280 likes | 767 Views
สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - แพร่ เฉลิมพระเกียรติ. แผนการทดลองแบบพื้นฐาน. แผนการทดลองแบบสุ่มตลอด (Completely randomized design ,CRD) เงื่อนไขการใช้ เหมาะกับงานทดลองที่มีหน่วยทดลองสม่ำเสมอกัน 2. วิธีการสุ่ม โดยการสุ่มตลอด หรือสุ่มโดยไม่มีเงื่อนไข .
E N D
สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - แพร่ เฉลิมพระเกียรติ แผนการทดลองแบบพื้นฐาน • แผนการทดลองแบบสุ่มตลอด (Completely randomized design ,CRD) • เงื่อนไขการใช้ • เหมาะกับงานทดลองที่มีหน่วยทดลองสม่ำเสมอกัน • 2. วิธีการสุ่ม • โดยการสุ่มตลอด หรือสุ่มโดยไม่มีเงื่อนไข
สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - แพร่ เฉลิมพระเกียรติ B C D A B D D B B C A C A D C A • แผนการทดลองแบบสุ่มตลอด (Completely randomized design ,CRD) • ผังการทดลอง • ตัวอย่างผังการทดลองที่มี 4 ทรีทเมนต์ (A B C และ D) ที่มีซ้ำเท่ากับ 4 ซ้ำ
สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - แพร่ เฉลิมพระเกียรติ 4. แบบหุ่นทางคณิตศาสตร์ อิทธิผลของทรีทเมนต์ ความคลาดเคลื่อนของการทดลอง
สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - แพร่ เฉลิมพระเกียรติ แผนการทดลองแบสุ่มตลอด (Completely randomized design ,CRD) 5. วิธีวิเคราะห์ ในทางปฏิบัติสามารถคำนวณค่า Sum of squares (SS) ได้ดังนี้ ค่า Correction term, CT = (Y…ij)2 /tr (1) Total SS = (2) Treatment SS = (3) Error SS = (1) - (2)
สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - แพร่ เฉลิมพระเกียรติ แผนการทดลองแบสุ่มตลอด (Completely randomized design ,CRD) 5. วิธีวิเคราะห์ จะได้ตารางวิเคราะห์ ดังนี้
สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - แพร่ เฉลิมพระเกียรติ 6. วิธีทดสอบสมมุติฐาน Ho : 1 = 2= 3 =……. = t HA : อย่างน้อยมีค่าเฉลี่ย 2 ค่า ที่ไม่เท่ากัน หรือ Ho : i = 0 HA: i 0
สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - แพร่ เฉลิมพระเกียรติ 6. วิธีทดสอบสมมุติฐาน นำค่า F ที่คำนวณได้ เปรียบเทียบกับค่า F ในตารางที่ dfเท่ากับ t-1 , t(r-1) หาก F ที่คำนวณได้ <ค่า F ในตาราง = ยอมรับ Ho หาก F ที่คำนวณได้ > ค่า F ในตาราง = ยอมรับ HA
สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - แพร่ เฉลิมพระเกียรติ 7. ตัวอย่างการวิเคราะห์ B (57) C (61) E (64) D (56) C (57) E (63) A (63) B (58) C (56) D (53) B (61) B (59) E (65) C (58) A (67) E (66) C (58) A (64) A (62) D (54) A (70) D (57) D (54) B (60) E (62)
สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - แพร่ เฉลิมพระเกียรติ แผนการทดลองแบสุ่มตลอด (Completely randomized design ,CRD) วิธีวิเคราะห์ ในทางปฏิบัติสามารถคำนวณค่า Sum of squares (SS) ได้ดังนี้ ค่า Correction term, CT = (Y…ij)2 /tr (1) Total SS = (2) Treatment SS = (3) Error SS = (1) - (2)
สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - แพร่ เฉลิมพระเกียรติ 7. ตัวอย่างการวิเคราะห์
สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - แพร่ เฉลิมพระเกียรติ 7. ตัวอย่างการวิเคราะห์ จากตาราง F 0.01(4,20) = 4.43 สรุปผล = ปฏิเสธ Ho ยอมรับ HA
สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - แพร่ เฉลิมพระเกียรติ ตัวอย่างการใช้ฮอร์โมนต่อการขยายตัวของรังไข่ของปลาไหล
สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - แพร่ เฉลิมพระเกียรติ ตัวอย่างการวิเคราะห์ จากตาราง F 0.05(3,24) = 3.01 F 0.01(3,24) = 4.72 สรุปผล = ปฏิเสธ Ho ยอมรับ HA
สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - แพร่ เฉลิมพระเกียรติ แผนการทดลองแบบสุ่มตลอด ที่มีจำนวนซ้ำไม่เท่ากัน ในการศึกษาผลของอาหาร 3 สูตรที่มีผลต่อน้ำหนักไข่ (กรัม) โดยใช้ไก่พันธุ์เดียวกัน อายุไข่เท่ากัน จำนวน 150 ตัว แยกขังเป็นคอก ๆละ 10 ตัว ดังนั้นแต่ละสูตรจะใช้เลี้ยงไก่ 5 คอก แต่ขณะเลี้ยงมีไก่ป่วย จึงจำเป็นต้องคัดไก่บางคอกออกจากทดลอง ค่าเฉลี่ยและผังการทดลองเป็นดังนี้
สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - แพร่ เฉลิมพระเกียรติ B (60) C (55) B (55) C (57) B (60) B (53) C (59) A (49) A (51) B (58) A (43) C (54) แผนการทดลองแบบสุ่มตลอด ที่มีจำนวนซ้ำไม่เท่ากัน ผังการทดลอง
สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - แพร่ เฉลิมพระเกียรติ ตารางวิเคราะห์ แผนการทดลองแบบสุ่มตลอด ที่มีจำนวนซ้ำไม่เท่ากัน
สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - แพร่ เฉลิมพระเกียรติ • ค่า Correction term, CT = (Y…ij)2 /tr • (1) Total SS = • (2) Treatment SS = • (3) Error SS = (1) - (2) • Correction term, CT = (654)2 /12 = 35,643 (1) Total SS = (51)2 + (43)2 + ….. (54)2 – CT = 35,920 -35,643= 277
สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - แพร่ เฉลิมพระเกียรติ (2) Treatment SS = = 35,831.78 – 35,643 = 188.78 (3) Error SS = (1) - (2) = 277 – 188.78 = 88.22
สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - แพร่ เฉลิมพระเกียรติ ตารางวิเคราะห์ แผนการทดลองแบสุ่มตลอด ที่มีจำนวนซ้ำไม่เท่ากัน จากตาราง F 0.01(2,9) = 8.02 สรุปผล = ปฏิเสธ Ho ยอมรับ HA
สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - แพร่ เฉลิมพระเกียรติ การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของทรีทเมนต์ • ในการวิเคราะห์ความแปรปรวน ทราบเพียงว่า ทรีทเมนต์มีความแตกต่าง • แต่ไม่สามารถบอกได้ว่า ทรีทเมนต์ใดบ้างที่แตกต่างกัน • ตรวจสอบโดย ทดสอบต่อไป ว่ามีทรีทเมนต์คู่ไหนบ้างที่แตกต่าง • เรียกว่า การเปรีบบเทียบค่าเฉลี่ยของทรีทเมนต์ • มีหลายวิธี เช่น lsd , DMRT, Orthogonal comparison เป็นต้น
สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - แพร่ เฉลิมพระเกียรติ • Least significant difference (lsd) • ใช้เปรียบเทียบค่าความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ยของตัวอย่าง จากประชากร 2 ชุดที่ต้องการเปรียบเทียบ • เหมาะสำหรับการตรวจสอบค่าเฉลี่ยในแผนการทดลองที่ได้มีการวางแผนล่วงหน้า • ค่า
สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - แพร่ เฉลิมพระเกียรติ • ขั้นตอนการวิเคราะห์ • จัดเรียงค่าเฉลี่ยจากค่าน้อยไปหามาก หรือ มากไปหาน้อย • คำนวณหาจำนวนคู่ที่สามารถเปรียบเทียบได้ จาก • คำนวณหาค่า lsd • คำนวณผลต่างของค่าเฉลี่ยของทรีทเมนต์ทุกคู่ • สรุปผล
สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - แพร่ เฉลิมพระเกียรติ = • ขั้นตอนการวิเคราะห์ • จัดเรียงค่าเฉลี่ยจากค่าน้อยไปหามาก หรือ มากไปหาน้อย • A E B C D • 65.2 64 59 58 54.8 • 2. คำนวณหาจำนวนคู่ที่สามารถเปรียบเทียบได้
สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - แพร่ เฉลิมพระเกียรติ • ขั้นตอนการวิเคราะห์ • 3. คำนวณหาค่า lsd • โดย เป็นค่า t จากตาราง t ที่ dfเท่ากับ df (error) หรือ t(r-1) • = = = 2.845 โดย ==
สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - แพร่ เฉลิมพระเกียรติ ขั้นตอนการวิเคราะห์ 3. คำนวณหาค่า lsd 4. คำนวณผลต่างของค่าเฉลี่ยของทรีทเมนต์ทุกคู่ คู่ที่1 A – B = 65.2 – 59 = 6.2** > 3.77 คู่ที่ 2 A – C = 65.2 – 58 = 7.2** > 3.77 คู่ที่ 3 A – D= 65.2 – 54.8 = 10.4**> 3.77
สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - แพร่ เฉลิมพระเกียรติ 4. คำนวณผลต่างของค่าเฉลี่ยของทรีทเมนต์ทุกคู่ คู่ที่ 4A – E = 65.2 - 64 = 1.2ns < 3.77 คู่ที่ 5B – C = 59 - 58 = 1ns < 3.77 คู่ที่ 6B – D= 59 – 54.8 = 4.2** > 3.77 คู่ที่ 7B – E = 59 - 64 = 5**> 3.77 คู่ที่ 8C – D = 58 – 54.8 = 3.2ns < 3.77 คู่ที่ 9C – E = 58 - 64 = 6** > 3.77 คู่ที่ 10D – E = 54.8 - 64 = 9.2**> 3.77
สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - แพร่ เฉลิมพระเกียรติ 5. สรุปผล Aก E ก Bข Cขค Dค 65.2 64 59 58 54.8