530 likes | 681 Views
พญ. นิดา ลิ้มสุวรรณ ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี. Mental Health P romotion and P revention. สุขภาพจิตที่ดี (องค์การอนามัยโลก ). สภาพจิตใจที่เป็นสุข สามารถมีสัมพันธภาพ รักษาสัมพันธภาพกับผู้อื่นไว้ได้อย่างราบรื่น
E N D
พญ. นิดา ลิ้มสุวรรณ ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี Mental Health Promotion and Prevention
สุขภาพจิตที่ดี(องค์การอนามัยโลก)สุขภาพจิตที่ดี(องค์การอนามัยโลก) • สภาพจิตใจที่เป็นสุข • สามารถมีสัมพันธภาพ • รักษาสัมพันธภาพกับผู้อื่นไว้ได้อย่างราบรื่น • สามารถทำตนให้เป็นประโยชน์ได้ ภายใต้ภาวะ สิ่งแวดล้อมที่มีการเปลี่ยนแปลงทั้งทางสังคม • ลักษณะความเป็นอยู่ในการดำรงชีพ วางตัวได้อย่างเหมาะสม • ปราศจากอาการป่วยของโรคทางจิตใจและร่างกาย
ภาพรวมของปัญหาสุขภาพจิตในประเทศไทยภาพรวมของปัญหาสุขภาพจิตในประเทศไทย
โครงสร้างประชากรไทย ปี 2549
การเปลี่ยนแปลงด้านสังคมการเปลี่ยนแปลงด้านสังคม วัยเด็ก ปัญหาห่างเหินจากพ่อแม่ ญาติผู้ใหญ่ วัยรุ่นปัญหาห่างเหินจากพ่อแม่ติด เพื่อน/เกมคอมพิวเตอร์ปัญหาเกี่ยวกับทางเพศ teenage pregnancy วัยแรงงานแข่งขันทางเศรษฐกิจมาก วัตถุนิยม ปัญหาหนี้สิน ปัญหาครอบครัว วัยสูงอายุมีจำนวนเพิ่มมากขึ้น ปัญหาลูกหลานห่างเหิน
Teenage pregnancy • Thailand has the second highest rate of mid-late teenage pregnancy in the entire world • South Africa the highest rate • About 70 Thai women out of every 1,000 aged 15-19
การเปลี่ยนแปลงด้านเศรษฐกิจการเปลี่ยนแปลงด้านเศรษฐกิจ
การขาดแคลนบุคลากรด้านสุขภาพจิต ผู้รับการบำบัดรักษา/ฟื้นฟูทางจิตเวชในสถานพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข มีแนวโน้มสูงขึ้นอย่างชัดเจน • จาก 1,290,716 คน(ปี 2548) เพิ่มขึ้นเป็น 1,350,122 คน (ปี 2549) สัดส่วนบุคลากรต่อภาระรับผิดชอบ ในการให้บริการทั้งการบำบัดรักษาและดูแลทางจิตเวช • จิตแพทย์ 1 คน ต่อประชากร 262,659 คน • พยาบาลจิตเวช 1 คน ต่อประชากร 40,024 คน
การป้องกันปัญหาสุขภาพจิต(Prevention of Mental Disorders) • การป้องกันระดับปฐมภูมิ (Primary Prevention) • การป้องกันระดับทุติยภูมิ (Secondary Prevention) • การป้องกันระดับตติยภูมิ (Tertiary Prevention)
การป้องกันระดับปฐมภูมิ (Primary Prevention) • การป้องกันก่อนที่เกิดปัญหาสุขภาพจิต โดยการ • กำจัดสาเหตุ /ลดปัจจัยเสี่ยง(Risk factor)ที่ทำให้เกิดโรคทางจิตเวช • เพิ่มปัจจัยป้องกัน(Protective factor)ต่อโรคทางจิตเวช • การป้องกันระดับปฐมภูมิ จะช่วยลดอุบัติการณ์ (incidence) ของโรคจิตเวช
วิธีการป้องกันระดับปฐมภูมิวิธีการป้องกันระดับปฐมภูมิ • การ เพิ่มความสามารถ ของคนในการ ต่อสู้กับความเครียด • การ ลดปัจจัย ซึ่งเป็น ความเครียดวิธีนี้จะให้บริการ เพื่อลดปัญหาต่างๆรวมถึงการพัฒนาชุมชนและสิ่งแวดล้อม • การลดการแพร่กระจาย ของโรคทางจิตเวชในโรคบางอย่าง เช่น การถ่ายทอดทางพันธุกรรม / จากมารดาสู่ลูกได้
Emotional Intelligence : EQ • Ability to identify, assess, and control emotions of oneself, of others, and of groups. • Interpersonal intelligence • the capacity to understand the intentions, motivations and desires of other people • Intrapersonal intelligence • the capacity to understand oneself, to appreciate one's feelings, fears and motivations
Psychological Resilience • refers to the idea of an individual's tendency to cope with stress and adversity. • This coping may result in the individual “bouncing back” to a previous state of normal functioning, • or using the experience of exposure to adversity to produce a “steeling effect” and function better than expected
Psychological Resilience • have relationships that provide care and support, create love and trust, and offer encouragement, both within and outside the family • capacity to make realistic plans • having self-confidence and a positive self image • developing communications skills • capacity to manage strong feelings and impulses
Psychological Resilience • Holding the belief that there is something one can do to manage your feelings and cope • Spirituality
การป้องกันระดับทุติยภูมิ (Secondary Prevention ) • การ ป้องกันมิให้โรค ที่กำลังจะเป็น มีการดำเนินเป็นโรคอย่างยาวนาน • โดยการพยายาม ค้นหาผู้ที่กำลังเริ่มป่วย ให้การ รักษาอย่างรวดเร็ว ทันท่วงทีและทำให้ หายในระยะเวลาสั้น • จะช่วย ลดความชุก (prevalence)ของโรคทางจิตเวช • หน่วยงานที่มีหน้าที่ได้แก่ คลินิกจิตเวชชุมชน หน่วยจิตเวชโรงเรียน คลินิกจิตเวชในโรงพยาบาลทั่วไป โรงพยาบาลจิตเวช
การป้องกันระดับตติยภูมิ (Tertiary Prevention) • การ ป้องกันการเสื่อมสภาพ (disability) ของผู้ป่วยจิตเวช • โดยเฉพาะในผู้ป่วยที่ เป็นเรื้อรัง ขาดการเข้าสังคม • ทำโดยการ ฟื้นฟูสภาพจิตใจสังคม • เพื่อให้สามารถกลับไป ดำรงชีวิตอยู่ในสังคม ได้อย่างเต็มที่ที่สุด เท่าที่จะเป็นไปได้
หน่วยงานที่มีหน้าที่ป้องกัน ระดับตติยภูมิ ได้แก่ • ศูนย์ฟื้นฟูต่างๆ • ชุมชนบำบัด • นิเวศน์บำบัด
โรงเรียนหมู่บ้านเด็ก จ.กาญจนบุรี - มูลนิธิเด็ก • เด็กกำพร้า • เด็กยากจน • เด็กที่ประสบปัญหาถูกกระทำทารุณ • เด็กที่มาจากครอบครัวแตกแยก
โรงเรียนหมู่บ้านเด็ก จ.กาญจนบุรี - มูลนิธิเด็ก
ศูนย์สายใยครอบครัว โรงพยาบาลศรีธัญญา
ควรเสริมสร้าง การป้องกันให้ประชาชน มีสุขภาพจิตดี มากกว่าฟื้นฟู ผู้ที่ป่วยโรคทางจิตเวชแล้ว การบริการทางจิตเวช
เปรียบเทียบภาระโรคทางจิต ปี พ.ศ. 2542
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับ งานสุขภาพจิต • สำนักงานปลัดกระทรวง • กรมสุขภาพจิต • กรมการแพทย์ • หน่วยงานนอกสังกัดกระทรวงสาธารณสุข • องค์กรเอกชน