810 likes | 983 Views
ขนาด 525 เตียง อัตราการครองเตียง 94.4 % (ปี 2554) ผู้รับบริการเฉลี่ย 1,650 คน/วัน ผู้ป่วยนอกเฉลี่ย 1,323 คน/วัน. ปชก. UC 151,875. CUP เนินพระ ทับมา,น้ำคอก,บ้านดอน,เนินพระ ปชก. UC 30,867. คลินิกชุมชนอบอุ่น เทศบาลนครระยอง ท่าประดู่,เนินพระ(ไม่มีหมู่),ปากน้ำ ปชก. UC 30,434.
E N D
ขนาด 525 เตียง อัตราการครองเตียง 94.4 % (ปี 2554) ผู้รับบริการเฉลี่ย 1,650 คน/วัน ผู้ป่วยนอกเฉลี่ย 1,323 คน/วัน
ปชก. UC 151,875 CUP เนินพระ ทับมา,น้ำคอก,บ้านดอน,เนินพระ ปชก.UC30,867 คลินิกชุมชนอบอุ่น เทศบาลนครระยอง ท่าประดู่,เนินพระ(ไม่มีหมู่),ปากน้ำ ปชก.UC30,434 CUP เมืองระยอง นาตาขวัญ,เขาวังม่าน,เชิงเนิน(ไม่มีหมู่),กะเฉด,สมานมิตร ท่าเรือแกลง,สำนักทอง,เพ,เกาะเสม็ด,เขายายชุม ปชก.UC61,432 CUP ตะพง ยายดา,บ้านแลง,ตะพง,หนองจอก,ก้นหนอง ปชก.UC29,142
แพทย์ 63 ทันตแพทย์ 8 เภสัชกร 34 พยาบาลวิชาชีพ 466 พยาบาลเทคนิค 27 เจ้าหน้าที่การแพทย์และสาธารณสุข 134 เจ้าหน้าที่อื่น (รวมลูกจ้าง) 772 รวมทั้งหมด 1,535
อายุรกรรม 13 ศัลยกรรม 9 ออร์โธปิดิกส์ 5 กุมารเวชกรรม 5 สูติ-นรีเวชกรรม 6 จักษุวิทยา 3 โสต ศอ นาสิก 4 จิตเวช 2 • อาชีวเวชกรรม 1 • วิสัญญีวิทยา 4 • พยาธิกายวิภาค 2 • เวชกรรมฟื้นฟู 1 • รังสี 2 • เวชศาสตร์ครอบครัว 2
การดูแลครบวงจรในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง • การพัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉิน • การดูแลผู้ป่วยวัณโรค • การบริการสุขภาพจิตในชุมชน • การพัฒนาระบบรับ - ส่งต่อ • การจัดการความเสี่ยงด้านข้อร้องเรียน
โครงการพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วย โรคหลอดเลือดสมองแบบครบวงจรโรงพยาบาลระยอง STROKE FAST TRACK
ผู้เสียชีวิตจากหลอดเลือดสมอง 200,000 คน/ปี ความชุกเฉลี่ย 743 ต่อประชากรแสนคน ประเทศไทยโรคหลอดเลือดสมองเป็นสาเหตุการตายอันดับ 4 พบสมองขาดเลือด(cerebral infarction) คิดเป็นร้อยละ 85 - 95 สถานการณ์โรงพยาบาลระยอง: จำนวนผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยง เฉพาะที่รับการรักษาที่คลินิกเบาหวาน ความดันโลหิตสูงทั้งหมด > 4,000 คน จำนวนผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองต่อปีเพิ่มมากขึ้น (879 , 862 , 976 ในปี 2551-2553 ตามลำดับ : ศูนย์ข้อมูลข่าวสารรพ.ระยอง)
องค์ประกอบหลักของการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมององค์ประกอบหลักของการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง :Multidisciplinary (MD) care :Stroke director หรือแพทย์หัวหน้าทีม มีหน้าที่กำกับดูแล ควบคุมมาตรฐาน พร้อมทั้งกำหนด นโยบาย และบริหารจัดการ :Care protocol (แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วย) :Education (ทีมที่ให้ความรู้กับผู้ป่วย ญาติ และครอบครัวที่ดูแล) :Discharge planning and patient transfer protocols (วางแผนการจำหน่าย และการส่งต่อเพื่อรักษารพ.ใกล้บ้าน) :Data collection (เก็บข้อมูล เพื่อวางแผนการดูแลรักษาต่อไปอย่างเหมาะสม) Slide MTM
บุคคลที่มีความเสี่ยงสูงต่อการเกิดโรค สูบบุหรี่ หรือ สมาชิกครอบครัวสูบบุหรี่
เข้าใจ และมีความรู้ในเรื่องของโรคหลอดเลือดสมอง และสามารถประชาสัมพันธ์ให้ความรู้เบื้องต้นกับประชาชน เฝ้าระวัง และคัดกรองกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง ทราบสัญญาณอันตราย หรืออาการแสดงที่ต้องรีบมาโรงพยาบาลได้อย่างทันท่วงที สามารถประสานงานสถานพยาบาล และให้การช่วยเหลือเบื้องต้น สามารถดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองหลังจำหน่ายจาก โรงพยาบาลได้อย่างถูกต้อง ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน
หากผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองได้รับการรักษารวดเร็วเท่าใด จะยิ่งเป็นการหลีกเลี่ยงความเสียหาย ต่อสมองแบบยาวนานได้ นอกจากนั้นความพิการและอัตราการตายจะลดลงมากขึ้นเท่านั้น ไม่อยากเป็นอัมพาตทำอย่างไร เพิ่มโอกาสรอด - ตรวจ check สุขภาพ - สังเกตอาการอันตราย - 3 ชั่วโมงไม่สายไป - ให้รีบมารพ....เรียก 1669 ช่วยที ลดโอกาสเกิดโรค - ออกกำลังกาย - ควบคุมอาหาร - ทานยาถูกต้อง - ป้องกันภาวะเสี่ยง เลี่ยงบุหรี่ แอลกอฮอล์ - พบหมอสม่ำเสมอ
รอดชีวิตร้อยละ 88.38 เสียชีวิตร้อยละ 11.62
EMS Member care ลำเลียงผู้ป่วยทางอากาศ เตรียมรับสาธารณภัยสารเคมีรังสี พัฒนาระบบบริการ ประชาสัมพันธ์ 1669 พัฒนาเครือข่ายหน่วยกู้ชีพ กู้ชีพทางน้ำ ( เกาะเสม็ด ) สื่อสารประชาสัมพันธ์ EMS สัญจร
ภาวะปกติ / อุบัติเหตุหมู่
Preparedness Mass casualty / Mass gathering / Disaster
รอดชีวิตร้อยละ 82.3 เสียชีวิตร้อยละ 17.7
มาตรฐานการดูแลรักษามีแนวทางการรักษา (Clinical Practice Guideline) • คลินิกวัณโรคแยกจาก OPD เป็นระบบ ONE STOP SERVICE • จัดระบบคลินิกรับยาต่อเนื่อง (Refill Clinic) ร่วมกับอายุรแพทย์ระบบทางเดินหายใจ • มีระบบคัดกรองผู้ป่วยที่สงสัยวัณโรค (Fast tract ) • เพาะเชื้อ หาเชื้อวัณโรค ใน 1 ชั่วโมง • ระบบการติดตามการใช้ยา Anti TB โดยเภสัชกร • การสื่อสารโดยใช้รหัสเพื่อพิทักษ์สิทธิผู้ป่วย
จัดระบบ Home Health Care โดยทีมเวชกรรมสังคม • ติดตามเยี่ยมบ้าน DOT โดยอสม. และจนท.รพ.สต. ดูแลกำกับการกินยา
พัฒนาเครือข่าย จนท. รพ.สต. ในรูปแบบ On the job training • เฝ้าระวังการแพร่กระจายเชื้อวัณโรค จัดการด้านสิ่งแวดล้อม /ระบบระบายอากาศ และการให้ความรู้บุคลากร เพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
จัดโครงการ “การดูแลผู้ป่วยวัณโรคโดยคำนึงถึงความแตกต่างด้านมิติเพศภาวะและการเสริมพลัง - Gender sensitivity and empowerment” ร่วมกับมหาวิทยาลัยมหิดล • สมัครเข้าร่วมโครงการ “การดูแลผู้ป่วยเด็กที่เป็นวัณโรคและเด็กผู้สัมผัสวัณโรค” กับ Global Fund (อยู่ระหว่างรอการตอบรับ)
ขาดโอกาสเข้ารับการรักษาอย่างต่อเนื่องเมื่อกลับสู่ชุมชนขาดโอกาสเข้ารับการรักษาอย่างต่อเนื่องเมื่อกลับสู่ชุมชน มีอาการกลับเป็นซ้ำ / มีอาการทางจิตอย่างรุนแรง ค่าใช้จ่ายในการรักษาสูง เมื่อส่งต่อเพื่อการรักษา ครอบครัว สังคม ชุมชน เกิดความไม่สงบสุข
นำเครือข่ายในชุมชนเข้าร่วมในการดูแล นำเครือข่ายในชุมชนเข้าร่วมในการดูแล • ถ่ายทอดองค์ความรู้ให้เครือข่ายและชุมชน • ตั้งคลินิกจิตเวชในโรงพยาบาลชุมชน • ติดตามเยี่ยมบ้าน • พัฒนาระบบส่งต่อ • ประเมินผลเครือข่าย
เป็นที่ศึกษาดูงานของคณะอาจารย์และนักศึกษาหลักสูตรเฉพาะทางสาขาการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวชเป็นที่ศึกษาดูงานของคณะอาจารย์และนักศึกษาหลักสูตรเฉพาะทางสาขาการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช • รางวัลชนะเลิศประเภทเครือข่ายบริการงานปฐมภูมิ (CUP) ของพื้นที่เขตตรวจราชการที่ 9 เมื่อวันที่ 9 มิถุนายน 2554
การพัฒนาระบบรับ-ส่งต่อการพัฒนาระบบรับ-ส่งต่อ จังหวัดระยอง “Rayong Model” Refer back รพช.เครือข่ายแกลง รพ.เอกชน Referral Center รพท./รพศ.ภายในเขต/ รพ.เอกชน รพ.ตติยภูมิ ระดับสูง Excellent center Refer in Refer in Refer out Refer back Refer in วังจันทร์ เขาชะเมา Refer back รพ. ระยอง รพช. Refer in รพ.สต. เครือข่าย Refer back