270 likes | 297 Views
ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์. คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. ยินดีต้อนรับ. นิสิตใหม่ ปีการศึกษา 2552. วันอาทิตย์ที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2552. นโยบายการจัดการเรียนการสอนหลักสูตรทาง ด้านวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า และวิศวกรรมคอมพิวเตอร์.
E N D
ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ยินดีต้อนรับ นิสิตใหม่ ปีการศึกษา 2552 วันอาทิตย์ที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2552
นโยบายการจัดการเรียนการสอนหลักสูตรทางนโยบายการจัดการเรียนการสอนหลักสูตรทาง ด้านวิศวกรรมศาสตร์สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า และวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ จัดตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2540
เปิดสอนใน 2 สาขาวิชาในระดับปริญญาตรี • วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมไฟฟ้า) B. Eng (Electrical Engineering) วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมคอมพิวเตอร์) B. Eng(Computer Engineering) ภาคปกติ/ภาคพิเศษ ระดับปริญญาโท วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วิศวกรรมไฟฟ้า) Master of Engineering (Electrical Engineering) วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วิศวกรรมคอมพิวเตอร์) Master of Engineering (Computer Engineering) ปี 2553 •
คณาจารย์ในภาควิชา มีอาจารย์ทั้งหมด 27 คน แยกตามคุณวุฒิได้ดังนี้ • ป.ตรี ระดับปริญญาเอก 16 คน ป.เอก ระดับปริญาโท 10 คน ป.โท ระดับปริญญาตรี 1คน
การจัดการเรียนการสอน • ภาควิชาได้จัดการเรียนการสอนสอดคล้องกับ 1. หลักเกณฑ์ของสำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา (สกอ.) หน่วยกิตรวมไม่เกิน 150 หน่วยกิต 2. หลักเกณฑ์ของสภาวิศวกร กลุ่มวิชาทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ กลุ่มวิชาพื้นฐานทางวิศวกรรมศาสตร์ กลุ่มวิชาวิศวกรรมหลักเฉพาะ
• ใช้ระบบการจัดการศึกษา แบบทวิภาค ภาคการศึกษาปกติ ซึ่งเป็นภาคบังคับ มีระยะเวลาเรียน 16 สัปดาห์ ภารเรียนต้น: มิถุนายน ถึง กันยายน ภารเรียนปลาย: พฤศจิกายน ถึง กุมภาพันธ์ ภาคฤดูร้อน ซึ่งเป็นภาคการศึกษาไม่บังคับ มีระยะเวลาเรียน 8 สัปดาห์ อยู่ในช่วง มีนาคม ถึง เมษายน
โครงสร้างหลักสูตรวิศวกรรมไฟฟ้า (ป.ตรี)
โครงสร้างหลักสูตรวิศวกรรมไฟฟ้า (ป.โท) เพื่อที่จะสำเร็จการศึกษา ผลงานวิทยานิพนธ์ต้องได้รับให้ตีพิมพ์ในวารสาร หรือ สิ่งพิมพ์ทางวิชาการ ที่เป็นที่ยอมรับในสาขานั้น
ฝึกงานทางด้านวิศวกรรมฝึกงานทางด้านวิศวกรรม ไฟฟ้า หรือ คอมพิวเตอร์ • เพื่อพัฒนาให้มีความรู้ด้าน วิชาการ และทักษะที่เกี่ยวข้อง นิสิตต้องลงทะเบียนเรียนวิชาฝึกงาน ไม่น้อยกว่า 270 ชั่วโมง • • เพื่อให้คุ้นเคยวัฒนธรรมการทำงานร่วมกัน และสร้างพันธมิตร กับผู้ประกอบการ หรือองค์กรภายนอก ทั้งภาครัฐและเอกชน
การดูงานทางวิศวกรรม ไฟฟ้า หรือ วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ให้นิสิตเข้าใจและเห็นความสำคัญในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง • ให้นิสิตมีโอกาสเห็นสภาวะการจริงในขณะปฏิบัติงาน • และสามารถนำประสบการณ์ใช้ในการทำงานในอนาคตได้ •
โครงงานวิศวกรรมไฟฟ้า หรือ วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ • ประมวลความรู้ที่ได้เรียนมาเข้าด้วยกัน • ฝึกให้นิสิตมีความสามารถในการแก้ปัญหาเป็นระบบ มีความคิดริเริ่ม เพื่อให้นิสิตรู้จักการทำงานรวมกันเป็นทีม •
• ให้นิสิตมีความสามารถในการเขียนเอกสารทางวิชาการ • โครงงานอาจจะอยู่ในรูปของการสร้างชิ้นงาน การศึกษาทฤษฎีที่ได้เรียนมา การพัฒนาโปรแกรม การปรับปรุงขบวนการต่างๆ หรือในลักษณะอื่น
โครงงานหุ่นยนต์ เดินสองขา BIPED • เป็นการออกแบบจุดศูนย์ถ่วงในการเดินแบบสถิตย์ ควบคุมโดยอาศัยชุดไมโครคอมพิวเตอร์ • • สามารถพัฒนาเป็นแบบเวลาจริง (real time) ได้
ห้องปฏิบัติการภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ห้องปฏิบัติการภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ • ห้องปฏิบัติการเครื่องจักรกลไฟฟ้า ห้องปฏิบัติการเครื่องมือวัดพื้นฐาน • ห้องปฏิบัติการระบบควบคุม • • ห้องปฏิบัติการไมโครโปรเซสเซอร์ • ห้องปฏิบัติการไฟฟ้าสื่อสาร • ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ • ห้องวิจัย
ห้องปฏิบัติการ เครื่องจักรกลไฟฟ้า ชุดทดลองเครื่องกลไฟฟ้า LAB-VOLT Synchronous Motor / Generator3 ตัว Bench Top Console 9 ตัว DC Motor / Generator9 ตัว 3 Phase Wound Rotor Induction Motor 3 ตัว
ห้องปฏิบัติการ เครื่องมือวัด พื้นฐาน Board Digital MDX-0330 ตัว Digital Multi-meter HP 25 ตัว Function Generator HP 24 ตัว DC Power SupplyHP 25 ตัว Oscilloscope YOKOGAWA 20 ตัว
ห้องปฏิบัติการ ระบบควบคุม ชุด Pneumatic System BOSCH 46 ตัว Process Controller 38-300 Pressure Process System Twin Rotor System 33-220 ชุดทดลองซีเควนเชียลคอนโทรล ชุดแขนกล
ห้องปฏิบัติการ ไมโครโปรเซสเซอร์ Board MCS51 8032 v2.0 12 ตัว ET Training CP3 20 ตัว Digital Laboratory DT Plus17 ตัว ETT CP-68HC1120 ตัว Board Analab Digital Lab EPROM Eraser ERA-02
ห้องปฏิบัติการ ไฟฟ้าสื่อสาร ชุดทดลองไฟฟ้าสื่อสาร Feedback 6 ตัว ชุดทดลองท่อนำคลื่น Multi-standard Voice Band Modem Spectrum Analyzer ชุดทดลองสายอากาศ Waveform Synthesis
ห้องปฏิบัติการ คอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ 120 ตัว โปรแกรมสนับสนุนการศึกษา เช่น Visual Studio.NET 2005 Visual Studio 6.0 MATLAB 7 Trysim PSIM Pspice MAXPLUS II
ห้องวิจัย วิศวกรรมไฟฟ้า และคอมพิวเตอร์ ทุนวิจัย สกว ทุนวิจัย สวทช. NECTEC • • งานวิจัยเกี่ยวกับ Harddisk drive ร่วมกับบริษัทเอกชนต่างๆ • ทุนวิจัยงบประมาณแผ่นดิน • ทุนวิจัยร่วมกับผู้ประกอบการสนับสนุนโดยโครงการ IRPUS •
ห้องปฏิบัติการระบบยูนิกส์ (Unix Lab 2553) Linux PC Cluster 50 Workstations
ห้องปฏิบัติการมัลติมีเดีย (2553) Multimedia PC: #60 High performance PC: #20 Application/Files Servers: #12 Networking equipments
ขอขอบคุณ คณะอาจารย์ ผู้ปกครอง และนิสิตใหม่ Q & A