1 / 55

Intercostal chest drain

Intercostal chest drain. ท่อระบายทรวงอก. สรีรวิทยาการหายใจ. Pleural space เป็นช่องที่อยู่ระหว่าง visceral กับ parietal pleura ปกติจะไม่มีอากาศอยู่เลยแต่มีน้ำจำนวนเล็กน้อย ช่องนี้จะมีความดัน -5 cmH 2 O เสมอเมื่อเทียบกับความดันด้านนอก

delora
Download Presentation

Intercostal chest drain

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Intercostal chest drain ท่อระบายทรวงอก

  2. สรีรวิทยาการหายใจ • Pleural space เป็นช่องที่อยู่ระหว่าง visceral กับparietal pleura ปกติจะไม่มีอากาศอยู่เลยแต่มีน้ำจำนวนเล็กน้อยช่องนี้จะมีความดัน-5 cmH2Oเสมอเมื่อเทียบกับความดันด้านนอก • เมื่อเริ่มหายใจเข้ากระบังลมหดตัวลงกล้ามเนื้อยกซี่โครงขึ้นเพิ่มปริมาตรทรวงอกความดันในทรวงอกลดลงดึงให้อากาศภายนอกเข้ามาในปอดความดันในpleural space ลดลงเหลือ-10 cmH2O • อากาศจากภายนอกเข้าในปอดจนความดันภายนอกเท่ากับความดันภายในช่องอก

  3. สรีรวิทยาการหายใจ • เริ่มหายใจออกโดยปอดจะยุบตัวด้วยelastic recoil ปริมาตรทรวงอกลดลงความดันในทรวงอกเพิ่มขึ้นดันอากาศจากปอดออกสู่ด้านนอกความดันในpleural space เพิ่มขึ้นเป็น-5 cmH2O • หลังจากนั้นเริ่มหายใจเข้าอีกครั้ง

  4. Negative หายใจแรงขึ้นก็แกว่งมากขึ้น

  5. Chest drainageคือการระบายเอาสารเหลวหรือลมออกจาก pleural space เพื่อ ให้ปอดขยายตัว ให้visceralและparietal pleuralมาบรรจบกัน ทราบจำนวนสารเหลวหรือลมที่ออกมาจากตัวผู้ป่วย ป้องกันไม่ให้mediastinum เคลื่อนตัวไปหรือถูกกด วัตถุประสงค์

  6. ข้อบ่งชี้ 1. Pneumothorax • In any ventilated patient • Tension pneumothoraxafter initial needle relief • Persistent or recurrent pneumothorax after simple aspiration • Large secondary spontaneous pneumothorax in patients over 50 years 2. Malignant pleural effusion 3. Empyema and complicated parapneumonic effusion 4. Traumatic haemopneumothorax 5. Postoperative – for example, thoracotomy, esophagectomy, cardiac surgery

  7. ข้อบ่งชี้ 6. pleurodesis procedure 7. prophylaxis pneumothorax ในกรณีที่มี multiple fracture ribs แล้วต้องon respirator

  8. Immediate tube decompression • subcutaneous emphysema หรือ unilateral decreased breath soundsร่วมกับ severe dysnea หรือarterial oxygen saturation less than 90% on 100% oxygen หรือsystolic BP <90 mm.Hg

  9. Pre-drainage risk assessment • Haemorrhage - any coagulopathy or platelet defect should be corrected prior to chest insertion if possible. - PT and Platelet count only in patient with known risk factor • ต้องแน่ใจว่าเป็นPneumothorax ไม่ใช่ bullous diseaseหรือเป็นpleural effusion ไม่ใช่Lung collapse • Lung densely adherent to the chest wall throughout the hemithorax is an absolute contraindication to chest drain insertion

  10. ส่วนประกอบchest drainage system • สายยางและข้อต่อต่างๆ • ขวดระบาย • ขวดunderwater seal • ขวดเก็บสารเหลว • ขวดควบคุมแรงดันลบ • เครื่องsuction

  11. ส่วนประกอบ (ต่อ) สายยางและข้อต่อต่างๆ • เป็นสายที่sterile • ใสสามารถมองเห็นสารเหลวด้านในได้ • ไม่แข็งหรืออ่อนจนเกินไปเพื่อให้สามารถmilkingสายได้ • ไม่ทำให้เกิดปฏิกิริยากับผู้ป่วยมากเกินไป ในผู้ใหญ่ใช้สายยางขนาดเบอร์28-36 french ยาว1.5-2 ฟุตปลายที่อยู่ในpleural space ควรมีรูด้านข้างหลายๆรูเพื่อให้ระบายได้ดี ในกรณีทึ่ตัดรูเพิ่มไม่ควรให้มีขนาดเกินครึ่งหนึ่งของเส้นผ่านศูนย์กลางเพราะจะทำให้หักงอได้ง่าย

  12. ส่วนประกอบ (ต่อ) ขวด 1 : ขวดunderwater seal • ขวดนี้มีความสำคัญที่สุด จำเป็นต้องมีเสมอไม่ว่าจะต่อแบบใด • ประกอบด้วยหลอดแก้วสั้น 1 อันอยู่เหนือระดับน้ำ และหลอดแก้วยาวจุ่มในน้ำลึก 2-3 cm

  13. ส่วนประกอบ (ต่อ) ขวด 2 : ขวดเก็บสารเหลว • เป็นขวดเปล่าสำหรับเก็บสารเหลวที่ออกมาจากตัวผู้ป่วย • ประกอบด้วยหลอดแก้วสั้น 2 อัน • ขวดนี้ต่อเดี่ยวๆ ไม่ได้เพราะไม่มี underwater seal

  14. ส่วนประกอบ (ต่อ) ขวด3 : ขวดควบคุมแรงดันลบ • ขวดนี้ถ้าไม่ใช้เครื่อง suction ก็ไม่จำเป็นต้องมี • และใช้กรณีเครื่อง suction ไม่สามารถควบคุมความดันได้ • ใช้ขวดแบบ 3 ตาที่มีหลอดแก้วจุ่มใต้น้ำ 10-20 cmH2O • หลอดอีก 2 อันเป็นหลอดแก้วสั้นอยู่เหนือระดับน้ำ

  15. ส่วนประกอบ (ต่อ) เครื่องsuction • ต้องต่อกับขวดควบคุมความดันลบเพื่อให้ความดันลบคงที่ตลอดเวลา • ถ้าความดันลบมากเกินไปอาจทำให้ปอดถูกดูดติดกับสาย ICD ทำให้รูระบายถูกอุดทำให้น้ำระเหยไปเร็วต้องเติมน้ำอยู่บ่อยๆ • ถ้าควานดันลบน้อยเกินไปมีผลเหมือนกับสายยางตัน • จะใช้เครื่องsuction ก็ต่อเมื่อต้องการให้ปอดขยายตัวเร็วๆหรือมีลมรั่วในทรวงอกมากเท่านั้นถ้าไม่มีลมรั่วในทรวงอกก็ไม่มีความจำเป็น

  16. Patient position • ให้ผู้ป่วยนอนโดยยกแขนข้างที่จะใส่ท่อระบายขึ้น • หาตำแหน่ง safe triangleโดย อยู่ระหว่าง lateral border of pectoralis major muscle กับ anterior border of the latissimus dorsi muscle โดยส่วนล่างอยู่ในระดับ nipple

  17. Patient position

  18. Confirming site of drain insertion • A chest tube should not be inserted without further image guidance if free air or fluid cannot be aspirated with a needle at the time of anesthesia.(C) • Imaging should be used to select the appropriate site for chest tube placement.(B) • A chest radiograph must be available at the time of drain insertion except in the case of tension pneumothorax.(C)

  19. การเลือกต่อท่อระบายลงขวดการเลือกต่อท่อระบายลงขวด เมื่อไหร่จะใช้ขวด1 ใบ, 2 ใบ, 3 ใบ • โดยทั่วไปต่อลงขวด1 ใบ (ขวดunderwater seal)โดยใส่น้ำให้ท่วมหลอดแก้ว2 cm เหมาะในกรณีเร่งด่วนและต้องเคลื่อนย้ายผู้ป่วยบ่อย ๆ และในกรณีที่ระบายแต่ลมซึ่งปอดพองขยายตัวได้ดี

  20. การเลือกต่อท่อระบายลงขวด (ต่อ) • ในกรณีลมรั่วมากกว่าน้ำจะทำให้เกิดฟองค้างอยู่จนเต็มขวดและทำให้ถูกดูดเข้าไปในเครื่องsuction ได้จึงต่อขวดดักair และfluid เพิ่มมาอีกขวด เหมาะสำหรับการระบาย Fluid เช่นเลือด clear effusion ต่าง ๆ

  21. การเลือกต่อท่อระบายลงขวด (ต่อ) • ในกรณีที่มีแต่suction ที่ตั้งpressure ไม่ได้สามารถควบคุมpressure ด้วยการเพิ่มขวดควบคุมความดันลบ กรณีที่สองชนิดแรกระบายไม่ดีปอดไม่ค่อยขยาย -10

  22. หลักการดูแล • Patient assessment • dressing assessment • Tube assessment • Drainage unit assessment • assessing emergencies

  23. หลักการดูแล • ระบบไม่ตัน • ระบบไม่รั่ว • ระบบสะอาดปราศจากเชื้อ

  24. Patient assessment • 10 คำถาม • Vital signs • Breathing sound ทุกLung fields • Dyspnea • Tachypnea • Heart sound • Agitation • Cold and wet skin • New pain , increase pain • Arrhythmia ,Tachycardia or Bradycardia • Subcutaneous emphysema

  25. dressing assessment • Dry and occlusive dressing • ไม่จำเป็นต้องปิดgauze หนาๆจำนวนมากจะทำให้อับชื้นและทำให้ผู้ป่วยหายใจลึกๆไม่สะดวก • ไม่จำเป็นต้องปิดเทปเหนียวเพื่อให้ง่ายเวลาทำแผล • ผิวหนังมีลักษณะของการติดเชื้อหรือไม่มีdischargeสีกลิ่นปริมาณเป็นอย่างไร

  26. Tube assessment • รูchest tube ไม่โผล่ออกมาอยู่นอกผนังทรวงอก • ข้อต่อทุกที่แน่นสนิทดีมีเทปยึดไว้ • ไม่ตกท้องช้าง • ไม่งอไม่โดนทับ • ไม่มีสิ่งอุดตันในสาย • Milking

  27. ตกท้องช้าง

  28. ตกท้องช้าง

  29. Drainage unit assessment • วางต่ำกว่าทรวงอกอย่างน้อย 2 ฟุต • ติดเทปข้างขวดเพื่อประเมินปริมาณdrainage • ถ้าออกมากกว่า 100 cc/hr ควรจะรายงานแพทย์ • ขวดunderwaterseal มีfluctuation ตามการหายใจหรือไม่ถ้าไม่เพราะอะไร • มีลมปุดออกมาตลอดเวลาหรือไม่ถ้ามีลมนั้นมาจากที่ใด • Drainage fluid จากเดิมเป็นserous เปลี่ยนเป็นfrank blood อีกควรรายงานแพทย์

  30. assessing emergencies Death • Tension pneumothorax • missed minimal pneumothorax another side +on ventilator(ข้างที่ใส่ไม่ได้มีปัญหา) • suction ไม่ทำงานหรือปิดแล้วแต่ไม่ถอดสายเพื่อให้ลมออก • สายICD หลุดปิด occlusive dressing ไว้ • clamp แล้วลืมoff • สายตันจากเหตุต่างๆ

  31. Tension pneumothorax If tension pneumothorax is present, a cannula of adequate length should be promptly inserted into the second intercostal space in themid clavicular line and left in place until a functioning intercostal tube can be positioned. [B]

  32. การดูแลภายหลังการใส่ • ตรวจดูการทำงานของระบบไม่มีรอยรั่ว • คอยสังเกตsubcutaneous emphysema • CXR หลังใส่ICD ทุกครั้ง • ถ้าผู้ป่วยปวดมากควรให้ยาระงับปวด • ระวังสายยางพับงอ • ระวังสายICD ตัน • ความยาวของสายICD ไม่ควรยาวเกินไปจนทำให้มีสารเหลวค้างอยู่ทำให้เหมือนสายตันและไม่ควรสั้นเกินจนผู้ป่วยขยับตัวลำบาก • ถ้าsuction เสียให้ดึงสายยางออกจากเครื่องsuction ปล่อยให้ระบายเอง

  33. การดูแลภายหลังการใส่ • ถ้าผู้ป่วยหายใจแรงจนดูดน้ำจากขวด2 ไปขวด1 ให้เปลี่ยนสายยางที่ต่อระหว่างขวด1 กับขวด2 ให้ยาวและติดไว้กับขอบเตียงให้สายสูงจากพื้น40 cm • อย่ายกขวดระบายสูงกว่าตัวผู้ป่วยโดยไม่ได้clamp • Clamp สายยางทุกครั้งเมื่อเปลี่ยนขวดระบายเตรียมขวดให้พร้อมต่อก่อนยกเว้นว่ามีลมรั่วออกจากปอดมากและผู้ป่วยกำลังonventilator • เมื่อจะเคลื่อนย้ายผู้ป่วยไม่ควรclamp เพราะอาจเกิดtension pneumothorax ทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิตได้

  34. 40 cm

  35. การดูแลภายหลังการใส่ • ถ้าสายยางระบายทรวงอกตันจะไม่มีความแตกต่างของความดันระหว่างหายใจเข้าและออก • ปกติควรจะมีประมาณ2-5 cmH2O • ถ้าน้อยกว่านี้แสดงว่าปอดขยายเต็มที่แล้ว • ถ้ามากกว่านี้แสดงว่าปอดยังขยายไม่เต็มที่ยังมีช่องว่าในทรวงอกมาก • ถ้าสารเหลวออกน้อยทั้งๆที่ระบบการทำงานดีคนไข้ยังมีไข้สูงให้นึกถึงloculated fluid • ถ้าสายยางหลุดให้รีบอุดรูที่หน้าอกไว้โดยเร็วด้วยผ้าสะอาดถ้าหาอะไรไม่ได้ก็ให้ใช้มืออุดไว้ก่อน

  36. การดูแลภายหลังการใส่ • การเชื่อระบบchest drainage มากเกินไปอาจทำให้คนไข้ตายได้เพราะเลือดอาจไม่ออกมาให้เห็นทั้งหมดส่วนใหญ่อาจจะclot อยู่ในทรวงอกจึงต้องcheck Hct และCXR ร่วมด้วย • ในกรณีคนไข้ที่มีpneumothorax มานานเช่น90-100% แต่ไม่เป็นtension pneumothorax อย่ารีบให้ปอดขยายเร็วเกินไปหรือใช้suction เพราะอาจเกิดre-expansion pulmonary edema ได้ • การระบายpleural effusion อย่าปล่อยเร็วเกินไปเพราะคนไข้อาจshock และควรปล่อยทุก4-5 hr ไม่ควรเกิน1,500 cc/ครั้ง

  37. ข้อควรทราบและปฏิบัติ • ผู้ป่วย • สายICD • ขวดICD • การเคลื่อนย้าย

  38. ผู้ป่วย • Ambulation • Breathing exercise • Dressing • Medication แนะนำให้ใช้antibiotics prophylaxis ในtrauma case analgesic drugs • Perform range of motion

  39. สายICD • ยาวพอเหมาะไม่ยาวไปไม่สั้นไป • ต้องเป็นair seal ไม่มีรอยรั่ว • milking เพื่อป้องกันการอุดตันในสาย • omental tag เพื่อพยุงสายและให้ห่างทรวงอกเล็กน้อยป้องกันการคดงอ

  40. สาย ICD

  41. ขวดICD • ระดับน้ำต้องให้อยู่ในระดับที่ต้องการตลอด • มีที่ยึดกันไม่ให้ล้ม • อย่ายกสูงเกินกว่าระดับอกโดยไม่clamp • ขวดอยู่ต่ำกว่าเตียง 2-3 ฟุตเสมอ

  42. การเคลื่อนย้าย • จะclamp สายเฉพาะตอนที่ขวดอยู่สูงกว่าตัวผู้ป่วยเท่านั้นเมื่อเสร็จแล้วต้องนำขวดลงต่ำและOff clamp ทันที

  43. หลักการพิจารณาเอาสายออกหลักการพิจารณาเอาสายออก • สำหรับการระบายลม • CXR เห็นปอดขยายเต็มทรวงอก • ไม่มีลมออกทางสายระบายให้เห็นในขวดเป็นเวลาอย่างน้อย1 วัน • สำหรับการระบายเลือดหรือหนอง • ปอดขยายตัวเต็มทรวงอก • มีน้ำออกน้อยกว่า50 cc/day ในกรณีสายยางระบายไม่ทำงานได้สังเกตได้จากไม่มีfluctuation ซึ่งจะจากสาเหตุใดก็ตามจะต้องเอาสายยางออกและพิจารณาอีกทีว่าต้องใส่ใหม่หรือไม่

  44. ภาวะแทรกซ้อน • อันตรายจากการใส่สายระบายโดยtrochar หรือclamp อาจทำให้เกิดอันตรายต่อเนื้อปอดหรืออาจถูกหลอดเลือดที่อยู่ชิดขอบล่างของrib มีเลือดออกมากได้ • ปล่อยลมออกจากpleural space เร็วเกินไปทำให้เกิด • Mediastinum เคลื่อนตัวมากทำให้เกิดreflex bradycardia, low cardiac output, hypotension เกิดอันตรายได้ • Pulmonary edema เนื่องจากถุงลมชินกับความดันสูงผิดปกติตลอดเวลาเมื่อระบายลมออกเร็วเกินไปทำให้ปอดขยายตัวรวดเร็วความดันในถุงลมจะลดลงรวดเร็วทำให้น้ำจากหลอดเลือดและinterstitial ไหลเข้าถุงลมได้

  45. ภาวะแทรกซ้อน (ต่อ) • ใส่สายระบายผิดข้าง • ลมถูกดูดกลับเข้าไปในทรวงอกพบในกรณีที่มีรอยรั่วของระบบ • ในกรณีต่อขวดเดียวอาจพบน้ำถูกดูดกลับเข้าสู่ทรวงอกได้ • สายระบายตันอาจเกิดจากมีก้อนเลือดไปอุดมีการหักงอ, clamp สายโดยไม่ได้สังเกต, suction ไม่แรงพอ • สายยางหลุดทำให้ลมถูกดูดเข้าไปในช่องเยื่อหุ้มปอดถ้าสายยางเลื่อนออกมาจนรูสุดท้ายอยู่ในกล้ามเนื้อจะเกิดsubcutaneous emphysema และเกิดการติดเชื้อที่chest wall

  46. ภาวะแทรกซ้อน (ต่อ) • การติดเชื้อการใส่สายนานหลายๆสัปดาห์เป็นทางนำการติดเชื้อเข้าไปในทรวงอกได้จึงควรรีบนำออกเมื่อสภาพของโรคดีขึ้นแต่แนะนำให้ใช้prophylactic antibiotics เฉพาะในtraumatic case

  47. Pitfall การดูแลท่อระบาย • เวลาหยุดพักเครื่องsuction ต้องถอดสายที่ต่อกับเครื่องsuction ออกจากขวด • เวลาทำCXR ผู้ป่วยที่ใส่ICD ควรขอเป็นportable CXR ทุกรายแต่ถ้าจำเป็นต้องเคลื่อนย้ายห้ามclamp สายระหว่างเคลื่อนย้ายผู้ป่วยเด็ดขาด

  48. แบบทดสอบ 10 cm. ถ้าน้ำในขวดที่ 2 แห้ง เนื่องจากถูกดูดเข้ามาในขวดที่ 1 เกิดจากอะไร จะแก้ปัญหาอย่างไร

More Related