1 / 147

การทบทวนแผนยุทธศาสตร์และ จัดทำแผนปฏิบัติการประจำปี 2557

การทบทวนแผนยุทธศาสตร์และ จัดทำแผนปฏิบัติการประจำปี 2557. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี. นโยบายรัฐบาล. หลุดพ้นจากประเทศรายได้ปานกลาง เป็นศูนย์กลางการเชื่อมโยงเศรษฐกิจ ในภูมิภาค ความเหลื่อมล้ำน้อยลง เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ศักยภาพในการแข่งขันสูงขึ้น. ประเด็นปัญหาสำคัญของประเทศ.

aysel
Download Presentation

การทบทวนแผนยุทธศาสตร์และ จัดทำแผนปฏิบัติการประจำปี 2557

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การทบทวนแผนยุทธศาสตร์และจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปี 2557 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี

  2. นโยบายรัฐบาล หลุดพ้นจากประเทศรายได้ปานกลาง เป็นศูนย์กลางการเชื่อมโยงเศรษฐกิจ ในภูมิภาค ความเหลื่อมล้ำน้อยลง เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ศักยภาพในการแข่งขันสูงขึ้น

  3. ประเด็นปัญหาสำคัญของประเทศประเด็นปัญหาสำคัญของประเทศ ขีดความสามารถในการแข่งขันลดลง ความเหลื่อมล้ำทางสังคมและรายได้ ของประชาชน ความไม่สมดุลทางเศรษฐกิจ การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศโลก

  4. วิสัยทัศน์ประเทศ ประเทศมีขีดความสามารถในกรแข่งขัน คนไทยอยู่ดี กินดี มีความเสมอภาคและ เป็นธรรม

  5. ยุทธศาสตร์ประเทศ 1.การสร้างความสามารถในการแข่งขัน (Growth & Competitiveness) 2.การสร้างโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทาง สังคม (Inclusive Growth) 3.การสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม (Green Growth) 4.ปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการ ภาครัฐ

  6. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1การสร้างความสามารถในการแข่งขัน (Growth & Competitiveness) ศูนย์กลางการให้บริการสุขภาพ(Medical Hub) Spa นวดแผนไทย Long stay for ยาสมุนไพร ผลิตภัณฑ์สมุนไพร วิจัย/พัฒนาเทคโนโลยีทางการแพทย์ ส่งเสริมการเป็น International Medical Training Center

  7. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1การสร้างความสามารถในการแข่งขัน (Growth & Competitiveness) การยกระดับคุณภาพบริการสาธารณสุข เพื่อลดความเหลื่อมล้ำ -พัฒนาเครือข่ายบริการสุขภาพ(Service Plan) -บูรณาการระบบประกันสุขภาพ3กองทุน

  8. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2การสร้างโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสังคม (Inclusive Growth) การพัฒนาระบบประกันสุขภาพ -แผนพัฒนาระบบริการสุขภาพ 12 เครือข่าย -บูรณาการระบบประกันสุขภาพ 3 กองทุน (บูรณาการสิทธิประโยชน์ พัฒนาระบบเบิกจ่าย บูรณาการ ระบบข้อมูลสุขภาพ/สารสนเทศ)

  9. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2การสร้างโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสังคม (Inclusive Growth) การคุ้มครองทางสังคม ศูนย์ช่วยเหลือสังคม (OSCC:one stop service case management) -กลุ่มเป้าหมาย : เด็กและเยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ ผู้พิการ บุคคลเร่ร่อน/ไร้ที่พึ่ง ขอทาน บุคคลสูญหาย บุคคลที่ถูกกระทำรุนแรงโดยครอบครัว ผู้ที่ได้รับผลกระทบจากการค้ามนุษย์ (ดำเนินการให้ความช่วยเหลือตามพ.ร.บ./กฎหมายต่างๆ)

  10. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2การสร้างโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสังคม (Inclusive Growth) ตามเป้าหมายการพัฒนา-คนไทยทุกคน กลุ่มเด็ก 0-5 ปี กลุ่มนักเรียน 5-14ปี กลุ่มวัยรุ่น/นักศึกษา 15-21 ปี กลุ่มวัยแรงงาน 15-59 ปี ผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป

  11. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3การสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม (Green Growth) ใช้พลังงานที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม สร้างความร่วมมือในภูมิภาคอาเซียนเพื่อการเจริญทางเศรษฐกิจที่ไม่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ฟื้นฟูป่ารักษาสมดุลของระบบนิเวศ การรับมือและปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

  12. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4ปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการ ภาครัฐ เพิ่มประสิทธิภาพภาครัฐ การบูรณาการการบริหารจัดการเชิงพื้นที่ การบริหารจัดการองค์ความรู้ภาครัฐ เร่งการแก้ไขปัญหาไม่สงบจังหวัดชายแดนภาคใต้ การดำเนินการก่อนเข้าสู่ประชาคมอาเซียนปี 2558

  13. นโยบายรัฐบาลปี 2557-2558 นำพาประเทศสู่ประชาคมอาเซียน พัฒนาทักษะภาษาอังกฤษและภาษาอาเซียน เร่งรัดการปรับปรุงกฎหมาย และกฎระเบียบให้ สอดคล้องกับพันธกรณี เร่งรัดการเชื่อมโยงระบบ National Single Window ระหว่างหน่วยงานภายในเพื่อรองรับ ASEAN Single Window ดำเนินการก่อสร้างระบบคมนาคมภายในเชื่อมโยงกับทาง หลวงอาเซียนผ่าน 11ด่าน เร่งรัดการเปิดด่านถาวรบ้านพุน้ำร้อนเพื่อรองรับท่าเรือทวาย พัฒนาระบบจัดสวัสดิการ บริการทางสังคม และการคุ้มครอง ผู้บริโภค

  14. วิสัยทัศน์กระทรวงสาธารณสุขวิสัยทัศน์กระทรวงสาธารณสุข • ภายในทศวรรษต่อไป คนไทยทุกคนจะมีสุขภาพแข็งแรงเพิ่มขึ้น เพื่อสร้างความเจริญเติบโต ทางเศรษฐกิจของประเทศทั้งทางตรงและทางอ้อมอย่างยั่งยืน

  15. เป้าหมาย • 1. อายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิด ไม่น้อยกว่า 80 ปี • 2. อายุคาดเฉลี่ยของการมีสุขภาพดี ไม่น้อยกว่า 72 ปี

  16. ยุทธศาสตร์ที่ 1การพัฒนาสุขภาพ

  17. กลุ่มเด็กปฐมวัย 0-5 ปี/สตรี 1. อัตราส่วนมารดาตาย (ไม่เกิน 15 ต่อการเกิด มีชีพแสนคน) 2.ร้อยละของเด็กที่มีการพัฒนาการสมวัย (ไม่น้อยกว่า 85 คน)

  18. กลุ่มเด็กวัยเรียน (5 – 14 ปี) 3. ร้อยละของเด็กนักเรียนมีภาวะอ้วน (ไม่เกิน 15) 4. เด็กไทยมีความฉลาดทางสติปัญญา (ไม่น้อยกว่า 100)

  19. กลุ่มเด็กวัยรุ่น/นักศึกษา (15 – 21 ปี) 5. อัตราการคลอดในมารดอายุ 15-19 ปี (ไม่เกิน 50 ต่อประชากรอายุ 15-19 ปี พันคน) 6. ความชุกของผู้บริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในประชากร อายุ 15-19 ปี (ไม่เกิน 13)

  20. กลุ่มวัยทำงาน 7. อัตราตายจากอุบัติเหตุทางถนน (ไม่เกิน 13 ต่อประชากรแสนคน) 8. อัตราจากโรคหลอดเลือดหัวใจ (ไม่เกิน 20 ต่อประชากรแสนคน)

  21. กลุ่มผู้สูงอายุและผู้พิการกลุ่มผู้สูงอายุและผู้พิการ 9. อัตราการตายจากโรคหลอดเลือดสมองในผู้สูงอายุ (ไม่เกินร้อยละ 20 ต่อประชากร แสนคน) 10. ผู้พิการทางการเคลื่อนไหวได้รับบริการครบถ้วน (ร้อยละ 100 ภายใน 3-5 ปี)

  22. ยุทธศาสตร์ที่ 2พัฒนาและจัดระบบบริการที่มีคุณภาพมาตรฐาน ครอบคลุม ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการ (มากกว่าร้อยละ 31)

  23. การเข้าถึงบริการ 1. ลดความแออัด และเวลารอคอย (เป้าหมาย) 2. ร้อยละของผู้ป่วยนอกได้รับบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกที่ได้มาตรฐาน (เท่ากับ 16) 3. ส่งต่อผู้ป่วยนอกเขตบริการ (ลดลงร้อยละ 50) 4. ร้อยละของ รพ. ระดับ M2-F2 สามารถให้ยาละลายลิ่มเลือดได้ (ร้อยละ 50) 5. ร้อยละของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเข้าถึงบริการ (มากกว่า ร้อยละ 31)

  24. คุณภาพบริการ 6. ร้อยละของบริการ ANC คุณภาพ (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70) 7. ร้อยละของห้องคลอดคุณภาพ (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70) 8. ร้อยละของWCCคุณภาพ (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70) 9. ร้อยละของศูนย์เด็กเล็กคุณภาพระดับดีและดีมาก (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70) 10. ร้อยละของศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ (Psychosocial Clinic) และเชื่อมโยงกับระบบช่วยเหลือ

  25. คุณภาพบริการ (ต่อ) 11. ร้อยละของคลินิก NCDคุณภาพ (ไม่น้อยกว่า 70) 12. ร้อยละของอำเภอที่มีทีม miniMERT, MCATT, SRRTคุณภาพ (เท่ากับ 80) 13. ร้อยละของEMS คุณภาพ( ไม่น้อยกว่า 80)

  26. คุณภาพบริการ (ต่อ) 14. ร้อยละของเครือข่ายห้องปฏิบัติการด้านการแพทย์และสาธารณสุขได้รับการพัฒนาศักยภาพ/คุณภาพ/หรือรับรองคุณภาพมาตรฐาน (ร้อยละ80 ของแผนการดำเนินงาน) 15. ร้อยละของ รพศ. ที่มี CMI ไม่น้อยกว่า 1.8 และ รพท. ไม่น้อยกว่า 1.4 (เท่ากับ 80)

  27. คุณภาพบริการ (ต่อ) 16. จำนวน CKD Clinicตั้งแต่ระดับ F1ขึ้นไปในแต่ละเครือข่าย 17.จำนวน รพ.สต. ที่ให้บริการสุขภาพช่องปากเพิ่มขึ้นในแต่ละเขตบริการ

  28. คุณภาพการบำบัดรักษา 18. อัตราตายผู้ป่วยบาดเจ็บที่ศีรษะลดลง 19. ลดอัตราการเสียชีวิตในโรงพยาบาลของทารกแรกเกิดน้ำหนักต่ำกว่า 2,500 กรัมภายใน 28 วัน 20. ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานได้รับการคัดกรองเบาหวานเข้าจอประสาทตา (ร้อยละ 60)

  29. คุณภาพการบำบัดรักษา (ต่อ) 21. ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตายได้ดี 22. ร้อยละของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตได้ดี 23. ร้อยละของผู้ป่วย Ischemic Stroke ได้รับยาละลายลิ่มเลือดเพิ่มขึ้น (ร้อยละ 3)

  30. บริการเฉพาะ 24. ร้อยละของผู้เสพยาเสพติดที่ผ่านการบำบัดที่ได้รับการติดตาม ไม่กลับไปเสพซ้ำ (80) 25. การบริหารจัดการเรื่องร้องเรียนด้านการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ

  31. กลุ่มระบบบริการ 26. ร้อยละของอำเภอที่มีDistrict Health System (DHS)ที่เชื่อมโยงระบบบริการปฐมภูมิกับชุมชนและท้องถิ่นอย่างมีคุณภาพ (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50)

  32. ยุทธศาสตร์ที่ 3พัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการ

  33. บุคลากร 1. มีแผนกำลังคนและดำเนินการตามแผน - มีการบริหารจัดการการกระจายบุคลากร ในเขต/จังหวัด - มีการใช้ทรัพยากรบุคลากรร่วมกัน - มีการใช้ FTE - มีการบริหารจัดการ Labor cost ที่เหมาะสม ในเขต/จังหวัด

  34. การบริหารการคลัง 2. ด้านการเงิน มีการจัดทำแผนและมีการดำเนินการตามแผนของเขตสุขภาพ/จังหวัด - การบริหารงบประมาณ - การลงทุนร่วม - การบริหารเวชภัณฑ์ร่วมกัน

  35. การบริหารการคลัง (ต่อ) 3. ประสิทธิภาพการบริหารการเงินสามารถควบคุมให้หน่วยบริการในพื้นที่มีปัญหาการเงินระดับ 7 ไม่เกินร้อยละ 10 4. หน่วยบริการในพื้นที่มีต้นทุนต่อหน่วยไม่เกินเกณฑ์เฉลี่ยกลุ่มระดับบริการเดียวกัน ร้อยละ 20

  36. ยาและเวชภัณฑ์ 5. ลดต้นทุนของยาและเครื่องมือแพทย์

  37. ระบบข้อมูล 6. มีระบบข้อมูลสำหรับการบริหารจัดการในทุกระดับเชื่อมโยงกับ National Health Information Center

  38. การบริหารจัดการ 7. ร้อยละของรายการจัดซื้อจัดจ้าง งบลงทุนสามารถลงนามในสัญญาได้ไตรมาสที่ 1 (100) 8. ร้อยละการเบิกจ่ายงบประมาณภาพรวมในปีงบประมาณ 2557 (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 95)

  39. เกณฑ์พัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Fundamental Level) หมวดที่ 1 การนำองค์การ LD 1- LD7

  40. หมวด 1 การนำองค์กร Note ผู้บริหาร หมายถึง ผู้บริหารสูงสุด (หัวหน้าส่วนราชการ) รองหัวหน้าส่วนราชการ และหัวหน้าสำนักงาน/กอง/หน่วย วิสัยทัศน์ คือภาพแสดงให้เห็นถึงทิศทางองค์กร ที่จะดำเนินไปในอนาคต (เข็มทิศ) • วิสัยทัศน์ คือที่ดี • ชัดเจน วัดได้ นำไปปฏิบัติได้ • เชิงบวก • ปลุกเร้าและสร้างศรัทธาให้บุคลากร • เกิดความมุ่งมั่น • 4. ท้าท้ายความสามารถของผู้นำและบุคลากร ค่านิยม คือ หลักการชี้นำ/พฤติกรรมที่คน ในองค์กรคาดหวังว่าจะปฏิบัติตามนั้น เป้าประสงค์ คือ ผลการดำเนินงานที่ต้องการจะ บรรลุ อาจแบ่งเป็น 4 มิติ (ประสิทธิผล คุณภาพ ประสิทธิภาพ คุณภาพ)

  41. หมวด 1 การนำองค์กร

  42. ตัวอย่าง

  43. ประเด็นสำคัญ 1.ผู้บริหารต้องเข้าร่วมกิจกรรม 2.การจัดกิจกรรมต้องครอบคลุมบุคลากรทุกหน่วยงาน 3.ตัวอย่างกิจกรรม เช่น สภากาแฟ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ กิจกรรมวิชาการสร้างสรรค์ MORNING TALK / LUNCH TALK/ DINNER TALK 4.การจัด KM อย่างเดียว อาจจะไม่เพียงพอ หรือไม่ตอบโจทย์การสร้างความผูกพันและแรงจูงใจในการทำงาน 5.กิจกรรมที่จัดต้องสร้างความผูกพัน แรงจูงใจในการทำงาน ส่งผลให้การปฏิบัติงานมีผลดี

  44. ประเด็นสำคัญ ตัวชี้วัดที่นำมาติดตามประเมินผลไม่ควรเกิน 20 ตัว แต่ควรจะครอบคลุม ตัวชี้วัดจาก 5 แหล่ง ดังนี้ 1. ตัวชี้วัดในการติดตามประเมินผลการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ 2. ตัวชี้วัดในการบรรลุพันธกิจหลัก 3. ตัวชี้วัดเกี่ยวกับกระบวนการที่สร้างคุณค่า 4. ตัวชี้วัดของแผนกลยุทธ์ 5. ตัวชี้วัดของแผนงาน/โครงการ

  45. หมวด 1 การนำองค์กร

  46. หมวด 1 การนำองค์กร ตัวอย่างที่ไม่ดี

  47. ประเด็นสำคัญ 1.การนำนโยบายการกำกับตนเองที่ดีไปสู่การปฏิบัติ 2. การกำหนดแผนการดำเนินงานในแต่ละด้าน และการดำเนินการตามแผน

  48. การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี การบริหารความเสี่ยง การควบคุมภายใน ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี การบริหารความเสี่ยง การควบคุมภายใน การตรวจสอบภายในและ PMQA PMQA การตรวจสอบภายใน

  49. ประเด็นสำคัญ 1. ผลกระทบทางลบ เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นมาแล้ว และเกิดจากผลการดำเนินงานส่วนราชการ 2. หากพิจารณาจากผลการดำเนินงานแล้วไม่พบว่ามีผลกระทบทางลบ ให้พิจารณาจากข้อ ร้องเรียน/กรณีฟ้องร้อง/การประกาศใช้นโยบาย ระเบียบต่างๆ 3. การไม่มีผลกระทบทางลบแสดงให้เห็นถึงการมีมาตรการป้องกันที่ดี 4. หากไม่มีผลกระทบทางลบ การดำเนินงานในประเด็น D จะพิจารณาจากการสื่อสารมาตรการ ป้องกันผลกระทบทางลบให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องรับทราบ ตัวอย่าง ผลกระทบที่เกิดจากโครงการกิจกรรมต่างๆ เช่น การตัดถนนผ่านที่ชาวบ้าน ผลประโยชน์ทับซ้อน การเวนคืนที่ดิน กรณีพิพาทชุมชน การฟ้องร้อง การประกาศใช้กฎระเบียบข้อบังคับ เป็นต้น

More Related