480 likes | 702 Views
การประกันคุณภาพการศึกษา คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ประจำปีการศึกษา 2556. รอง ศาสตราจารย์ ดร. ดนัย บุณย เกียรติ รอง คณบดีฝ่ายบริหาร แผนงานและประกันคุณภาพการศึกษา คณะ เกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 19 กุมภาพันธ์ 2557
E N D
การประกันคุณภาพการศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ประจำปีการศึกษา 2556 รองศาสตราจารย์ ดร. ดนัย บุณยเกียรติ รองคณบดีฝ่ายบริหาร แผนงานและประกันคุณภาพการศึกษา คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 19 กุมภาพันธ์ 2557 ที่มาข้อมูล : เอกสารการประชุมและคู่มือระบบการประกันคุณภาพการศึกษา ประจำปี 2557 สำนักพัฒนาคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
CMU-TQA • คืออะไร • ทำไมต้องทำ • ทำแล้วจะได้อะไร • มีข้อแตกต่างจากระบบ QA เดิมอย่างไร
CMU-TQA • คืออะไร • เป็นเครื่องมือที่นำมาใช้ในการจัดการการดำเนินการของมหาวิทยาลัย เพื่อให้เกิดการพัฒนากระบวนการบริหารจัดการงานด้านต่าง ของมหาวิทยาลัยและส่วนงานสู่ความเป็นเลิศที่ยั่งยืนอย่างชัดเจน • ทำไมต้องทำ • เพื่อปรับปรุงความสามารถในการบริหารจัดการทุกเรื่องภายในองค์กรที่จะส่งผลให้เกิดการปรับปรุงคุณภาพ • เพื่อกระตุ้นให้เกิดการแลกเปลี่ยนวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ
CMU-TQA • ทำแล้วจะได้อะไร • ทำให้การบริหารจัดการทุกเรื่องภายในองค์กรดีขึ้น ส่งผลต่อความยั่งยืนขององค์กร • เกิดการเรียนรู้ร่วมกัน เกิดการแบ่งปันประสบการณ์ในวิธีปฏิบัติที่ดี เพื่อพัฒนาไปสู่ความเป็นเลิศ • มีข้อแตกต่างจากระบบ QA เดิมอย่างไร • ไม่เฉพาะเจาะจงวิธีการ จุดมุ่งเน้นอยู่ที่ผลลัพธ์ • ไม่ได้กำหนดวิธีการ สามารถปรับใช้ได้ เลือกเครื่องมือช่วยได้ตามบริบทขององค์กร • เกณฑ์มีความเชื่อมโยงและสอดคล้องกันภายในเกณฑ์เพื่อให้เกิดการบูรณาการ
QAและ CMU-TQA(ประเมินกระบวนการ)
QAและ CMU-TQA(ประเมินผลลัพธ์)
มติจาก กบม. • การตรวจประเมินผลการดำเนินงานของปีการศึกษา 2556
การจัดทำรายงานการประเมินตนเอง(Self-Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา 2556 เน้นด้านหลักฐานอ้างอิง
การจัดทำรายงานการประเมินตนเอง (SAR) • รูปแบบรายงาน (SAR) • ส่วนที่ 1 ข้อมูลเบื้องต้น • ส่วนที่ 2 ผลการดำเนินงานตามองค์ประกอบคุณภาพ 9 ด้าน • ส่วนที่ 3 ตารางสรุปผลการดำเนินงาน • ส่วนที่ 4 การวิเคราะห์จุดแข็ง วิธีเสริมให้แข็งแกร่ง จุดอ่อน และแนวทางแก้ไข • ส่วนที่ 5 สรุปผลการปรับปรุงตามผลการประเมินในรอบปีที่ผ่านมา
การจัดทำรายงานการประเมินตนเอง (SAR) • หลักในการเขียน SAR • ตัวบ่งชี้เชิงคุณภาพควรเขียนอธิบายให้ชัดเจน เพื่อให้ SAR มีคุณค่าเมื่อกลับมาอ่านซ้ำเช่น ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 เกณฑ์ข้อ 6 (หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาที่เน้นการวิจัยที่เปิดสอน (ปริญญาโท เฉพาะแผน ก และปริญญาเอก) มีจำนวนมากกว่าร้อยละ 50 ของจำนวนหลักสูตรทั้งหมดทุกระดับการศึกษา) ควรเขียนอธิบาย ดังนี้ ปีการศึกษา 2555 คณะเกษตรศาสตร์ มีหลักสูตรทั้งหมดทุกระดับการศึกษา จำนวน 20 หลักสูตร (ไม่รวมสหสาขาวิชา) เป็นระดับบัณฑิตศึกษาที่เน้นการวิจัย (เฉพาะปริญญาโทแผน ก และปริญญาเอก ) จำนวน 17 หลักสูตร คิดเป็นร้อยละ 85 • ข้อพึงระวัง • ควรเขียนรายงาน (ประเมินตนเอง) ในสิ่งที่ได้ดำเนินการไปแล้วเท่านั้น ไม่ควรเขียนสิ่งที่กำลังจะทำ ซึ่งสิ่งที่เขียนไว้ใน SAR ควรมีหลักฐานอ้างอิงเชิงประจักษ์ที่สามารถตรวจสอบได้ • เน้นที่ความจริง ไม่ควรเข้าข้างตัวเองเพื่อให้ได้คะแนนสูงๆ เพราะจะไม่เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนา/ปรับปรุงใดๆ
องค์ประกอบที่ 1ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผนดาเนินการ
ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 กระบวนการพัฒนาแผน (ปีงบประมาณ)
องค์ประกอบที่ 2การผลิตบัณฑิต
ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 ระบบและกลไกการพัฒนาและบริหารหลักสูตร (ปีการศึกษา) ระบบ หมายถึง ขั้นตอนการปฏิบัติงานที่มีการกำหนดอย่างชัดเจนว่าต้องทำอะไรบ้างเพื่อให้ได้ผลออกมาตามที่ต้องการ ขั้นตอน การปฏิบัติงานจะต้องปรากฏให้ทราบโดยทั่วกันไม่ว่าจะอยู่ในรูปของเอกสารหรือสื่ออิเล็กทรอนิกส์หรือโดยวิธีการอื่นๆ องค์ประกอบของระบบประกอบด้วยปัจจัยนำเข้า กระบวนการ ผลผลิตและข้อมูลป้อนกลับ ซึ่งมีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกัน กลไก หมายถึง สิ่งที่ทำให้ระบบมีการขับเคลื่อนหรือดำเนินอยู่ได้ โดยมีการจัดสรรทรัพยากร มีการจัดองค์การ หน่วยงาน หรือกลุ่มบุคคลเป็นผู้ดำเนินงาน
ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 อาจารย์ประจำที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก (ปีการศึกษา) ตัวบ่งชี้ที่ 2.3 อาจารย์ประจำที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ (ปีการศึกษา) การนับจำนวนอาจารย์ประจำและนักวิจัยประจำ ให้นับระยะเวลาการทำงาน ดังนี้ 9-12 เดือน คิดเป็น 1 คน 6 เดือนขึ้นไปแต่ไม่ถึง 9 เดือน คิดเป็น 0.5 คน น้อยกว่า 6 เดือน คิดเป็น 0 คน นักวิจัยประจำ หมายถึง ข้าราชการ หรือพนักงาน หรือบุคลากรที่มีสัญญาจ้างกับคณะทั้งปีการศึกษา ที่มีตำแหน่งเป็นเจ้าหน้าที่วิจัยหรือนักวิจัย
ตัวบ่งชี้ที่ 2.4 ระบบการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน(ปีการศึกษา)
ตัวบ่งชี้ที่ 2.5 ห้องสมุด อุปกรณ์การศึกษา และสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ (ปีการศึกษา)
ตัวบ่งชี้ที่ 2.6 ระบบและกลไกการจัดการเรียนการสอน (ปีการศึกษา)
ตัวบ่งชี้ที่ 2.7 ระบบและกลไกการพัฒนาสัมฤทธิผลการเรียนตามคุณลักษณะของบัณฑิต (ปีการศึกษา)
ตัวบ่งชี้ที่ 2.8 ระดับความสำเร็จของการเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมที่จัดให้กับนักศึกษา (ปีการศึกษา)
ตัวบ่งชี้ที่ 2.9 (CMU1)ค่าเฉลี่ยของ GPAของนักศึกษาปริญญาตรีที่สำเร็จการศึกษา (ปีการศึกษา) ตัวบ่งชี้ที่ 2.10 (CMU2)ร้อยละของนักศึกษาปริญญาตรีที่เรียนสำเร็จตามหลักสูตรต่อจำนวนที่รับเข้า (ปีการศึกษา)
ตัวบ่งชี้ที่ 2.13(สมศ3) ผลงานของผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ (ปีปฎิทิน) ตัวบ่งชี้ที่ 2.14(สมศ4) ผลงานของผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ (ปีปฎิทิน)
องค์ประกอบที่ 3กิจกรรมการพัฒนานักศึกษา
ตัวบ่งชี้ที่ 3.1 ระบบและกลไกการให้คำปรึกษาและบริการด้านข้อมูลข่าวสาร (ปีการศึกษา)
ตัวบ่งชี้ที่ 3.2 ระบบและกลไกการส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษา (ปีการศึกษา)
องค์ประกอบที่ 4การวิจัย
ตัวบ่งชี้ที่ 4.1 ระบบและกลไกการพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์(ปีการศึกษา)
ตัวบ่งชี้ที่ 4.2 ระบบและกลไกการจัดการความรู้จากงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ (ปีการศึกษา)
ตัวบ่งชี้ที่ 4.5(สมศ6) งานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่นำไปใช้ประโยชน์(ปีปฎิทิน) ตัวบ่งชี้ที่ 4.6(สมศ7) ผลงานวิชาการที่ได้รับการรับรองคุณภาพ(ปีปฏิทิน)
องค์ประกอบที่ 5การบริการทางวิชาการแก่สังคม
ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 ระบบและกลไกการบริการทางวิชาการแก่สังคม(ปีการศึกษา)
ตัวบ่งชี้ที่ 5.2 กระบวนการบริการทางวิชาการให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม(ปีการศึกษา)
ตัวบ่งชี้ที่ 5.3(สมศ8) การนำความรู้และประสบการณ์จากการให้บริการวิชาการมาใช้ในการพัฒนาการเรียนการสอนหรือการวิจัย (ปีการศึกษา) ตัวบ่งชี้ที่ 5.4(สมศ9) การเรียนรู้และเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนหรือองค์กรภายนอก (ปีการศึกษา)
องค์ประกอบที่ 6การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม
ตัวบ่งชี้ที่ 6.1 ระบบและกลไกการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม(ปีการศึกษา)
ตัวบ่งชี้ที่ 6.2(สมศ10) การส่งเสริมและสนับสนุนด้านศิลปะและวัฒนธรรม (ปีการศึกษา)
องค์ประกอบที่ 7การบริหารและการจัดการ
ตัวบ่งชี้ที่ 7.1 ภาวะผู้นำของคณะกรรมการบริหารประจำส่วนงานและผู้บริหารทุกระดับของส่วนงาน (ปีการศึกษา)
ตัวบ่งชี้ที่ 7.2 การพัฒนาส่วนงานสู่สถาบันเรียนรู้ (ปีการศึกษา)
ตัวบ่งชี้ที่ 7.3 ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารและการตัดสินใจ(ปีการศึกษา) ระบบสารสนเทศ หมายถึง ระบบที่ทำหน้าที่ในการรวบรวมข้อมูลเข้ามาทำการประมวลผล รวมทั้งการวิเคราะห์เพื่อจัดทำเป็นสารสนเทศในรูปแบบต่างๆ และนำส่งไปยังผู้ที่มีสิทธิได้รับสารสนเทศ เพื่อใช้ในการปฏิบัติงาน การบริหาร หรือการตัดสินใจ โดยมีคอมพิวเตอร์ รวมทั้งอุปกรณ์ต่างๆ เป็นเครื่องมือสนับสนุนการทำงานของระบบสารสนเทศ ระบบสารสนเทศในองค์กร มีหลายประเภทในแต่ละประเภทมีได้หลายระบบ ทั้งนี้เพื่อตอบสนองวัตถุประสงค์เฉพาะด้านในการทำงานที่แตกต่างกันออกไป
ตัวบ่งชี้ที่ 7.4 ระบบบริหารความเสี่ยง (ปีการศึกษา) คะแนนการประเมินจะเท่ากับ 0 หากพบว่าเกิดเหตุการณ์ร้ายแรงขึ้นภายในสถาบันในรอบปีการประเมิน ที่ส่งผลกระทบต่อชีวิตและความปลอดภัยของนักศึกษา คณาจารย์ บุคลากร หรือต่อชื่อเสียงภาพลักษณ์ หรือต่อความมั่นคงทางการเงินของสถาบัน อันเนื่องมาจากความบกพร่องของสถาบันในการควบคุม หรือจัดการกับความเสี่ยง หรือปัจจัยเสี่ยงที่ไม่มีประสิทธิภาพเพียงพอ โดยมีหลักฐานประกอบที่ชัดเจน
องค์ประกอบที่ 8การเงินและงบประมาณ
ตัวบ่งชี้ที่ 8.1 ระบบและกลไกการเงินและงบประมาณ (ปีงบประมาณ)
องค์ประกอบที่ 9ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ
ตัวบ่งชี้ที่ 9.1 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน(ปีการศึกษา)
ผลการประเมินคุณภาพการศึกษา ตามองค์ประกอบคุณภาพ 9 ด้านคณะเกษตรศาสตร์ ปีการศึกษา 2544-2555