที่ใช้การ Direct Export • ABI/INFORM • Academic Search Elite • Academic Search Premier • Blackwell Synergy • Business Source Complete • Cambridge Journal Online • EconLit • JSTOR • Oxford Journals • PQDT • SAGE Journals Online • ScienceDirect • SpringerLink
ตัวอย่างการ Direct Export จากฐานข้อมูล ScienceDirect • คลิกที่ □ หน้ารายการบทความที่ต้องการ • คลิกที่ Export Citations
ตัวอย่างการ Direct Export จากฐานข้อมูล ScienceDirect • 1. Content Format สามารถเลือกรูปแบบได้ตามต้องการ • 2. Export Format • ให้เลือกที่ RIS format (for Reference Manager, EndNote) • 3. คลิก Export
ตัวอย่างการ Direct Export จากฐานข้อมูล ScienceDirect 1. เลือกชื่อ Library ที่ต้องการจัดเก็บข้อมูล 2. คลิก Open
ตัวอย่างการ Direct Export จากฐานข้อมูล ScienceDirect รายการบรรณานุกรมของบทความที่ได้เลือกไว้จะถูกถ่ายโอนเข้าสู่โปรแกรม EndNoteโดยอัตโนมัติ
Searching Online Database • การ Import ข้อมูลจากการติดต่อไปยัง Remote Access เช่น OPAC ของห้องสมุดในต่างประเทศ • รวมถึงการ Import ข้อมูลจากTU Library Catalog ด้วย
ตัวอย่างการ Import ข้อมูล ฐานข้อมูล TU Library Catalog จาก Menu Tools เลือก Online Search
ตัวอย่างการ Import ข้อมูล ฐานข้อมูล TU Library Catalog • ค้นหาฐานข้อมูลที่ชื่อ Thammasat University • จากนั้น คลิก Choose