210 likes | 795 Views
งบประมาณ กองทุนโรคเรื้อรัง สปสช. โครงการสุขภาพดีวิถีไทย ปี 2557. 28 กุมภาพันธ์ 2558. งบประมาณปี 2557 จำนวน 28 ,415,452. กองทุน โ รคเรื้อรัง. กลุ่มเป้าหมาย. ผู้ป่วย โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง. เป็นงบชดเชยบริการ จ่าย on top เพิ่มเติมงบเหมาจ่ายรายหัวปกติในการ
E N D
งบประมาณ กองทุนโรคเรื้อรัง สปสช.โครงการสุขภาพดีวิถีไทย ปี 2557 28 กุมภาพันธ์ 2558
งบประมาณปี 2557 จำนวน 28,415,452 กองทุนโรคเรื้อรัง กลุ่มเป้าหมาย ผู้ป่วย โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง เป็นงบชดเชยบริการ จ่าย on top เพิ่มเติมงบเหมาจ่ายรายหัวปกติในการ * ค้นหาผู้ป่วย DM/HT รายใหม่ระยะเริ่มแรก (Early Detection) * รักษาผู้ป่วยตั้งแต่ต้น (prompt treatment) * เพิ่มคุณภาพการรักษาผู้ป่วย วัตถุประสงค์ 1. เพิ่มการเข้าถึงบริการ ควบคุม ป้องกัน รักษาภาวะเสี่ยง โรคแทรกซ้อน โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง 2. ยกระดับมาตรฐานคุณภาพบริการ เพื่อป้องกันและ ชะลอภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวานความดันโลหิตสูง
หลักเกณฑ์ เงื่อนไขการจัดสรรงบประมาณการจ่ายงบประมาณ ตามจำนวนผู้ป่วย และผลงาน คุณภาพบริการ25,026,452บาท 60%จัดสรรตามจำนวนผู้ป่วย OP indiv 40% ตามความครอบคลุมและคุณภาพบริการ 2 rdPrevention ราย หน่วยบริการ โซน จัดสรรไปที่ รพ.หัวหน้าโซน
ผลงานพัฒนาคุณภาพบริการปี 2553-2556
ผู้ป่วยเบาหวาน ปีงบประมาณ 2553-2556 ตัวชี้วัด ร้อยละของผู้ป่วยDM คุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดี ร้อยละ 40
ผู้ป่วยความดันโลหิตสูง ปีงบประมาณ 2553-2556 ตัวชี้วัดร้อยละของผู้ป่วยคุมระดับความดันโลหิตได้ดี ร้อยละ 50
ผลการสำรวจ Medresnetร้อยละของผลงานบริการเบาหวานชนิดที่ 2 ตัวชี้วัด ร้อยละ60 ของผู้ป่วยDM ได้รับการตรวจ หาภาวะแทรกซ้อน
ผลการสำรวจ Med Rest Netร้อยละของผลงานบริการโรคความดันโลหิตสูง ตัวชี้วัด ร้อยละ60 ของผู้ป่วย HT ได้รับการตรวจ หาภาวะแทรกซ้อน
โครงการสุขภาพดีวิถีไทยโครงการสุขภาพดีวิถีไทย
แผนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย พ.ศ.2554-2563 เป้าประสงค์สูงสุด ประชาชน ชุมชน สังคม และประเทศ มีภูมิคุ้มกันและศักยภาพในการสกัดกั้นภัยคุกคามสุขภาพจากโรควิถีชีวิตที่สำคัญได้ เป้าหมายและตัวชี้วัดหลักในการพัฒนา [3 เป้าหมายหลัก, 18 ตัวชี้วัดหลัก] 5 โรควิถีชีวิตที่สำคัญ 1] เบาหวาน 2] ความดันโลหิตสูง 3] หัวใจ 4] หลอดเลือดสมอง 5] มะเร็ง 5 ด้าน 1] การเกิดโรค 2] ภาวะแทรกซ้อน 3] พิการ 4] ตาย 5] ภาระค่าใช้จ่าย 3 วิถีชีวิตที่พอเพียง 1] การบริโภคที่เหมาะสม 2] การออกกำลังกายที่เพียงพอ 3] การจัดการอารมณ์ได้ เหมาะสม ระยะกลาง 5 ปี [2554-2558] ปฎิบัติการเชิงรุกสู่การวางรากฐานที่ มั่นคงเชิงโครงสร้างและระบบ ระยะยาว 10 ปี [2554-2563] สร้างความเข้มแข็งเชิงโครงสร้าง และระบบการป้องกันและ แก้ไขปัญหาอย่างยั่งยืน ระยะสั้น 1-3 ปี [2554-2556] บูรณาการความคิด สร้างความ เชื่อมั่นและการมีส่วนร่วม ขับเคลื่อนของภาคีเครือข่ายร่วม Roadmap Strategy นโยบาย สาธารณะ สร้างสุข การขับเคลื่อนทางสังคม และ สื่อสารสาธารณะ การพัฒนา ศักยภาพ ชุมชน การพัฒนาระบบ เฝ้าระวังและ การจัดการโรค การสร้างความ เข้มแข็งของระบบ สนับสนุนยุทธศาสตร์
เป้าหมายและตัวชี้วัดที่สำคัญสุขภาพดีวิถีชีวิตไทย ลดภัยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง • 1. หมู่บ้าน/ชุมชนสร้างสุขภาพดีวิถีชีวิตไทย (3อ.2ส.) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 • (18,738 แห่ง) • 2. รพ.สต. ขนาดใหญ่ (1,000 แห่ง ในชุมชน และ 215 แห่ง ในเขตเมือง) ผ่านเกณฑ์ตำบลจัดการสุขภาพดีวิถีชีวิตไทย ตาม • มาตรฐานที่กำหนด (ระดับดีมากไม่น้อยกว่าร้อยละ 25) • 3. ศูนย์เรียนรู้สร้างสุขภาพดีวิถีชีวิตไทยระดับตำบล ไม่น้อยกว่าร้อยละ 15 (1,088 แห่ง) • 4. ประชาชนอายุ15 ปีขึ้นไป พระภิกษุ สามเณร และผู้นำศาสนาได้รับการคัดกรอง DM & HT ร้อยละ 90 • 5. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงต่อ DM (pre-DM) ป่วยเป็น DM ไม่เกินร้อยละ 4รายใหม่ ร้อยละ 19.88 • 6. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงต่อ HT (pre-HT) ป่วยเป็น HT ไม่เกินร้อยละ 8 รายใหม่ ร้อยละ 4.76 • 7. อัตราผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ไม่เกินร้อยละ 5 รายใหม่ ร้อยละ 4.6 • 8. อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่ไม่เกินร้อยละ 10 รายใหม่ ร้อยละ 1.08 • 9. ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการคัดกรองภาวะแทรกซ้อน (ตา ไต เท้า) ร้อยละ 60 • ตา ร้อยละ 44.15 เท้า ร้อยละ 37.12 ไตร้อยละ 51.32 • 10. ผู้ป่วยเบาหวานมีภาวะแทรกซ้อนลดลงไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 • 11. ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงได้รับการคัดกรองภาวะแทรกซ้อน (ไต) ร้อยละ 60 ตรวจได้ ร้อยละ 41.86 • 12. ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงมีภาวะแทรกซ้อนลดลงไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 • 13. สตรีอายุ 30-60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ด้วยวิธี Pap Smear/VIA ร้อยละ 60ตรวจได้ ร้อยละ 60.98 • 14. อัตราตายโรคหัวใจขาดเลือดลดลง ร้อยละ 1 ป่วย ปี 55 28,085 คน • 15. อัตราตายโรคหลอดเลือดสมองลดลง ร้อยละ 2 ป่วย ปี 55 12,991 คน • ปี 56 ตาย 124.85 ต่อแสนประชากร
การแบ่งกลุ่มเฝ้าระวังและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ตามปิงปองจราจร 7 สี 43แฟ้ม จากรายงาน ปิงปองจราจรชีวิต DM ร้อยละ 66.81 HT ร้อยละ 69.10 คัดกรอง DM ร้อยละ 42.03 HTร้อยละ 40.44
งบประมาณสุขภาพดีวิถีไทย 2557 ระดับอำเภอ จำนวน 530,000 บาท • จัดสรรตามผลงานคัดกรอง ฐานข้อมูล 43 แฟ้ม และ นำเสนอผลงานและ แหล่งศึกษาดูงาน ปิงปอง 7สี ปี 2556 ดีเด่น 4 อำเภอ ๆละ 50,000 บาท สสอ. สารภี ฮอด แม่แจ่ม หางดง พัฒนา 3 อำเภอๆละ 50,000 บาท สสอ. เวียงแหง ดอยสะเก็ด สันกำแพง อีก 18 อำเภอ ๆละ 10,000 บาท
หน้าที่ของ สสอ. ในงานสุขภาพดีวิถีชีวิตไทย • จัดทำแผนงานและแผนปฏิบัติการควบคุม ป้องกันและดูแล โรคเรื้อรัง ของคณะกรรมการสุขภาพระดับอำเภอ • บริหารจัดการเพื่อให้เกิดการสรุปบทเรียน สร้างกระแสโรคเรื้อรังในอำเภอ • ประสานงานระดับนโยบาย/สร้างความร่วมมือในท้องถิ่นเพื่อการสนับสนุนทรัพยากรจาก กองทุนต่างและแผนพัฒนาท้องถิ่นในการทำงานคัดกรอง ปรับพฤติกรรมเสี่ยง • พัฒนาระบบการส่งต่อ ระหว่างหน่วยบริการ รพช. รพสต.และการดูแลต่อเนื่องในชุมชน • พัฒนาระบบงานระบาดวิทยา และข้อมูลข่าวสารงานโรคเรื้อรังอำเภอ • นิเทศ ติดตาม กำกับอำนวยการการดำเนินงานด้านการควบคุมป้องกันโรคให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล แก้ไขปัญหาได้ทันการณ์
สานต่อและขยายผลงานหลักงาน NCDใน ปี 2557 1. คัดกรองเบาหวาน ความดันโลหิตสูง สมุดบันทึกสุขภาพ, การประเมินโรคหลอด เลือดสมองด้วยตนเอง2. พัฒนาหมู่บ้านต้นแบบปรับเปลี่ยนพฤติกรรม,ตำบลจัดการสุขภาพดีวิถีชีวิตไทย, ศูนย์เรียนรู้สร้างสุขภาพดีวิถีชีวิตไทยระดับตำบล 3. การคัดเลือก เชิดชูเกียรติ ผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงต้นแบบ 4. จัดการความรู้ผลการดำเนินงานหน่วยงาน การส่งเสริมป้องกัน งานบริการผู้ป่วย 1. พัฒนาเครือข่าย พยาบาลผู้จัดการโรคเรื้อรังรายกรณี CaseManager, และทีมสหวิชาชีพ ใน การค้นหา ป้องกันโรคแทรกซ้อน ตา ไต ,การตรวจสุขภาพช่องปากผู้ป่วยเบาหวาน และ Self Monitoring Blood Guclose , Blood Pressure 2. พัฒนาคลินิก NCD คุณภาพ 3. นำร่อง Telemedicine ระหว่าง รพสต.บ้านแม่แฮเหนือ อำเภอแม่แจ่ม และรพ.แม่วาง
งบประมาณสุขภาพดีวิถีไทย 2557 ระดับอำเภอ จำนวน 530,000 บาท
สวัสดี สวัสดี