260 likes | 488 Views
โครงการให้บริการ วัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2552. กรมควบคุมโรค 26 มีนาคม 2552. สาธารณสุขห่วงใย อยากเห็นคนไทยสุขภาพดี. Influenza Vaccination in 56 Countries, 1997-2003. MIV SG 2005. ทำไมต้องใช้วัคซีนไข้หวัดใหญ่ในประเทศไทย ?. เพื่อป้องกันโรค
E N D
โครงการให้บริการวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ประจำปี 2552 กรมควบคุมโรค 26 มีนาคม 2552 สาธารณสุขห่วงใย อยากเห็นคนไทยสุขภาพดี
Influenza Vaccination in 56 Countries, 1997-2003 MIV SG 2005
ทำไมต้องใช้วัคซีนไข้หวัดใหญ่ในประเทศไทย?ทำไมต้องใช้วัคซีนไข้หวัดใหญ่ในประเทศไทย? • เพื่อป้องกันโรค • เพื่อเตรียมพร้อมรับมือการระบาดใหญ่ของไข้หวัดใหญ่ระบาด
ทำไมต้องใช้วัคซีนไข้หวัดใหญ่ในประเทศไทย?ทำไมต้องใช้วัคซีนไข้หวัดใหญ่ในประเทศไทย? • เพื่อป้องกันโรค -- ลดภาระโรคไข้หวัดใหญ่ • ด้านสาธารณสุข • Reported (BOE): • 20,000-50,000 cases / yr • < 10 deaths / yr • Estimated (IEIP & MOPH): • Flu pneumonia > 900,000 OPD visits / yr nationwide • Flu as the cause in 10% of hospitalized pneumonia • Higher severity and mortality in high risk groups (eg. COPD, heart disease, asthma, etc.) • ด้านเศรษฐกิจ • Costs • Medical cost for treatment of flu and related illnesses • Opportunity costs / loss of production • Intangible costs • Cost-benefit of flu vaccination • Cost-saving from flu vaccination
6. Pandemic 5. Significant increase in man-to-man Tx, extended outbreak 4. Increased man-to-man Tx, limited outbreak 3. Human infections, no or only inefficient man-to-man Tx 2. High risk for human 1. New influenza virus in animals low risk for human Path towards influenza pandemic 10 Sep 06
11 ร่วมมือกันทั่วโลก ควบคุมไข้หวัดนกอย่างเข้มแข็ง และร่วมแรงเตรียมพร้อมรับภัย ไข้หวัดใหญ่ระบาดใหญ่ 15 Aug 08
แผนยุทธศาสตร์ป้องกัน แก้ไข และเตรียมพร้อมรับปัญหาโรคไข้หวัดนกและการระบาดใหญ่ของโรคไข้หวัดใหญ่ ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2551-2553) คณะรัฐมนตรี คณะกรรมการพิจารณาแก้ไขสถานการณ์ไข้หวัดนก (รองนายกฯ จาตุรนต์) 15 Aug 08
การเตรียมพร้อม รับการระบาดใหญ่ ใช้หลายยุทธศาสตร์ ยาต้านไวรัส วัคซีน การดูแลผู้ป่วย อุปกรณ์ป้องกันตัว ด้านการ แพทย์/เวชภัณฑ์ (Medical/Pharma.) ส่งเสริมอนามัยบุคคล จำกัดการเดินทาง แยกกักผู้สัมผัสโรค จำกัดกิจกรรมทางสังคม ให้สุขศึกษา ประชาสัมพันธ์ ด้านสาธารณสุข/สังคม (Non-med/non-pharma) ด้านเศรษฐกิจและสังคม (Social and economic systems - to keep the society running) รักษาความมั่นคง / กฎหมาย จัดหาอาหารและน้ำดื่ม จ่ายพลังงาน เชื้อเพลิง บริการคมนาคมขนส่ง บริการสื่อสารโทรคมนาคม จัดระบบการเงิน ธนาคาร Source: David Nabarro at APEC-HMM, Sydney 8 June 2007 15 Aug 08
ด้านการ แพทย์/เวชภัณฑ์ (Medical/Pharma.)
Seasonal vaccine Non-Pharmaceutical & Pharmaceutical Strategies Pandemic vaccine 15 Aug 08
Pandemic vaccine ขั้นตอนสร้างหลักประกันว่าประเทศไทยจะมีวัคซีนป้องกันประชาชน หากเกิดไข้หวัดใหญ่ระบาดใหญ่ • วิจัยพัฒนา สร้างศักยภาพบุคลากร • เพิ่มการใช้วัคซีนไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาล • ตั้งโรงงงานผลิตวัคซีน • ประเมินภาระโรค และความคุ้มค่าการลงทุน 15 Aug 08
Pre-AI period AI response period Pandemic preparedness period Pandemic response Projected use of influenza vaccine in Thailand, 2000–2015 : a favorable scenario Scale up to produce pandemic vaccine Technology: Cell-culture Adjuvant LAIV Vaccine production project Increased use of flu vaccine Capacity building Note: 2000-2003 figures -- from Simmerman et al. 2004 -2005 figures – initial projection 15 Aug 08
แนวทางการขยายบริการวัคซีนไข้หวัดใหญ่ในประเทศไทยแนวทางการขยายบริการวัคซีนไข้หวัดใหญ่ในประเทศไทย โครงการป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่ ในบุคลากรสาธารณสุข เริ่ม 2547 โครงการขยายบริการวัคซีนไข้หวัดใหญ่ ในประชากรกลุ่มเสี่ยง เริ่ม 2551 Note: 2000-2003 figures -- from Simmerman et al. 2004 -2005 figures – initial projection 15 Aug 08
แผน? แนวทางการขยายบริการวัคซีนไข้หวัดใหญ่ในประเทศไทย โครงการป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ ในบุคลากรสาธารณสุข แผนฯ 2552 คงระดับการสนับสนุน ~ 400,000 โด๊ส เพิ่มความครอบคลุมบุคลากรเป้าหมาย • โครงการขยายบริการวัคซีน ไข้หวัดใหญ่ในประชากรกลุ่มเสี่ยง • แผนฯ 2552 • ขยายกลุ่มเป้าหมาย–ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้สูงอายุ (> 65 ปี ), children (< 2 ปี) • เพิ่มปริมาณสนับสนุน (งบฯสปสช.1.6 ล้านโด๊ส ) • พยายามให้ความครอบคลุมเป้าหมายสูงสุด • สร้างความร่วมมือในระบบบริการ สธ. ทุกระดับ • ประชาสัมพันธ์ ขยายการรู้ ความเข้าใจของประชาชน Note: 2000-2003 figures -- from Simmerman et al. 2004 -2005 figures – initial projection 26 Sep 08
วัตถุประสงค์ • ลดอุบัติการณ์การเจ็บป่วย และเสียชีวิตจากไข้หวัดใหญ่ ในประชาชนกลุ่มที่มีความเสี่ยงต่อโรคสูง • ลดโอกาสการแพร่กระจายเชื้อไข้หวัดใหญ่ ระหว่างบุคลากรทางการแพทย์ และผู้ป่วยที่มารับการรักษาที่คลินิกของโรงพยาบาล • ลดโอกาสการกลายพันธุ์ของเชื้อไข้หวัดนก ที่อาจทำให้การแพร่กระจายในมนุษย์ เป็นได้ง่ายขึ้น
กลุ่มเป้าหมาย • ประชาชนทุกกลุ่มอายุ ที่ป่วยเป็นโรคเรื้อรัง 7 กลุ่มโรค ได้แก่ ปอดอุดกั้นเรื้อรัง, หอบหืด, หัวใจ, หลอดเลือดสมอง ไตวาย, เคมีบำบัด, เบาหวาน • บุคลากรกลุ่มเสี่ยงตามยุทธศาสตร์ ป้องกันแก้ไข และเตรียมพร้อมรับ ปัญหาโรคไข้หวัดนก และการระบาดของไข้หวัดใหญ่
บุคลากร ประชาชน จำนวนบริการ 400,000 1,800,000 ขนาดวัคซีน 1 dose/vial 4 doses/vial 1 กค.- 31สค. 2552 รอบ 1: มีค.52 รอบ 2: พค.52 วันดำเนินการ แผนฯ
ประชาชน กลุ่มเสี่ยง จนท รอบที่ 1 จนท รอบที่ 2 ระยะเวลาดำเนินการ มค กพ มีค เมย พค มิย กค สค 2552 แบ่งสองรอบเนื่องจาก วัคซีนจัดหาได้เป็นสองระยะ
แนวทางดำเนินการ สปสช สธ ประชาชน กลุ่มเสี่ยง บุคลากร
แนวทางดำเนินการ • จัดซื้อ กระจายวัคซีน • ตรวจสอบเป้าหมาย • ชี้แจงแนวทาง • สรุปผลบริการ • ประเมินผล สธ บุคลากร
แนวทางดำเนินการ สปสช สธ • จัดซื้อ กระจายวัคซีน (ผ่าน VMI) • ตรวจสอบเป้าหมาย • จัดแนวทางการให้บริการ • สนับสนุนงบประมาณ • ทั้งในส่วนกลาง และพื้นที่ • ร่วมติดตามประเมินผล • จัดแนวทางการรายงานผลบริการ (ผ่าน website ) • สนับสนุนการดำเนินการ • จัดทำคู่มือแนวทาง • จัดประชุมชี้แจง • ประชาสัมพันธ์วงกว้าง • เฝ้าระวัง แก้ไขปัญหา • อาการข้างเคียงจากวัคซีน • ติดตามประเมินผล (โดยสำนัก ตรวจฯ ) • เป็นผู้ให้บริการ ประชาชน กลุ่มเสี่ยง
การประชุมเตรียมการ ในส่วนของการบริการประชาชน ผู้บริหารในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค • วันที่ 24 กพ. 2552 บุคลากรผู้รับผิดชอบงาน จำนวน 4 รุ่น รวม 1800 คน • วันที่ 5 มีนาคม 2552 • วันที่ 11 มีนาคม 2552 • วันที่ 26 มีนาคม 2552 • วันที่ 9 เมษายน 2552
หน่วยงานหลักในส่วนกลาง กระทรวงสาธารณสุข ที่รับผิดชอบการดำเนินงานบริการส่วนประชาชน การทำงานอยู่ในรูปคณะกรรมการ และคณะทำงาน โดยความร่วมมือจากหน่วยงานทั้งในและนอกกระทรวงสาธารณสุข
สรุป • สาธารณสุขไทย ร่วมมือ ร่วมใจ สร้างสิ่งใหม่ที่เป็นประโยชน์แก่ประเทศ --ขยายบริการวัคซีนไข้หวัดใหญ่ • ประโยชน์หลายด้าน • ป้องกันโรค • ประชาชนกลุ่มเสี่ยง • บุคลากรสาธารณสุข • เตรียมความพร้อมรับมือการระบาดใหญ่ • บูรณาการในระบบบสาธารณสุขภาครัฐ (รพศ รพท รพช) ร่วมในระบบบริการปกติ • ขยายและพัฒนาบริการอย่างต่อเนื่อง • เป็นภารกิจเพิ่ม แต่ให้ประโยชน์คุ้มค่า น่าภูมิใจ