1 / 3

ผลการดำเนินงานกลุ่มส่งเสริมการเลี้ยงผึ้งและแมลงเศรษฐกิจ ( 1 ตค. 54 – 15 กพ. 55 ) ********

ผลการดำเนินงานกลุ่มส่งเสริมการเลี้ยงผึ้งและแมลงเศรษฐกิจ ( 1 ตค. 54 – 15 กพ. 55 ) ********. ๑ . รวบรวม ผลสำเร็จของงานศูนย์ปฏิบัติการกรมส่งเสริม การเกษตร จำนวน 48 ศูนย์ ประกอบด้วย ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตร(พืชสวน ) ศูนย์ส่งเสริมและ พัฒนา

dawson
Download Presentation

ผลการดำเนินงานกลุ่มส่งเสริมการเลี้ยงผึ้งและแมลงเศรษฐกิจ ( 1 ตค. 54 – 15 กพ. 55 ) ********

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ผลการดำเนินงานกลุ่มส่งเสริมการเลี้ยงผึ้งและแมลงเศรษฐกิจผลการดำเนินงานกลุ่มส่งเสริมการเลี้ยงผึ้งและแมลงเศรษฐกิจ ( 1 ตค. 54 – 15 กพ. 55 ) ******** ๑. รวบรวมผลสำเร็จของงานศูนย์ปฏิบัติการกรมส่งเสริมการเกษตร จำนวน 48 ศูนย์ ประกอบด้วยศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตร(พืชสวน) ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนา อาชีพการเกษตร(พันธุ์พืชเพาะเลี้ยง) ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตร(ผึ้ง) ศูนย์ส่งเสริมการเกษตรที่สูง ศูนย์ส่งเสริมเยาวชนเกษตร ศูนย์บริหารศัตรูพืช ศูนย์ส่งเสริมวิศวกรรมการเกษตร จัดทำเป็นเอกสารผลงานเด่นและกิจกรรมเด่น ของศูนย์ปฏิบัติการกรมส่งเสริมการเกษตร โดยนายอนันต์ ลิลา รองอธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร ฝ่ายวิชาการ เป็นประธานจัดทำ เพื่อนำมาใช้ประโยชน์ในการเผยแพร่ผลงาน/งานของศูนย์ปฏิบัติการ ที่มีลักษณะเด่น น่าสนใจ ทั้งงานด้านส่งเสริมการเกษตร การให้บริการปัจจัยการผลิต แปลง/จุดเรียนรู้ เพื่อศึกษา ดูงาน แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร องค์ความรู้ของศูนย์ ผลงานที่ประสบผลสำเร็จที่มีศักยภาพ พร้อมที่จะให้บริการ และเป็นงานที่อยู่ในความสนใจของลูกค้า เกษตรกร หน่วยงานราชการอื่น ได้รับทราบผลงานดังกล่าว จำนวน ๑,๐๐๐ เล่ม พร้อมจัดส่งให้ศูนย์ปฏิบัติการและหน่วยงานของ กรมส่งเสริมการเกษตรใช้ในการประชาสัมพันธ์ และเผยแพร่ผลงาน รวมทั้งสิ้น ๑,๐๐๐ เล่ม ดังต่อไปนี้ ๑.๑ ผู้บริหารกรมส่งเสริมการเกษตร จำนวน ๔ เล่ม ๑.๒ ผู้อำนวยการสำนัก/กองต่าง ๆ จำนวน ๑๑๔ เล่ม ๑.๓ ผู้ว่าราชการจังหวัด ๆ ละ ๕ เล่ม จำนวน ๓๘๕ เล่ม ๑.๔ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเขต ๆ ละ ๕ เล่ม จำนวน ๓๐ เล่ม ๑.๕ ผู้อำนวยการศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตร ศูนย์ละ ๗ เล่ม จำนวน ๔๖๗ เล่ม

  2. -๒- ๒. จัดประชุมศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตร (ผึ้ง) จำนวน 5 ศูนย์ ตามบัญชาของ อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตรที่ได้ให้นโยบายพิจารณาหาแนวทางส่งเสริมการเลี้ยงผึ้งและแมลงเศรษฐกิจ ให้มีความชัดเจนในการทำงานมีแผนงาน/กิจกรรมอย่างต่อเนื่อง และสามารถดำเนินการได้ต่อไป โดยมี นายอนันต์ ลิลา รองอธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตรฝ่ายวิชาการเป็นประธาน เมื่อวันที่ 5 มกราคม 2555 ณ ห้องประชุม 2 สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร โดยได้แนวทางการพัฒนางาน 2 แนวทางคือ ๒.๑ การพัฒนางานส่งเสริมการเลี้ยงผึ้งพันธุ์ มี 5 แนวทาง คือ การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและลด ต้นทุนการผลิต การควบคุมคุณภาพสินค้าตั้งแต่ระดับฟาร์มถึงผู้บริโภค การพัฒนาด้านเครือข่ายและด้าน การตลาด การพัฒนาด้านการวิจัยและพัฒนา และการสนับสนุนและผลักดันยุทธศาสตร์ผึ้งและผลิตภัณฑ์ ผึ้งให้เป็นแผนพัฒนาระดับชาติ ๒.๒ การพัฒนางานส่งเสริมการเลี้ยงผึ้งและแมลงเศรษฐกิจ เช่น เลี้ยงผึ้งโพรง จิ้งหรีด ด้วงสาคู และ การเลี้ยงครั่ง มี 3 แนวทาง คือ การส่งเสริมและพัฒนาประสิทธิภาพการเลี้ยงและการผลิต การส่งเสริม และพัฒนากลุ่มเครือข่ายและตลาด และการวิจัยและพัฒนา ๓. โครงการที่มีความเร่งด่วนและจำเป็นในการพัฒนางานในปี ๒๕๕๕ มี ๔ โครงการ คือ ๓.๑ โครงการสัมมนาผึ้งแห่งชาติครั้งที่ 8 เพื่อร่วมประชาพิจารณ์ร่างยุทธศาสตร์น้ำผึ้งและผลิตภัณฑ์ผึ้ง และความก้าวหน้าของอุตสาหกรรมการเลี้ยงผึ้งของประเทศไทย งบประมาณ ๔๒๔,๐๐๐ บาท ๓.๒ โครงการศูนย์เรียนรู้ผึ้ง เพื่อพัฒนาศักยภาพของศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตร(ผึ้ง) ๕ ศูนย์ ให้เป็นศูนย์เรียนรู้ด้านผึ้งหลักของประเทศ งบประมาณ ๑,๐๕๐,๐๐๐ บาท ๓.๓ โครงการนำร่องเพาะเลี้ยงขยายนางพญาผึ้ง เพื่อรวบรวมนางพญาผึ้งสายพันธุ์ดี และเพาะขยาย เพื่อสนับสนุนเกษตรกรในเขตความรับผิดชอบ งบประมาณ ๔๑๕,๐๐๐ บาท ๓.๔ โครงการพัฒนาหลักสูตรการเลี้ยงผึ้งพันธุ์ เพื่อพัฒนาหลักสูตรการเลี้ยงผึ้งพันธุ์ให้มีเนื้อหาที่เป็น ปัจจุบัน สามารถนำไปส่งเสริมแก่เกษตรกรได้อย่างมีประสิทธิภาพ งบประมาณ ๔๑๑,๐๐๐ บาท โดยได้นำข้อมูล/โครงการเสนอกรมส่งเสริมการเกษตรเพื่อจัดหาแหล่งงบประมาณในการดำเนินงานต่อไป

  3. -๓- ๓. จัดทำแผนงานและงบประมาณโครงการเตรียมความพร้อมการผลิตอาหารปลอดภัย ๓.๑ กิจกรรมการอบรมเกษตรกร พื้นที่ดำเนินการและเป้าหมายรายจังหวัด ภาคตะวันออก 40 ราย สระบุรี (10) จันทบุรี (20)ลพบุรี (10) ภาค ต.อ./เหนือ 20 ราย ขอนแก่น (10) บุรีรัมย์ (10) ภาคใต้ 60 ราย ชุมพร (20) พัทลุง (10) นครศรีธรรมราช (20) สงขลา (10) ภาคเหนือ 50 ราย เชียงใหม่ (20) ลำพูน (10) พิษณุโลก (10) อุตรดิตถ์ (10) รวมทั้งสิ้น 13 จังหวัด จำนวน 170 ราย ๓.๒ กิจกรรมการจัดทำแปลงต้นแบบพื้นที่ดำเนินการ ๑๗ แปลง ๓.๓กิจกรรมที่ 3 จัดทำแปลงทดสอบนวัตกรรมผึ้ง ๓.๓.๑ แปลงทดสอบนวัตกรรมปรับปรุงนางพญาผึ้งสายพันธุ์ดีเพื่อตอบสนองความต้องการของ เกษตรกรผู้เลี้ยงผึ้งในเขตจังหวัดภาคเหนือและภาคใต้ (ศูนย์ฯ ผึ้ง จ.เชียงใหม่ , ศูนย์ฯ ผึ้ง จ.ชุมพร) ๓.๓.๒ ทดสอบนวัตกรรมการพัฒนาบรรจุภัณฑ์และออกแบบตราสัญลักษณ์ผลิตภัณฑ์ผึ้งของ กรมส่งเสริมการเกษตร(ศูนย์ฯ ผึ้ง จ.จันทบุรี) ๓.๓.๓ นวัตกรรรมสวนผึ้ง ( Bee Zoo ) (บึงฉวาก จังหวัดสุพรรณบุรี)

More Related