1 / 38

โภชนาการในคลินิก DPAC

โภชนาการในคลินิก DPAC. พัชรี วงศ์ ษา ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี. กินพอดี ไม่มีอ้วน. สูตร. ค่าดัชนีมวลกาย = น้ำหนักตัว (กิโลกรัม) ส่วนสูง (เมตร) X ส่วนสูง (เมตร). คุณ หรือ ใคร ใคร เข้าข่ายอ้วนหรือไม่.

dior
Download Presentation

โภชนาการในคลินิก DPAC

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โภชนาการในคลินิก DPAC พัชรี วงศ์ษา ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี

  2. กินพอดี ไม่มีอ้วน

  3. สูตร ค่าดัชนีมวลกาย = น้ำหนักตัว (กิโลกรัม) ส่วนสูง (เมตร) X ส่วนสูง (เมตร) คุณ หรือ ใคร ใคร เข้าข่ายอ้วนหรือไม่ Body Mass Index (BMI) ค่าดัชนีมวลกาย ที่จะบอกว่า อ้วนหรือไม่

  4. BMI น้อยกว่า 18.5 = ผอมไปหน่อย • BMI อยู่ระหว่าง18.5-22.9 = หุ่นกำลังดี • BMI อยู่ระหว่าง 23.0-29.9 = เริ่มอ้วน • BMI ตั้งแต่ 30 ขึ้นไป =เป็นโรคอ้วน

  5. การวัดเส้นรอบเอว โดยใช้สายวัดวัดผ่านสะดือ ไม่เกิน 90 เซนติเมตร ไม่เกิน 80เซนติเมตร

  6. WHO ฟันธงว่าโรควิถีชีวิตเกิดจากพฤติกรรม 2 ทาง • บริโภคอาหารไม่เหมาะสม • กิจกรรมทางกายไม่เหมาะสม / ไม่ออกกำลังกาย ( Physical inactivity )

  7. โรควิถีชีวิตมีผลกระทบอันใหญ่หลวงต่อระบบเศรษฐกิจโลกเพราะ .... ทำลายทรัพยากรมนุษย์ เกิดภาระค่าใช้จ่ายที่สูงมาก

  8. อาหารที่ก่อโรคอ้วนของสังคมไทยอาหารที่ก่อโรคอ้วนของสังคมไทย • อาหารไทยเพี้ยน( Thai Fusion Food ) • อาหารFast Foodตะวันตก

  9. อาหารไทยเพี้ยน • อาหารคาว หวานจัด • มีรสเค็มจัด • กินแบบผัดกับทอดมากขึ้น • ส่วนประกอบผักในอาหารไทยน้อยลง

  10. อาหารไทยเพี้ยน (ต่อ) • กินอาหารกะทิมากขึ้น • กินน้ำพริกน้อยลง • กินอาหารประเภทแป้งนอกจากข้าวมากขึ้น • ประยุกต์ปรุงอาหารไทยเพี้ยนไปจากเดิม

  11. คนไทยกินอาหาร 3 รูปแบบ • ปรุงเองกินในบ้าน • กินนอกบ้าน • กินในและนอกบ้าน

  12. อาหารที่กิน ทั้งในบ้านและนอกบ้าน เมนูชูสุขภาพ หรือ เมนูชูโรคอ้วน ?

  13. โรค อ้วน ภัยร้ายใกล้ตัว

  14. อ้วน คือ ภาวะร่างกายมี ไขมัน ปริมาณ สะสมมากเกิน เกณฑ์

  15. อ้วน ใน ผู้ใหญ่ เสี่ยงตาย และ เจ็บป่วย สูงสุด ...

  16. 50 % อ้วน คน มีอัตราการตายด้วย โรคหัวใจ สูงกว่าคนปกติ

  17. คน อ้วน “ ตาย ” เพราะหลอดเลือด หัวใจตีบ 2 เท่า คนไม่อ้วน ของ

  18. คน อ้วน “ ตาย ” เพราะโรคเบาหวาน เป็น 5 เท่า ของ คนไม่อ้วน

  19. สูงถึง ร้อยละ 33 อ้วน คน เสี่ยงต่อการเป็นโรค มะเร็ง มากกว่าคนที่ไม่อ้วน

  20. อ้วน คน เป็นโรคความดันโลหิตสูง มากกว่า …. คนที่ไม่อ้วน 3 เท่า

  21. เก๊าฑ์ อ้วน คน เสี่ยง ต่อการเป็นโรค สูง 2.5 เท่า ของคน ไม่อ้วน

  22. อ้วนอันตรายใคร ใคร ก็รู้

  23. ลดความอ้วนด้วยตนเอง • ลดความอ้วนพึ่งแพทย์ • มีความพยายามที่จะลด

  24. อะไรคือแรงจูงใจ?? • มีเคล็ดลับอะไร?? • ลดไม่สำเร็จเพราะอะไร?

  25. ความต้องการพลังงานขึ้นอยู่กับความต้องการพลังงานขึ้นอยู่กับ • อายุ • เพศ • ขนาดรูปร่าง • การใช้แรงงาน

  26. พลังงานที่ต้องการ ใน 1 วัน เพื่อทำงานของร่างกาย ใช้แรงงาน รวม ชาย 1,500 500 2,000 หญิง 1,100 500 1,600

  27. ทางเลือก • ควบคุมน้ำหนัก • ลดน้ำหนัก • เพิ่มน้ำหนัก

  28. ควบคุมน้ำหนัก รับเข้า ใช้ไป รับเข้า ใช้ไป 2,000 ชาย 2,000 1,600 หญิง 1,600 น้ำหนักคงที่

  29. เพิ่มน้ำหนัก - อ้วน รับเข้า ใช้ไป รับเข้า ใช้ไป ชาย 2,000 หญิง 1,600 2,5002,100 น้ำหนักเพิ่ม 0.5 กก. / สัปดาห์

  30. ลดน้ำหนัก รับเข้า ใช้ไป รับเข้า ใช้ไป 1,500 ชาย 1,100 หญิง 2,0001,600 น้ำหนักลด 0.5 กก. /สัปดาห์

  31. กินแบบขาดสติเพิ่มน้ำหนักกินแบบขาดสติเพิ่มน้ำหนัก อาหารพลังงาน (Cal) เช้า กาแฟน้ำตาล 3 ชช. 60 ข้าวขาหมู 1 จาน 438 สาย ขนมปังทาเนย 2 แผ่น 210 กลางวัน ก๋วยเตี๋ยวผัดซีอิ๊วใส่ไข่ 679 ฟักทองแกงบวช 369 น้ำอัดลม 1 กระป๋อง 240 บ่าย ปอเปี๊ยทอด + น้ำจิ้ม 371 เย็น ข้าวคะน้าหมูกรอบ 620 บะหมี่ต้มยำ 310 ทุเรียน 2 พู 280 ก่อนนอน โยเกิร์ต 1 ถ้วย 150 รวม 3,712

  32. พลังงานล้นเกินจาก 3,712 Cal เพศ ปกติ เกิน ชาย 2,0001,712 หญิง 1,600 2,112

  33. ถ้ากินทุกวันเสี่ยงต่อการมีน้ำหนักเพิ่มถ้ากินทุกวันเสี่ยงต่อการมีน้ำหนักเพิ่ม สัปดาห์ละ 1-2 กก.

  34. กินเพื่อควบคุมน้ำหนักกินเพื่อควบคุมน้ำหนัก อาหาร พลังงาน (Cal) เช้า ข้าวสวย 2 ทัพพี 160 แกงจืดผักตำลึง 100 ปลากะพงลวก 3 ช้อน 78 สาย นมพร่องไขมัน 1 แก้ว 96 เที่ยง ข้าวเหนียว ส้มตำ ไก่ย่าง 521 ลาบเต้าหู้ 3 ช้อน 196 บ่าย มะละกอสุก 6 ชิ้น70 เย็น ข้าวสวย 2 ทัพพี 166 ต้มส้มปลาทูสด 1 ถ้วยเล็ก 67 ผัดผักเบญจรงค์ 2 ทัพพี 72 ชมพู่ 2 ผล 70 รวม 1602

  35. ถ้ากินได้ทุกวัน น้ำหนัก จะคงที่

  36. กินเพื่อลดน้ำหนัก อาหาร พลังงาน (Cal) เช้า ข้าวต้มปลา 1 ถ้วย 262 นมพร่องไขมัน 1 แก้ว 84 สาย กล้วยน้ำว้า 1 ผล 70 เที่ยง ก๋วยเตี๋ยวราดหน้า 1 จาน 397 ฝรั่ง ½ ผล 70 เย็น ข้าวสวย 1½ ทัพพี 109 แกงจืดเต้าหู้ขาว 90 ส้มเขียวหวาน 70 รวม 1,152

  37. ถ้าทำได้ทุกวัน น้ำหนัก จะลดสัปดาห์ละ 0.5 กก.

More Related