1 / 43

International Telecommunication Management

International Telecommunication Management. Chapter 3: ระบบโทรคมนาคมไทยและสากล (2). Agenda. โทรคมนาคมในสหราชอาณาจักร โทรคมนาคมในเยอรมัน โทรคมนาคมในสิงคโปร์ กลยุทธ์ของหน่วยงานกำกับดูแลในประเทศต่างๆ. 2. สหราชอาณาจักร ( อังกฤษ ). Past: General Post Office (GPO)

coral
Download Presentation

International Telecommunication Management

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. International Telecommunication Management Chapter 3:ระบบโทรคมนาคมไทยและสากล (2)

  2. Agenda • โทรคมนาคมในสหราชอาณาจักร • โทรคมนาคมในเยอรมัน • โทรคมนาคมในสิงคโปร์ • กลยุทธ์ของหน่วยงานกำกับดูแลในประเทศต่างๆ 2

  3. สหราชอาณาจักร (อังกฤษ) • Past: General Post Office (GPO) • 1981: พระราชบัญญัติโทรคมนาคม (เปิดเสรีตลาดโทรคมนาคม) • GPO: Post Office, British Telecommunication (BT) • 1984: ยกเลิกการผูกขาดในตลาดโทรคมนาคมของ BT, จัดตั้งหน่วยงานกำกับดูแลอิสระ Oftel • อธิบดีกรมโทรคมนาคมเป็นผู้ตรวจ และดูแลการเปลี่ยนแปลงของบริษัทโทรคมนาคม การควบกิจการ และการเข้าครอบครองกิจการ: ป้องกันการแข่งขันที่ไม่เป็นธรรม

  4. สหราชอาณาจักร (อังกฤษ)

  5. สหราชอาณาจักร (อังกฤษ) • UK Telecommunications Act (2003): กรอบกำกับดูแลของสหภาพยุโรป เพื่อส่งเสริมการแข่งขันทางการค้า • The office of communication (Ofcom): หน่วยงานกำกับดูแลขั้นสูง • คณะกรรมการมาตรฐานรายการวิทยุโทรทัศน์และวิทยุกระจายเสียง (Broadcasting standards commission) • คณะกรรมการวิทยุโทรทัศน์อิสระ (Independent television commission) • หน่วยงานกำกับดูแลด้านโทรคมนาคมของสหราชอาณาจักร (Office of telecommunications: Oftel) • หน่วยงานด้านวิทยุ (Radio authority) • หน่วยงานด้านการสื่อสารวิทยุ (Radiocommunications Agency)

  6. สหราชอาณาจักร (อังกฤษ) • Ofcom: กิจการสื่อสารมวลชนและโทรคมนาคม • อังกฤษเปลี่ยนจากระบบการออกใบอนุญาตแบบเดิมมาเป็นระบบที่บริษัทต่างๆดำเนินงานภายใต้เงื่อนไขและสิทธิทั่วไป • เจรจากับคณะกรรมาธิการยุโรปเรื่องรูปแบบในอนาคตของกรอบการกำกับดูแลสหภาพยุโรป • ข้อกำหนดว่าด้วยบริการสื่อทางภาพและเสียง (Audio-visual media services directives) • กำกับดูแลบริการโทรทัศน์ วิทยุ โทรคมนาคมและการสื่อสารไร้สาย

  7. สหราชอาณาจักร (อังกฤษ) • Ofcom มีหน้าหลักที่ดังนี้ • ส่งเสริมผลประโยชน์ของประชาชนในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการสื่อสาร • ส่งเสริมผลประโยชน์ของผู้บริโภคในตลาดที่เกี่ยวข้องโดยส่งเสริมการแข่งขันการค้าตามความเหมาะสม

  8. สหราชอาณาจักร (อังกฤษ) • ความรับผิดชอบโดยเฉพาะของ Ofcom • ทำให้เกิดการใช้งานอย่างเหมาะสมของคลื่นความถี่แม่เหล็กไฟฟ้า • ทำให้เกิดการบริการสื่อสารอิเล็กทรอนิกส์ที่หลากหลายรวมถึงบริการบรอดแบนด์และให้มีบริการทั่วทั้งสหราชอาณาจักร • ทำให้เกิดบริการโทรทัศน์และวิทยุที่หลากหลายมีคุณภาพสูงและตอบสนองต่อความชอบและความสนใจที่หลากหลาย • คงไว้ซึ่งการมีผู้ให้บริการกระจายสัญญาณภาพและเสียงมากกว่าหนึ่งราย • จัดให้มีความคุ้มครองที่เพียงพอต่อผู้ชมและผู้ฟังต่อการละเมิดความเป็นส่วนตัวโดยไม่เป็นธรรม

  9. สหราชอาณาจักร (อังกฤษ) • Simplification Plan ของ Ofcom (2006) • ยกเลิกการควบคุมราคาขายปลีก ของ BT • ลดความยุ่งยากในการออกใบอนุญาตคลื่นความถี่ • ออกกฏหมายรับรองอุปกรณ์ส่งคลื่น FM กำลังต่ำ • เงินสนับสนุนช่องสถานีโทรทัศน์และวิทยุ • การขอรับบริจาคของสถานีโทรทัศน์ • ช่องสถานีที่มีค่าบริการบน Freeview • ใบอนุญาตสำหรับบริการที่ถูกจำกัด ยกเลิกข้อบังคับที่ไม่จำเป็น

  10. สหราชอาณาจักร (อังกฤษ) • การออกใบอนุญาต • การกำกับดูแลผู้มีอำนาจเหนือตลาด • การเข้าถึงและการเชื่อมต่อโครงข่าย • การบริหารจัดการคลื่นความถี่ • การพัฒนาสู่ระบบดิจิตอล • การบริการอย่างทั่วถึง (Universal service obligation: USO) • ข้อกำหนดสหภาพยุโรปว่าด้วยการให้บริการอย่างทั่วถึง (Universal service directive: USD)

  11. สหราชอาณาจักร (อังกฤษ) • Universal service provider: BT,Kingston communications • แผนอัตราค่าบริการพิเศษสำหรับผู้มีรายได้ต่ำ • การเชื่อมต่อกับโครงข่ายสายรวมถึง Internet • ตู้โทรศัพท์สาธารณะที่สามารถเข้าไปใช้งานได้สะดวก • มีบริการให้กับลูกค้าที่มีความพิการ และบริการส่งต่อข้อความ (Text relay service)

  12. สหราชอาณาจักร (อังกฤษ) • โครงข่ายโทรคมนาคมยุคใหม่ (Next Generation Networks: NGN) • เทคโนโลยีดิจิทัล • บริการใหม่ๆ ในราคาถูก • NGN UK: คณะบุคลอุตสาหกรรม ช่วยเหลือบริษัทในการพัฒนาโครงข่ายโทรคมนาคมยุคใหม่

  13. สหราชอาณาจักร (อังกฤษ) • Virgin Mobile : โทรศัพท์เคลื่อนที่แบบประหยัดงบ (ใช้โครงข่ายของ T-mobile) • ผู้ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ที่มิได้มีโครงข่ายเป็นของตนเอง หรือใช้โครงข่ายเสมือน (mobile virtual network operator: MVNO) • Carphone warehouse: Fresh pay-as-you-go • Tesco: Tesco mobile • BT: BT mobile • Easy Group: easyMobile

  14. สหราชอาณาจักร (อังกฤษ) • ตลาดโทรศัพท์พื้นฐาน

  15. สหราชอาณาจักร (อังกฤษ) • ตลาดโทรศัพท์เคลื่อนที่ • ตลาดใหญ่อันดับสามของยุโรป • Racal-Vodafone (ปัจจุบันคือ Vodafone) • Telecom Securicor (ปัจจุบันคือ O2 UK) • Orange plc (ปัจจุบันคือ Orange SA) • T-mobile (UK)

  16. สหราชอาณาจักร (อังกฤษ) • ตลาดโทรศัพท์เคลื่อนที่

  17. สหราชอาณาจักร (อังกฤษ) • 3G: Hutchison 3G UK Limited,Vodafone, Orange, T-Mobile, O2

  18. สหราชอาณาจักร (อังกฤษ) • ตลาดบรอดแบรนด์

  19. สหราชอาณาจักร (อังกฤษ) • Carphone Warehouse: ถ้าใช้บริการโทรศัพท์พื้นฐานมากกว่าค่าที่กำหนด จะได้ใช้บริการบรอดแบรนด์ฟรี (2006) • รายได้เพิ่ม • จำนวนลูกค้าเพิ่มขึ้น • จำนวนการติดตั้งโทรศัพท์พื้นฐานเพิ่มมากขึ้น • Orange: ถ้าสมัครใช้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่แบบ post-paid บางราย จะได้ใช้บริการบรอดแบรนด์ฟรี (2006)

  20. สหราชอาณาจักร (อังกฤษ)

  21. โทรคมนาคมในเยอรมัน • เยอรมัน • กฏหมายโทรคมนาคม (TKG-2004) • การยกเลิกข้อกำหนดในการออกใบอนุญาต • การกำกับดูแลตลาด • การกำหนดให้ผู้ให้บริการที่มีอำนาจเหนือตลาดต้องยินยอมให้มีการเชื่อมต่อโครงข่ายในลักษณะแบบแยกส่วน • การกำกับอัตราค่าธรรมเนียมในการใช้บริการและเชื่อมต่ออุปกรณ์ • เพิ่มบทลงโทษต่อผู้ที่มีพฤติกรรมต่อต้านการแข่งขัน • เพิ่มอำนาจการกำหนดเลขหมายให้กับหน่วยงานกำกับดูแล • บทบัญญัติว่าด้วยความเป็นส่วนตัวทางโทรคมนาคม การปกป้องข้อมูล และความปลอดภัยของสาธารณะ

  22. โทรคมนาคมในเยอรมัน • รัฐบาลเยอรมันออกข้อบังคับเพิ่มเติม • กฏหมายเลขหมายโทรคมนาคม • กฏหมายคุ้มครองผู้บริโภค • กฏหมายระบบโทรคมนาคมกรณีเหตุฉุกเฉิน • กฏหมายดักฟังการติดต่อผ่านระบบโทรคมนาคม

  23. โทรคมนาคมในเยอรมัน • Federal Network Agency (BNetzA) • ออกใบรับรอง • เปิดเสรีกิจการโทรคมนาคม • ยกเลิกข้อบังคับของรัฐ เพื่อให้เกิดการพัฒนาในตลาดธุรกิจไฟฟ้า แก๊ส โทรคมนาคม ไปรษณีย์ และรถไฟ

  24. โทรคมนาคมในเยอรมัน • หน้าที่ของ BNetzA • จัดหาการบริการโทรคมนาคมพื้นฐานทั่วทั้งประเทศ ในราคาที่เหมาะสม • ส่งเสริมการบริการโทรคมนาคมในสถาบันสาธารณะต่างๆ • ปกป้องผลประโยชน์ด้านความปลอดภัยสาธารณะ • กำหนดความถี่และเลขหมาย • ตรวจสอบการรบกวนคลื่นวิทยุ • ต่อต้านการใช้หมายเลขโทรศัพท์ที่ผิดวัตถุประสงค์

  25. โทรคมนาคมในเยอรมัน • BNetzA รับผิดชอบเรื่องต่อไปนี้ • ใบอนุญาตการใช้คลื่น • การบริการอย่างทั่วถึง • อัตราค่าบริการ • พฤติกรรมต่อต้านการแข่งขัน • เปิดเสรีด้านโครงข่ายและการเชื่อมต่อโครงข่าย

  26. โทรคมนาคมในเยอรมัน • ตลาดโทรศัพท์พื้นฐาน • Deutsche Telekom

  27. โทรคมนาคมในเยอรมัน • ตลาดโทรศัพท์เคลื่อนที่

  28. โทรคมนาคมในเยอรมัน

  29. โทรคมนาคมในเยอรมัน • ตลาดบรอดแบรนด์

  30. โทรคมนาคมในเยอรมัน

  31. โทรคมนาคมในเยอรมัน • Promotions: Cell Phone • http://www.o2online.de/handy/landingpages/top-smartphones/ • http://www.o2online.de/eshop/katalog/detail/privatkunden/geraet-ohne-vertrag/samsung-galaxy-s3-darkblue • http://www.o2online.de/handy/handys-fuer-junge-leute/ • https://www.blau.de/tarife/tarifuebersicht

  32. โทรคมนาคมในสิงคโปร์ • สิงคโปร์ • ระบบตลาดเสรีเปิด (2000) • Telecommunications Competition Code: TCC ระเบียบการแข่งขันทางโทรคมนาคม • การเชื่อมต่อโครงข่าย • ข้อขัดแย้งระหว่างผู้ให้บริการและผู้รับบริการ • การกำหนดราคา • การแข่งขันที่ไม่เป็นธรรม • การใช้อำนาจเหนือตลาดในทางที่ผิด • การแจ้งข้อมูลข่าวสารที่นำไปสู่การเข้าใจผิด

  33. โทรคมนาคมในสิงคโปร์ • บริษัทโทรคมนาคมเอกชนสิงคโปร์ จำกัด (SingTel) • บริษัทไปรษณีย์เอกชนสิงคโปร์ • Temasek คือบริษัทที่ใช้ทำการถือครองในการลงทุนของรัฐบาลสิงคโปร์ โดยมีกระทรวงการคลังเป็นเจ้าของ

  34. โทรคมนาคมในสิงคโปร์ • สำนักงานพัฒนาการสื่อสารสารสนเทศแห่งชาติสิงคโปร์ (Info-communication development authority of Singapore: IDA) เกิดจากการรวมตัวของ • คณะกรรมการคอมพิวเตอร์แห่งชาติสิงคโปร์ (National computer board: NCB) • องค์การโทรศัพท์สิงคโปร์ (Telecoms Authority Singapoer: TAS)

  35. โทรคมนาคมในสิงคโปร์ • โครงการประเทศอัจฉริยะ 2015 (The Intelligent Nation 2015: iN2015) • เพิ่มมูลค่าเพิ่มการสื่อสารสารสนเทศ • เพิ่มรายได้การส่งออกไอทีและโทรคมนาคม • เพิ่มการสร้างงาน • เพิ่มการใช้งานบรอดแบรนด์ของครัวเรือนให้ถึง 90 % • เจาะตลาด พีซีครัวเรือนให้ถึง 100 %

  36. โทรคมนาคมในสิงคโปร์ • IDA 2006 • ให้มีบริการบรอดแบรนด์แบบไร้สายในที่สาธารณะ ความเร็วสูงสุด 512 Kbps • การคงเลขหมายเก่า : Telco-neutral database เพื่อติดตามเลขหมายโทรศัพท์เคลื่อนที่ทั้งหมดและผู้ให้บริการ

  37. โทรคมนาคมในสิงคโปร์ • ตลาดโทรศัพท์พื้นฐาน

  38. โทรคมนาคมในสิงคโปร์

  39. โทรคมนาคมในประเทศต่างๆโทรคมนาคมในประเทศต่างๆ • กลยุทธ์ของหน่วยงานกำกับดูแลในประเทศต่างๆ

  40. ข้อสงสัย!! สัมปทาน และ ใบอนุญาตในประเทศไทย • สัมปทาน • โทรศัพท์แบบ 2G ของไทย อยู่ใต้ระบบสัมปทาน(concession) ซึ่งออกโดย รัฐวิสาหกิจ ด้านโทรคมนาคมในขณะนั้น (ช่วง พ.ศ. 2533) คือ องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย (ให้กับ AIS) และการสื่อสารแห่งประเทศไทย (ให้กับ DTAC และ TRUE) • รัฐธรรมนูญปี 2540 กำหนดให้ "แยกส่วน" รัฐวิสาหกิจด้านโทรคมนาคม คือ แยกส่วนของการกำกับดูแล (กรรมการ) ออกจากผู้ประกอบการ (ผู้เล่น) • ตั้งองค์กรใหม่ คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กทช.) ขึ้นมาเป็นกรรมการ

  41. ข้อสงสัย!! สัมปทาน และ ใบอนุญาต • ภายหลังพอมีส่วนองค์การโทรศัพท์ฯ และการสื่อสารฯ ถูกถอดบทลงให้กลายเป็นผู้เล่น และถูกแปรรูปเป็นบริษัทในเวลาต่อมา (แต่ยังเป็นบริษัทที่ถือหุ้นโดยกระทรวงการคลัง 100%) ซึ่งตอนนี้คือ TOT และ CAT Telecom • แม้ว่า TOT และ CAT ถูกแปรสภาพเป็นบริษัท เช่นเดียวกับ AIS, DTAC, TRUE แล้วก็ตาม แต่สัญญาสัมปทานเดิมยังคงอยู่ ต้องรอหมดอายุในช่วงปี 2556-2561 ขึ้นกับสัญญาของแต่ละเจ้า • คำว่า "สัมปทาน" มีลักษณะพิเศษตรงที่ รัฐจะจ้างให้เอกชนดำเนินงานให้ แต่เมื่อครบสัญญาแล้ว ผลงาน ทรัพย์สิน อุปกรณ์ทั้งหมด จะตกเป็นของรัฐ แนวคิดนี้มาจากวงการคมนาคม-ก่อสร้าง (เช่น สร้างทางด่วน) มีชื่อเรียกว่า BOT

  42. ข้อสงสัย!! สัมปทาน และ ใบอนุญาต • ใบอนุญาต • ในโลกโทรคมนาคมยุคใหม่ ไม่ใช้ระบบสัมปทาน แต่ใช้ ระบบใบอนุญาต (licensing) ซึ่งออกโดยองค์กรกำกับดูแลอิสระ (regulator) • เครื่องมือที่ กสทช. ใช้กำกับดูแลคือ "ใบอนุญาต" (license) การประกอบธุรกิจด้านโทรคมนาคมใดๆ ต้องผ่านการขออนุญาตจาก กสทช http://www.webmaster.or.th/article/10question-3g-blognone

  43. References • เศรษฐพร คูศรีพิทักษ์, สุดารัตน์ แก้วงาม, ปุณย์สิรี ฉัตรจินดา,กสทช. กสท. กทค. กับการทำหน้าที่, กสทช.2554. • พูลศิริ นิลกิจศรานนท์, จิตสถา ศรีประเสริฐสุข, สมพร อมรชัยนพคุณ, ปุณย์สิรี ฉัตรจินดา, พรรณิภา สีใส, วีณา จ่างเจริญ ,เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการประมูลคลื่นความถี่, กสทช.2554. • บทเรียนการเปิดเสรีโทรคมนาคมและการประเมินผลการปฏิรูประบบโทรคมนาคมไทย, สำนักงานคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ. • คัคนางค์ จามักริก, ทฤษฏีเกมกับการกำหนดอัตราค่าบริการโทรคมนาคม , กสทช.2554. • อนาคตโทรคมนาคมไทย, VOICEtv, 26 ตุลาคม 2553. • วิเคราะห์ตลาดโทรคมนาคม TELECOM STATUS, สำนักงานคณะกรรมการกิจการ กระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ, พฤศจิกายน 2554. • วิเคราะห์ตลาดโทรคมนาคม TELECOM STATUS, สำนักงานคณะกรรมการกิจการ กระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ, ธันวาคม 2554. 43

More Related