360 likes | 575 Views
การชี้แจงการดำเนินงานตามคำรับรอง การปฏิบัติราชการ (KRS) และตัวชี้วัดตามแผนปฏิบัติราชการ (ARS) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554. วันที่ 23-25 กุมภาพันธ์ 2554 ณ โรงแรมสตาร์ จังหวัดระยอง นายสุภัทร พันธ์พัฒ นกุล หัวหน้ากลุ่มพัฒนาระบบบริหาร สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. AGENDA.
E N D
การชี้แจงการดำเนินงานตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ (KRS) และตัวชี้วัดตามแผนปฏิบัติราชการ (ARS) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 วันที่ 23-25 กุมภาพันธ์ 2554 ณ โรงแรมสตาร์ จังหวัดระยอง นายสุภัทร พันธ์พัฒนกุล หัวหน้ากลุ่มพัฒนาระบบบริหาร สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
AGENDA • ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา (KRS และ ARS) • กรอบการประเมินผลตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ และ ตัวชี้วัดตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 • ระยะเวลาการส่งงาน • ระบบ KRS ARS AMSS และ SMSS • แนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2555
ผลการดำเนินงานที่ผ่านมาผลการดำเนินงานที่ผ่านมา ผลการดำเนินงานตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ (KRS) *ผลการประเมินตนเอง (Self Assessment)
ผลการดำเนินงาน ตามแผนปฏิบัติราชการ (ARS) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 ได้คะแนนรวม 4.09683
AGENDA • ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา (KRS และ ARS) • กรอบการประเมินผลตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ และ ตัวชี้วัดตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 • ระยะเวลาการส่งงาน • ระบบ KRS ARS AMSS และ SMSS • แนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2555
กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 กรอบการประเมินผล การปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554 ตัวชี้วัดตามคำรับรอง การปฏิบัติราชการ (KRS) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 ตัวชี้วัดตาม แผนปฏิบัติราชการ (ARS) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554
ด้านคุณภาพการให้บริการด้านคุณภาพการให้บริการ ด้านประสิทธิภาพ ฯ มิติที่ 2 ร้อยละ 15 มิติที่ 3 ร้อยละ 15 ด้านประสิทธิผล มิติที่ 4 ร้อยละ 20 มิติที่ 1 ร้อยละ 50 ด้านการพัฒนาองค์การ กรอบการประเมินผลตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ (KRS) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 (ต่อ)
กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ มิติที่ 1 : มิติด้านประสิทธิผล (น้ำหนักร้อยละ 50) 30 1. ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติ ราชการของกระทรวงและนโยบายสำคัญ/พิเศษของรัฐบาล 2. ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการของกลุ่มภารกิจ 3. ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการของกลุ่มภารกิจ - 20
กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ มิติที่ 2 : มิติด้านคุณภาพการให้บริการ (น้ำหนักร้อยละ 15) 6 4. ร้อยละระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ 5. ร้อยละของระดับความพึงพอใจของผู้กำหนดนโยบาย 6.ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการป้องกันและปราบปรามการทุจริต 3 6
กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ มิติที่ 3 3 7. ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการรักษามาตรฐานระยะเวลาการให้บริการ 8. ร้อยละของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่าย/ภาพรวม/ ตามแผน 9. ระดับความสำเร็จของการจัดทำต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 5 2
กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ มิติที่ 3 3 10.ระดับความสำเร็จของการควบคุมภายใน 11. ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนพัฒนากฎหมายของส่วนราชการ 2
กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ มิติที่ 4 มิติด้านการพัฒนาองค์กร (น้ำหนักร้อยละ 20) 20 12. ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA)
กลยุทธ์ 1 กลยุทธ์ 2 กลยุทธ์ 3 กรอบตัวชี้วัดตามแผนปฏิบัติราชการ (ARS) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับตามหลักสูตร และส่งเสริมความสามารถด้านเทคโนโลยีเพื่อเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ (น้ำหนัก 16) ปลูกฝังคุณธรรม ความสำนึกในความเป็นชาติไทย และวิถีชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (น้ำหนัก 15) ขยายโอกาสทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (น้ำหนัก 22)
กลยุทธ์ 4 กลยุทธ์ 6 กลยุทธ์ 5 กรอบตัวชี้วัดตามแผนปฏิบัติราชการ (ARS) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 (ต่อ) พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาทั้งระบบ (น้ำหนัก 15) พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารการศึกษา ตามแนวทางการกระจายอำนาจ หลักธรรมาภิบาล และเน้นการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนส่วนและความร่วมมือกับองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษา (น้ำหนัก 15) พัฒนาการศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้และพื้นที่ยากลำบาก (น้ำหนัก 16)
AGENDA • ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา (KRS และ ARS) • กรอบการประเมินผลตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ และ ตัวชี้วัดตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 • ระยะเวลาการส่งงาน • ระบบ KRS ARS AMSS และ SMSS • แนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2555
AGENDA • ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา (KRS และ ARS) • กรอบการประเมินผลตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ และ ตัวชี้วัดตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 • ระยะเวลาการส่งงาน • ระบบ KRS ARS AMSS และ SMSS • แนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2555
ระบบ KRS ARS AMSS SMSS KRS พัฒนาคุณภาพและ มาตรฐานการศึกษา ทุกระดับอย่างมี ประสิทธิภาพ ARS AMSS SMSS
ระบบ KRS (KPI Report System)คือ ระบบประมวลผลและจัดเก็บข้อมูลของตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ สำหรับให้สำนักส่วนกลางและสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษารายงานผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการอย่างเป็นระบบ ระบบจะประมวลผลเพื่อให้ได้คะแนนของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาโดยอัตโนมัติและแสดงข้อมูลแบบ Real Time ระบบ KRS
ระบบ ARS (Action Plan Report System)คือ ระบบประมวลผลและจัดเก็บข้อมูลตัวชี้วัดตามแผนปฏิบัติราชการ สำหรับให้สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษารายงานผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดตามแผนปฏิบัติราชการอย่างเป็นระบบ ระบบจะประมวลผลเพื่อให้ได้คะแนนของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาต่อไป ระบบ ARS
ระบบ AMSS (Area Management Support System)คือ ระบบสนับสนุนช่วยเหลือการปฏิบัติงานของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สำหรับให้สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาจัดเก็บข้อมูลโดยตรงกับสถานศึกษาเพื่อให้เป็นประโยชน์สำหรับการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้อง ใช้ในการกำกับ ติดตาม และรายงานผลการดำเนินงานของเขตพื้นที่การศึกษา และของสถานศึกษาในสังกัด ระบบ AMSS
ระบบ SMSS (School Management Support System)คือ ระบบสนับสนุนช่วยเหลือการปฏิบัติงานของสถานศึกษา สำหรับให้สถานศึกษาจัดเก็บข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติงาน และสำหรับให้สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานำไปใช้ประโยชน์สำหรับการรายงาน/ประมวลผลการปฏิบัติงาน ระบบ SMSS
ข้อเสนอแนะ • ศึกษารายละเอียดจากคู่มือ KRS ARS และ PMQA • การถ่ายทอดองค์ความรู้ให้กับเพื่อนร่วมงาน • รายงานให้ผู้บริหารรับทราบอยู่เสมอ • การแต่งตั้งคณะทำงานรับผิดชอบ • การใช้ประโยชน์จากระบบ KRS ARS และ AMSS • ติดตามข้อมูล ข่าวสารจากเว็บไซต์ กพร.สพฐ.
คณะทำงานพัฒนาระบบฯ นายนิพนท์นนธิ รอง ผอ. สพป.อุบลราชธานี เขต 4 นายนิคม ภูมิภาค สพป.อุบลราชธานี เขต 4 นายบุญเริ่ม บุญถาวร สพป.อุบลราชธานี เขต 4 นายทองคำ มากมี สพม. เขต 29 (อุบลราชธานี) นายคมกฤช มุมไธสง สพป.นครราชสีมา เขต 6 นายศาสตรา ดอนโอฬาร สพป.กาฬสิทธุ์ เขต 3 นายธิติ ทรงสมบูรณ์ สพป.กาฬสิทธุ์ เขต 3 นางสาวจตุพร ธนกิจยิ่งยง สพท.อุบลราชธานี เขต 5 นายศุภศิษฎ์พิทยศักดิ์ สพป.ชัยภูมิ เขต 3 นายคำโพธิ์ ศรีสุพรรณ สพม. เขต 30 นางสาวเปรมฤทัย เลิศบำรุงชัย สำนักเทคโนโลยีการเรียนการสอน
AGENDA • ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา (KRS และ ARS) • กรอบการประเมินผลตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ และ ตัวชี้วัดตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 • ระยะเวลาการส่งงาน • ระบบ KRS ARS AMSS และ SMSS • แนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2555
ระบบการประเมินผลภาคราชการแบบบูรณาการระบบการประเมินผลภาคราชการแบบบูรณาการ (Government Evaluation System : GES) สงป. บก. สลค. สศช. ปปท. สปน. สขร. ก.พ. กพร.
ระบบการประเมินผลภาคราชการแบบบูรณาการระบบการประเมินผลภาคราชการแบบบูรณาการ วัตถุประสงค์ : เป็นการยกระดับธรรมภิบาลของแต่ละส่วนราชการ ตามแนวทางมาตรฐานสากล • หลักการและแนวทาง : Public Accountability • แต่ละส่วนราชการต้องมีความพร้อมต่อการตรวจสอบ โดยจัดให้มีฐานข้อมูลสารสนเทศที่จำเป็น (บูรณาการตัวชี้วัด) และเผยแพร่ต่อสาธารณะผ่าน • ทาง website เพื่อแสดงความโปร่งใส (ไม่ต้องจัดส่งข้อมูลและรายงานต่างๆ ให้แก่หน่วยงานกลาง) • แต่ละส่วนราชการต้องทำการประเมินและรายงานผลด้วยตนเอง (Self-assessment Report) ตามเกณฑ์ที่กำหนด เพื่อแสดงให้เห็นถึงผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติราชการ รวมถึงขีดสมรรถนะและศักยภาพของหน่วยงานในด้านต่างๆ
ระบบการประเมินผลภาคราชการแบบบูรณาการระบบการประเมินผลภาคราชการแบบบูรณาการ • หลักการและแนวทาง :Public Trust & Confidence • หน่วยงานกลางจะ access เข้าไปในระบบฐานข้อมูลสารสนเทศ (อาจจัดให้มี Site Visit) เพื่อสอบทานความถูกต้องและประเมินผล เพื่อประกอบการตัดสินใจเชิงนโยบายในด้านต่างๆต่อไป เช่น การจัดสรรทรัพยากร การลงโทษและให้รางวัลตอบแทน เป็นต้น
กรอบการประเมินผลภาคราชการ - แบบบูรณาการ • การประเมินผลกระทบต่อ • ประชาชน เศรษฐกิจ สังคม การเมือง • สิ่งแวดล้อม • การประเมินประสิทธิผล (ผลลัพธ์/ผลผลิต) • ระดับความสำเร็จในการบรรลุเป้าหมาย • ระดับกระทรวง / กรม • การประเมินผลประโยชน์ต่อค่าใช้จ่าย • (Benefit-Cost Ratio) หรือ • การประเมินประสิทธิผลต่อค่าใช้จ่าย • (Cost-Effectiveness) • การประเมินคุณภาพ • (ระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ/ • ผู้กำหนดนโยบาย) • ต่อผลประโยชน์ที่ได้รับจากการใช้บริการ • ต่อกระบวนการให้บริการ ให้ สศช. เลือกเฉพาะบาง Policy Area มิติภายนอก (External Impact) (70%) เลือกเฉพาะบางโครงการ • การประเมินประสิทธิภาพ • ต้นทุนต่อหน่วย (วัดจากต้นทุนและผลผลิต • ที่เกิดขึ้นจริง) • สัดส่วนค่าใช่จ่ายจริงต่อค่าใช่จ่ายตามแผน • (สามารถเรียกได้จากระบบ GFMIS online- • real time,สงป.302 รายไตรมาส) • ปริมาณผลผลิตที่ทำได้จริงเปรียบเทียบกับแผน • (เอกสาร สงป.301 รายไตรมาส) • สัดส่วนผลผลิตต่อทรัพยากร (สามารถดูจาก • ข้อมูลต้นทุนต่อหน่วย) • การพัฒนาองค์การ • ขีดสมรรถนะของการบริหารจัดการ มิติภายใน (Internal Management) (30%)
ข้อดีของระบบการประเมินผลภาคราชการ-แบบบูรณาการข้อดีของระบบการประเมินผลภาคราชการ-แบบบูรณาการ ข้อ 1 ข้อ 2 ข้อ 3