480 likes | 735 Views
กระบวนการตรวจสอบข้อมูลด้วยโปรแกรม IPHDC.NET สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพังงา 12-14 สิงหาคม 2557. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพังงา. กระทรวงสาธารณสุข. จังหวัดพังงา. ประกอบด้วย 8 อำเภอ 48 ตำบล (รวมเขตเทศบาลเมือง 2 ตำบล) 321 หมู่บ้าน 19 ชุมชน (ในเขตเทศบาลเมือง). หน่วยบริการ.
E N D
กระบวนการตรวจสอบข้อมูลด้วยโปรแกรม IPHDC.NETสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพังงา12-14 สิงหาคม 2557
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพังงาสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพังงา กระทรวงสาธารณสุข
จังหวัดพังงา • ประกอบด้วย • 8 อำเภอ 48 ตำบล (รวมเขตเทศบาลเมือง 2 ตำบล) • 321 หมู่บ้าน 19 ชุมชน (ในเขตเทศบาลเมือง)
หน่วยบริการ โรงพยาบาลทั่วไป จำนวน 2 แห่ง โรงพยาบาลชุมชน จำนวน 7 แห่ง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จำนวน 64 แห่ง โรงพยาบาลสังกัดกระทรวงกลาโหม จำนวน 1 แห่ง สถานบริการสาธารณสุขเทศบาล จำนวน 2 แห่ง สถานบริการเรือนจำ จำนวน 2 แห่ง
ประชากร • จากทะเบียนราษฎร์ ณ กรกฎาคม 2556 จำนวน 256,721 คน • ชาย 128,267 คน • หญิง 128,454 คน • จากการสำรวจ ณ กรกฎาคม 2556 จำนวน 256,656 คน • ชาย 128,170คน • หญิง 128,486คน
วิสัยทัศน์สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพังงาวิสัยทัศน์สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพังงา “องค์กรสุขภาพชั้นนำฝั่งอันดามัน รองรับการท่องเที่ยวระดับโลก ภายในปี 2560”
พันธกิจ 1.บริหารจัดการระบบสุขภาพให้ได้คุณภาพและมาตรฐาน 2.เสริมสร้างความเข้มแข็งและการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน 3.ส่งเสริมบริการสุขภาพเพื่อการท่องเที่ยว 4.ส่งเสริมการสร้างสุขภาวะด้วยวิถีไทยตามแนวปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง
ความเป็นมาของปัญหาด้านข้อมูลความเป็นมาของปัญหาด้านข้อมูล ที่มาของการพัฒนาระบบการตรวจสอบฐานข้อมูลให้มีความสมบูรณ์ เพื่อให้มีการใช้ประโยชน์ฐานข้อมูลได้อย่างแท้จริง :: จากผลการปฏิบัติงาน และการตรวจนิเทศงาน พบปัญหา เช่น 1 ภาระการบันทึกข้อมูลจำนวนมาก 2 ข้อมูลยังมีความซ้ำซ้อนขาดความเป็นเอกภาพ ความหลากหลายของโปรแกรมจัดการฐานข้อมูล 3 ข้อมูลจากการบันทึกไม่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ 4
วัตถุประสงค์การดำเนินงานวัตถุประสงค์การดำเนินงาน ประเด็นการพัฒนาระบบตรวจสอบฐานข้อมูล • พัฒนาระบบฐานข้อมูลจากตรวจสอบข้อมูลระดับจังหวัด Data Center (43,21 แฟ้ม) ประเด็นที่ 1 • พัฒนาระบบรายงานสรุปผลการปฏิบัติงานด้านสาธารณสุข (KPI Template Online) ประเด็นที่ 2
ระบบฐานข้อมูล (Database System) ของหน่วยบริการสาธารณสุข จากโปรแกรม • M Record • Home C • Hos XP • Hospital OS • JHCIS-------------------------------------------- • 43 File Database เครื่องมือ
ขั้นตอนการดำเนินงาน จัดตั้งคณะทำงานพัฒนาระบบฐานข้อมูลระดับจังหวัด ประชุมคณะทำงานเพื่อกำหนดกรอบการพัฒนาฐานข้อมูลระดับจังหวัด
ขั้นตอนการดำเนินงาน (ระหว่าง ตค56-กย57) • ศึกษาตัวชี้วัดและรายงานผลการปฏิบัติงาน พัฒนาต้นแบบตัวชี้วัด KPI Template • ออกแบบโปรแกรมระบบสารสนเทศ(เว็ปไซด์ www.iphdc.net) เพื่อการประมวลผลฐานข้อมูล Data Center (43 แฟ้ม)
การประชุมอย่างต่อเนื่อง (ประเด็นสำคัญ) • คณะทำงานพัฒนาข้อมูลมีการประชุมอย่างต่อเนื่อง เพื่อแก้ปัญหาร่วมกัน (KM ทุกเดือน)
สรุปผลการดำเนินงาน • พัฒนาต้นแบบตัวชี้วัด KPI Template55 , KPI Template56 • และ KPI Templat57 online
การดำเนินงาน • แนวคิดใช้ต้นแบบตัวชี้วัด KPI Template ควบคู่กับระบบประมวลผลจาก Database • ข้อมูลที่ไม่มีใน 43 แฟ้ม • ข้อมูลที่มีใน 43 แฟ้ม แต่ยังไม่ครบถ้วน หรือให้ทำให้สมบูรณ์ได้ยาก
การดำเนินงาน • พัฒนาชุดคำสั่งประมวลผลข้อมูล SQL • ฐานข้อมูล JHCIS • ฐานข้อมูล Hospital OS • ฐานข้อมูล HosXP • ฐานข้อมูล Home C และ M Recoard • เน้นสร้างองค์ความรู้บุคลากร และสร้างทีมพัฒนาระบบของจังหวัด • สร้างเครือข่ายพัฒนาร่วมกันในเครือข่ายบริการสุขภาพที่ 11 และจังหวัดอื่นๆ
เว็ปไซด์สำหรับตรวจสอบความสมบูรณ์เว็ปไซด์สำหรับตรวจสอบความสมบูรณ์
ตัวอย่าง Report: มูลค่าการใช้ยาสมุนไพรของผู้ป่วยนอก(ราคาทุน)
ตัวอย่าง Report: จำนวนครั้งการเข้ารับบริการจำแนกสิทธิ
ตัวอย่าง Report: รายงาน 505 ตัวอย่าง Report: รายงาน 505
ตัวอย่าง: ข้อมูล service อำเภอท้ายเหมือง
สรุปการส่งข้อมูล 43 แฟ้ม (ณ. 30-07-2557) • ผลงาน 100% การส่งข้อมูล 43 แฟ้ม • ขอบคุณหน่วยบริการ • -กำลังปรับให้ส่งRealtime
ประเด็นการตรวจสอบฐานข้อมูล [KM ทุกเดือนโดย Admin] • -------------------------------------------------------- • ระบบตรวจสอบความสมบูรณ์ของการบันทึกข้อมูล เช่น • PERSON >> เพศ, ศาสนา, อาชีพ, ระดับการศึกษา • SERVICE >> ปริมาณการรับบริการ คน/ครั้ง/ค่าใช้จ่าย/สิทธิ (Work load) • DIAG >> ข้อมูลการวินิจฉัยโรค OPD/IPD , 504, 505 • CHRONIC >> ข้อมูลทะเบียนผู้ป่วยเรื้อรัง • DENTAL >> ข้อมูลทันตกรรม • ปริมาณข้อมูล 43 แฟ้ม (ต้นทาง =Data Center) • ฯลฯ รายงานตรวจสอบความสมบูรณ์ครอบคลุม 43 แฟ้มมาตรฐาน • ----------------------------------------------------------------------- • ก้าวถัดไป...... • สถิติ/รายงาน/ตัวชี้วัด สำหรับหน่วยงานแต่ละระดับ (ตอบสนองความต้องการพื้นที่) • ระบบข้อมูลสำหรับหน่วยบริการ เช่น เป้าหมายในพื้นที่ >> จำนวน/รายชื่อ
ส่วนต่าง PERSON 43 แฟ้มกับ ประชากรกลางปี กค.56 ข้อมูล ณ 30/7/57 -----------------------------------------------------------------
Workshop JHCIS ภาพกิจกรรม:สสจ.พังงา 28-29กรกฎาคม 2557
บทสรุปผู้บริหารเพื่อการสนับสนุนการดำเนินงานบทสรุปผู้บริหารเพื่อการสนับสนุนการดำเนินงาน ----------------------------------------------------------------- ส่งข้อมูล 43 แฟ้ม ทุกเดือน ส่งข้อมูล 21 แฟ้ม ทุกเดือน บันทึกข้อมูลผลการปฏิบัติงาน KPI Template57 online ก่อนวันที่ 15 คณะทำงานฯ พัฒนา Report Center สำหรับประมวลผลจาก 43 แฟ้ม www.iphdc.net ----------------------------------------------------------------- (เพื่อตอบสนองหน่วยบริการใช้ข้อมูลร่วมกันทุกระดับ) (สสจ./สสอ./รพท./รพช./รพ.สต./ท้องถิ่น/ชุมชน) ----------------------------------------------------------------- พัฒนาระบบโดย: คณะทำงานระบบข้อมูลสาธารณสุขจังหวัดพังงา
รายงานที่ปรับลดการรายงานและใช้การประมวลผลจาก 43 แฟ้ม เช่น www.iphdc.netเมนู report_center
ReportCenter ที่ www.iphdc.net (รายงานทดสอบความสมบูรณ์)
สรุป Report 43 KPI Template ----------------------------------------------------------------- มีระบบการตรวจสอบฐานข้อมูลอย่างต่อเนื่อง เช่น นำเสนอที่ประชุมประจำเดือน พร้อมรับการตรวจสอบและนิเทศติดตาม
ระบบรายงานตัวใหม่ Framework อยู่ในระหว่างทดสอบ
ปัจจัยความสำเร็จ • สร้างระบบประมวลผลด้วยทีมฯ จากฐานข้อมูลที่ออกแบบเอง จาก 43 แฟ้ม (KM ทุกเดือน) • สร้าง Admin ระดับ หน่วยบริการและทีมระดับอำเภอ • พัฒนาองค์ความรู้บุคลากรทุกระดับเป็นเรื่องสำคัญ • การสนับสนุนจากผู้บริหาร
ปัญหาและอุปสรรค • ฐานข้อมูลหน่วยบริการมีความหลากหลาย ต้องอาศัยเจ้าของผู้พัฒนาโปรแกรม และทีม admin ของแต่ละโรงพยาบาล • เครือข่ายอินเตอร์เน็ตจำเป็นต้องครอบคลุมทุกพื้นที่
ข้อเสนอแนะ • การพัฒนาทีม Admin และ User อย่างต่อเนื่อง • การพัฒนาในเชิงวิชาการช่วยให้ระบบได้รับการพัฒนาอย่างมีประสิทธิภาพ • เน้นให้มีการใช้ประโยชน์จากข้อมูลจาก Data Center มีข้อตกลงร่วมกันที่จะไม่ให้ขอข้อมูลตรงจากสถานบริการ • การผลักดันให้มีศูนย์ข้อมูลในระดับจังหวัดเพียงศูนย์เดียว และมีหน้าที่ในการบริหารข้อมูลให้มีประสิทธิภาพ • ทีมงานซึ่งมีความสำคัญเป็นอย่างมากต่อการผลักดันงานให้มีความก้าวหน้าได้อย่างต่อเนื่อง และจะต้องสร้างขวัญกำลังใจให้กับบุคคลเหล่านี้ครอบคลุมในทุกระดับ
ข้อเสนอแนะ • การจัดให้มีการประชุมอย่างสม่ำเสมอเพื่อให้กลุ่มได้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ร่วมกันในการแก้ปัญหาและร่วมกันในการกำหนดให้เป็นแนวทางเดียวกัน • ผู้บริหารให้ความสำคัญมีระบบติดตามอย่างต่อเนื่องและสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินงานทั้งระบบ • การรายงานความก้าวหน้าในที่ประชุมกรรมการวางแผนและประเมินผลทุกเดือน จะทำให้ผู้บริหารในทุกระดับทราบความก้าวหน้าและปัญหาอุปสรรค และจะให้การสนับสนุนในการดำเนินงานมีความคล่องตัวมากขึ้น
การพัฒนาเน้นประหยัดและยั่งยืนการพัฒนาเน้นประหยัดและยั่งยืน (เศรษฐกิจพอเพียง) ::ที่สำคัญฐานข้อมูลใช้ประโยชน์ได้จริง::
รางวัลแห่งความภาคภูมิใจ(ระบบข้อมูล)รางวัลแห่งความภาคภูมิใจ(ระบบข้อมูล)
รางวัลแห่งความภาคภูมิใจ (R2R ฐานข้อมูลโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 2555)
รองชนะเลิศอันดับ 1 รางวัล OP/PP Award 2556