1 / 73

TQA Application Report Writing

TQA Application Report Writing. Dr. Nipon seugon. Director of Wat Raja-O- ros’School. วัตถุประสงค์........เพื่อ. เข้าถึงประโยชน์ของการเขียนรายงาน. เข้าใจการวางแผนการเขียนรายงาน. เขียนรายงานกระบวนการบริหารจัดการศึกษาตามเกณฑ์รางวัล คุณภาพแห่งชาติได้.

fell
Download Presentation

TQA Application Report Writing

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. TQA Application Report Writing Dr. Niponseugon Director of Wat Raja-O-ros’School

  2. วัตถุประสงค์........เพื่อ • เข้าถึงประโยชน์ของการเขียนรายงาน • เข้าใจการวางแผนการเขียนรายงาน • เขียนรายงานกระบวนการบริหารจัดการศึกษาตามเกณฑ์รางวัล คุณภาพแห่งชาติได้ • เขียนรายงานผลลัพธ์ของการบริหารจัดการศึกษาตามเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติได้ • ขยายผลการเขียนรายงานการบริหารจัดการศึกษาตามเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติไปสู่โรงเรียนมาตรฐานสากลอื่นได้

  3. RO-Model TQA Obec-QA L4 Sc-QA ๑๐ เขียนรายงานผลการดำเนินการ L3 ๙ ปรับปรุงและพัฒนาองค์กร ๘ วัด วิเคราะห์ และการจัดการความรู้ ๗ COMPETENCIES จัดทำแผนพัฒนาฯและดำเนินการ L2 ๖ จัดทำโครงร่างองค์กร ๕ วินิจฉัยองค์กร ๔ เตรียมและพัฒนาทีมงาน L1 ๓ ปรับโครงสร้างองค์กร ๒ สร้างค่านิยมและแนวคิดหลัก ๑ START เตรียมองค์กร

  4. กรอบความคิดของเกณฑ์คุณภาพการศึกษา เพื่อองค์กรที่เป็นเลิศ โครงร่างองค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และสภาวการณ์เชิงกลยุทธ์ ๒ การวาง แผนกลยุทธ์ ๕ การมุ่งเน้น บุคลากร ๑ การนำองค์กร ๗ ผลลัพธ์ ๓ การมุ่งเน้นผู้เรียน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ๖ การจัดการ กระบวนการ ๔ การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้

  5. ประโยชน์โดยรวม... • เป็นรายงานที่องค์กรจัดทำขึ้นที่แสดงถึงแนวทางในการบริหารจัดการที่องค์กรใช้ และผลการดำเนินการขององค์กร โดยใช้เกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติเป็นกรอบในการจัดทำรายงาน TQA REPORT

  6. ประโยชน์ระหว่างการเขียนรายงาน...ประโยชน์ระหว่างการเขียนรายงาน... Performance Excellence

  7. ประโยชน์จากรายงาน... • ใช้ประเมินภายในองค์กร TQA REPORT • ให้ผู้ตรวจประเมินจากภายนอกประเมิน • ส่งสำนักงานรางวัลคุณภาพแห่งชาติเพื่อขอรับรางวัล

  8. Reportof Quest • for Excellence Journey...... Indus try Lead er Bench mark Lead er World Lead er Early Deve lop ment Early Result Improving Result Good Re sult Emerging Lead er

  9. สิ่งที่ต้องคำนึงถึงในการเขียนรายงาน สิ่งที่ต้องคำนึงถึงในการเขียนรายงาน CONTEXT CRITERIA CONTENT

  10. โดยเขียนพรรณาให้เห็น โดยเขียนพรรณาให้เห็น บริบทที่สำคัญขององค์กร CONTEXT ผ่าน โครงร่างองค์กร

  11. ระบบบริหารจัดการซึ่งครอบคลุมเนื้อหา หมวด ๑-๖ ผลลัพธ์การดำเนินการ หมวด ๗.๑-๗.๕ CONTENT

  12. CRITERIA ตามกรอบของ เกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ

  13. ประเด็นการพัฒนาเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติประเด็นการพัฒนาเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ • ด้านระบบการบริหารจัดการหมวด ๑-๖ Approach: วิธีการหรือแนวทางที่เป็นระบบ เหมาะสมก่อให้เกิดผลลัพธ์ที่คาดหวัง ADLI Deployment: การนำวิธีการไปปฏิบัติที่ครอบคลุมทั่วถึง คงเส้นคงวาและมีประสิทธิภาพ Learning: การศึกษาผลการปฏิบัติที่ทำให้เกิดการ เรียนรู้ ปรับปรุง แบ่งปัน นวัตกรรม Integration: ผลลัพธ์ตามตัวชี้วัดและเป้าหมายที่แสดงความสอดคล้อง เชื่อมโยงแต่ละระดับ

  14. ด้านผลลัพธ์ของการดำเนินการ ๗.๑-๗.๕ Level: ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริงจากการปฏิบัติ Trend: ผลลัพธ์ที่แสดงแนวโน้มเพิ่มขึ้นหรือลดลงในการปฏิบัติ LeTCI Comparison: ผลลัพธ์เชิงเปรียบเทียบกับความคาดหวังหรือคู่เทียบ Integration: ผลลัพธ์ตามตัวชี้วัดสำคัญ ที่ครอบคลุมทุกกลุ่ม

  15. ทุกกระบวนการและทุกผลลัพธ์ ทุกกระบวนการและทุกผลลัพธ์ • เชื่อมโยงและบูรณาการสู่เป้าหมาย...... Strategy Core Competency VISION Work Process Work System Strategic Challenge And Advantage เป็นการดำเนินการทำงานในชีวิตประจำวัน

  16. ข้อคำนึงที่สำคัญ...... ครอบคลุมค่านิยม (Core Values) ทั้ง ๑๑ ข้อ ตอบข้อกำหนด หัวข้อ/ ประเด็นที่ควรพิจารณา/ คำถามอย่างครบถ้วน ข้อมูลถูกต้อง สะท้อนความเป็นจริง

  17. ความมุ่งมั่น ความเป็นเจ้าของร่วมกัน เข้าใจและเห็นประโยชน์ของรายงาน • ความเข้าใจในข้อกำหนดของเกณฑ์ TQA รายงานที่ดีสะท้อน • ความเข้าใจเกี่ยวกับระบบบริหารขององค์กร • เขียนเป็น/นำเสนอเป็น • มีระบบการบริหารจัดการที่ดีจริงๆ

  18. การวางแผนจัดทำรายงาน... การวางแผนจัดทำรายงาน... โครงสร้างรายงาน... ๐ โครงร่างรายงาน ๑. เกณฑ์ที่ ๑ ภาวะผู้นำ ๒. เกณฑ์ที่ ๒ การวางแผนเชิงกลยุทธ์ ๓. เกณฑ์ที่ ๓ การมุ่งเน้นลูกค้าและตลาด ๔. เกณฑ์ที่ ๔ สารสนเทศและการวิเคราะห์ ๕. เกณฑ์ที่ ๕ การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล ๖. เกณฑ์ที่ ๖ การจัดการกระบวนการ ๗. เกณฑ์ที่ ๗ ผลลัพธ์ทางธุรกิจ ๘. เกณฑ์ที่ ๘ เอกสารแนบ (ถ้ามี)

  19. ขั้นตอนการจัดทำรายงาน...ขั้นตอนการจัดทำรายงาน... ขั้นที่ ๑ วางแผนการจัดทำรายงาน ขั้นที่ ๒ รวบรวมข้อมูล ขั้นที่ ๓ จัดทำร่างรายงาน ขั้นที่ ๔ ทบทวนร่างและประเมินร่างรายงาน ขั้นที่ ๕ ปรับปรุงร่างรายงาน ขั้นที่ ๖ จัดทำข้อมูลและรายงานฉบับจริง ขั้นที่ ๗ กรอกแบบฟอร์มและส่งรายงานเพื่อขอรับรางวัล

  20. ขั้นที่ ๑ วางแผนการจัดทำรายงาน จัดตั้งทีมงาน ผู้บริหารระดับสูงให้การสนับสนุน กำหนดโครงสร้างและบทบาทของทีมงาน จัดทำแผนปฏิบัติการ

  21. โครงสร้างคณะกรรมการเขียนรายงานโครงสร้างคณะกรรมการเขียนรายงาน คณะกรรมการบริหาร (Steering Committee) ชุดที่ ๑ 1 2 3 4 5 6 ผู้จัดการโครงการ (Project Manager) ชุดที่ ๒ คณะกรรมการเขียนรายงาน (Award Application Committee:Champion) ชุดที่ ๓ 1 2 3 4 5 6 7 ชุดที่ ๔ คณะทำงานของหน่วยงานต่างๆ: Team A, Team B ฯลฯ

  22. แผนการเขียนรายงาน ระบุขั้นตอน กิจกรรมและระยะเวลาดำเนินงานตั้งแต่ต้นจนเสร็จสิ้นการเขียนรายงาน ดังตัวอย่าง... กิจกรรม ๑. วางแผนการเขียนรายงาน ๒. รวบรวมข้อมูลจากกิจกรรม/โครงการ ๓. คณะกรรมการชุดที่ ๔ เขียนรายงาน ๔. คณะกรรมการชุดที่ ๓ จัดทำร่างรายงาน ๕. คณะกรรมการชุดที่ ๒ ทบทวน วิเคราะห์ ๖. คณะกรรมการชุดที่ ๒ ปรับร่างรายงาน ๗. คณะกรรมการชุดที่ ๑ พิจารณา ๘. คณะกรรมการชุดที่ ๒ ทบทวนร่างรายงาน ๙. คณะกรรมการชุดที่ ๑ พิจารณารอบ ๒

  23. ขั้นที่ ๒ รวบรวมข้อมูล วางแผนรวบรวมข้อมูล ผู้นำทุกหน่วยงานประสานให้เกิด (กรรมการ ชุดที่ ๔) จัดทำเครื่องมือตามตัวชี้วัดความสำเร็จของงานประจำ/กลยุทธ์ เก็บ/รวบรวม/วิเคราะห์/สรุปข้อมูล/สารสนเทศ เปรียบเทียบผลการดำเนินการสิ่งที่คาดหวัง/สิ่งที่เป็นจริง

  24. ขั้นที่ ๓ จัดทำร่างรายงาน สังเคราะห์ข้อมูลตามกรอบของเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ ผู้นำทุกหน่วยงานประสานให้เกิด (กรรมการ ชุดที่ ๔) สรุปเป็นภาพความสัมพันธ์ เชื่อมโยง/สรุปเป็นตารางข้อมูล เขียนพรรณนาตามหัวข้อของเกณฑ์ นำเสนอคณะกรรมการชุดที่ ๓ (Champion Team)

  25. ขั้นที่ ๔ ทบทวนร่างและประเมินร่างรายงาน บูรณาการสาระเนื้อหาของทุกหน่วยงานสังเคราะห์เป็นขององค์กร คณะกรรมการชุดที่ ๓ (Champion Team) สรุปเป็นภาพความสัมพันธ์ เชื่อมโยง/สรุปเป็นตารางขององค์กร เขียนรายงานองค์กรฉบับที่ ๑ นำเสนอคณะกรรมการชุดที่ ๒ (TQA Project Team)

  26. ขั้นที่ ๕ ปรับปรุงร่างรายงาน ประเมิน/ปรับรายงานฉบับที่ ๑ คณะกรรมการชุดที่ ๒ (TQA Project Team) ตรวจสอบโดยผู้เชี่ยวชาญ จัดทำรายงานองค์กรฉบับที่ ๒ นำเสนอคณะกรรมการชุดที่ ๑ (Steering Committee)

  27. ขั้นที่ ๖ จัดทำรายงานฉบับจริง พิจารณารายงานฉบับที่ ๒ คณะกรรมการชุดที่ ๑ (Steering Committee) เสนอแนะสาระเนื้อหา จัดทำรายงานองค์กรฉบับจริง นำเสนอคณะกรรมการสถานศึกษา

  28. ขั้นที่ ๗ ส่งรายงาน ดาวน์โหลดแบบฟอร์มที่ต้องใช้ คณะกรรมการชุดที่ ๒ (TQA Project Team) กรอกข้อมูลตามที่กำหนด เสนอรายงานพร้อมข้อมูลตามแบบฟอร์มทั้งหมดต่อผู้นำสูงสุด นำส่งหน่วยงานต้นสังกัด

  29. การส่งรายงาน SC-QA: ส่งคณะกรรมการพี่เลี้ยง คณะกรรมการชุดที่ ๒ (TQA Project Team) OBEC-QA: ส่งสพฐ. TQA: ส่งสถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ ส่งแล้วเตรียมการเยี่ยม ประเมิน

  30. การจัดทำโครงร่างองค์กร... การจัดทำโครงร่างองค์กร... • เป็นการสรุปภาพรวมขององค์กร ว่าด้วยสิ่งสำคัญที่มีอิทธิพลต่อ ความ หมาย • วิธีการดำเนินการ • ลูกค้า (นักเรียน) • อนาคตองค์กร สิ่งเหล่านี้เป็นตัวกำหนด บริบท ของระบบบริหารจัดการขององค์กร

  31. เป็นเอกสารฉบับแรกที่เริ่มเขียนรายงานเป็นเอกสารฉบับแรกที่เริ่มเขียนรายงาน ความ สำคัญ & ประโยชน์ • เป็นเอกสารที่ผู้ตรวจประเมินใช้พิจารณา • ใช้ Self-Assessment องค์กร ในระยะแรก • ทำให้เราทราบจุดอ่อน/จุดแข็ง ขององค์กร

  32. ๓ ขั้นตอนหลัก การจัดทำโครงร่างองค์กร... หาข้อสรุป หาข้อมูล จัดลำดับความ สำคัญ

  33. ยึด หลักการสำคัญ • คำถามคือ What are your key? • ต้องชัดเจนและแม่นตรงในทุกประเด็น • เชื่อมโยงกับเกณฑ์ทุกข้อ Cause-Effect & Cross Linkage

  34. ตัวเกณฑ์เขาถามหาอะไร ? กระจ่าง ในสาระ สำคัญ • สิ่งสำคัญที่มีต่อองค์กร • ผลกระทบต่อการเขียนรายงานในส่วนกระบวนการและผลลัพธ์ สื่อสารให้กระชับ ครบถ้วน ตรงประเด็น (ใช้ตารางและรูปภาพอย่างมีประสิทธิผล)

  35. Let’s begin with 1 page org. profile. • What are key inputs ? • Purpose: (P1a2) • Who are key outputs or key products? (p1a1) • Mission: (P1a2) • Vision: (P1a2) • Core Values: (P1a2) • Who are key partners /Suppliers? (p1b3) • What are key Requirements that we expect form them? • Workforce Profile: (P1a3) • Key Workforce needs: (P1a3) • Who are key customers? (p1b2) • Key Asset & Facillties : (P1a4) • Law Regulation • &Standard : (P1a5) • Governing Body • :(P1b1) • Organization Structure : (P1b1) • Improvement • Management System • :(P2c) • Who are key stakeholders? • What are key stakeholders • requirements? (p1b2) • What are key customer requirements? (p1b2) What are core competencies? (p1a2) What is the competitive environment ? (p2a1) What are key changes environment ? (p2a2) What are key competitors or Comparators ? (p2a3) What are strategic challenges ? (p2b) What are strategic advantages ? (p2b)

  36. Begin With the End in Mind...... Process Profile Result หมวด 1 หมวด 7.1 P1 หมวด 2 หมวด 7.2 หมวด 3 หมวด 7.3 หมวด 4 P2 หมวด 7.4 หมวด 5 หมวด 7.5 หมวด 6

  37. ๑. ลักษณะองค์กร PROCESS ITEM RESULT ITEM ก. สภาพแวดล้อมขององค์กร • ผลิตภัณฑ์และบริการหลักความสำคัญและกลไกส่งมอบให้นักเรียน • วัฒนธรรม จุดประสงค์ วิสัยทัศน์ พันธกิจ ค่านิยม ความสามารถพิเศษ • ภาพรวมของครูและบุคลากรทางการศึกษา กลุ่ม ประเภท ระดับการศึกษาและความต้องการ • เทคโนโลยี อุปกรณ์ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่สำคัญ • กฎหมาย ข้อบังคับ ข้อบังคับทาง ชีวอนามัยและความปลอดภัย ข้อกำหนดเกี่ยวกับการได้การรับรอง หรือการจดทะเบียนมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นบาน กฎระเบียบเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม การเงิน และผลิตภัณฑ์

  38. ๑. ลักษณะองค์กร PROCESS ITEM RESULT ITEM ข. ความสัมพันธ์ระดับองค์กร • โครงสร้างองค์กร และระบบธรรมา-ภิบาล ความสัมพันธ์ของการรายงานระหว่างกรรมการธรรมาภิบาล ผู้นำสูงสุดในองค์กร และองค์กรระดับสูงกว่าองค์กร • กลุ่มนักเรียน กลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และพื้นที่บริการที่สำคัญ ความต้องการและความคาดหวังที่สำคัญในผลิตภัณฑ์ การบริการและการปฏิบัติการ • ผู้ปกครอง พันธมิตร และผู้ให้ความร่วมมือสำคัญ กลไกการสื่อสาร ความสำคัญในการสร้างนวัตกรรม และความสำคัญต่อห่วงโซ่อุปทาน

  39. ๒. สภาวการณ์องค์กร ก. สภาพแวดล้อมด้านการแข่งขัน PROCESS ITEM RESULT ITEM • ลำดับที่ของการแข่งขัน ขนาดและการเติบโต จำนวน และประเภทของคู่แข่ง • การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญที่มีผลต่อสถานะการแข่งขันและโอกาสด้านนวัตกรรม • แหล่งข้อมูลเชิงเปรียบเทียบและเชิงแข่งขันในระดับการศึกษาเดียวกัน การเปรียบเทียบกระบวนการที่คล้ายกันในระดับการศึกษาอื่น และข้อจำกัดในการหาข้อมูล

  40. ๒. สภาวการณ์องค์กร ข. บริบทเชิงกลยุทธ์ PROCESS ITEM RESULT ITEM • ความท้าทาย และความได้เปรียบเชิงกลยุทธ์ด้านการบริหารจัดการศึกษา ด้านการปฏิบัติ ทรัพยากรบุคคล ด้านความรับผิดชอบต่อสังคม และสิ่งที่จะส่งผลกระทบต่อความยั่งยืนขององค์กร ค. ระบบการปรับปรุง ผลการดำเนินการ • วิธีรักษาระดับการปรับปรุงผลการดำเนินการ และการเรียนรู้ • วิธีประเมินและปรับปรุงกระบวนการที่สำคัญ • วิธีการสร้างนวัตกรรม

  41. ความยาวไม่เกิน ๑๐ หน้า รูปแบบ การเขียน • ควรมีพื้นที่อธิบายความเป็นมาขององค์กร และลักษณะของการจัดการศึกษา • ตารางและภาพประกอบไม่ควรเกินร้อยละ ๓๐ ของพื้นที่ ที่เหลือเป็นการพรรณนาความ เขียนให้เชื่อมโยงกับข้อมูลด้านกระบวนการ (หมวด ๑-๖) และด้านผลลัพธ์ (หมวด ๗)

  42. เข้าใจคำถาม • What are your key? บทสรุป • ตอบตรงคำถาม ตรงประเด็น • ที่เป็นประเด็นหลักๆที่สำคัญ • เขียนถูกต้อง สมบูรณ์ ชัดเจน • กะทัดรัด • ยึดหลัก4’C: Correct Complete • Clear Concise เขียนให้คนนอกองค์กรอ่านเข้าใจ รู้ที่มาที่ไป เข้าใจลักษณะการจัดการศึกษา สถานการณ์และความท้าทายขององค์กรที่กำลังเผชิญอยู่

  43. การเขียนรายงานด้านกระบวนงานการเขียนรายงานด้านกระบวนงาน หมวด ๑-๖ (A-D-L-I) • เป็นการวินิจฉัยกระบวนงาน สำคัญขององค์กรที่จะนำไปสู่ • การปรับปรุงและสัมฤทธิผลของการดำเนินการที่สำคัญโดยตรง หลักคิด เน้นสารสนเทศของกระบวนการที่สำคัญเป็นหลัก

  44. ตอบคำถาม อย่างไรนำเสนอสารสนเทศของกระบวนการแสดงถึงแนวทาง การถ่ายทอดสู่การปฏิบัติ การเรียนรู้ และบูรณาการ หลักการ • ตอบคำถาม อะไรนำเสนอสารสนเทศของกระบวนการที่สำคัญ ขั้นตอน ผล วัตถุประสงค์ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด ที่แสดงความสอดคล้อง และบูรณาการ คำตอบที่ขาดสารสนเทศหรือเพียงแค่ยกตัวอย่าง จะถูกประเมินว่า มีสารสนเทศน้อยและไม่ชัดเจน

  45. ขั้นตอนในการเขียนรายงาน • กระบวนการ (A-D-L-I )...... หา ข้อสรุป ลงมือ เขียน ตรวจ สอบ หา ข้อมูล ร่าง เชื่อมโยง เป็นการดำเนินการทุกกระบวนการ ทุกหน่วยงาน

  46. ๑. แนวทางเป็นระบบ (Systematic) • ชัดเจน ทำซ้ำได้ วัดได้ • ใช้ข้อมูลจริงเพื่อประเมินและปรับปรุง • สอดคล้อง (Align) กับความต้องการ • ขององค์กร • บูรณาการกับแนวทางอื่น การเขียน รายงาน ที่ดี • ๒. เป็นแนวทางที่ปฏิบัติได้จริง... • ความครอบคลุมและทั่วถึง (Breadth) • ครบถ้วน/จริงจัง (Depth)(ทุกๆธุรกรรม,ทุกๆกระบวนการ,ทุกๆผลิตภัณฑ์,ทุกๆหน่วยงาน,และทุกๆคน)

  47. ๓. แสดงให้เห็นถึงการเรียนรู้ • ครบวงจร P D C A • โอกาสการเปลี่ยนแปลงแบบก้าวกระโดด • การแบ่งปันให้กับหน่วยงานอื่น • บูรณาการกับแนวทางอื่น การเขียน รายงาน ที่ดี • ๔. แสดงให้เห็นถึงการบูรณาการ • สอดคล้องไปในทางเดียวกัน (มุมมองเชิงระบบ) • มีความกลมกลืนทั้ง แผนงาน ตัวชี้วัด การปฏิบัติ • ที่ทำให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล

  48. ๕. แสดงให้เห็นถึงการมุ่งเน้นและ ความคงเส้นคงวา การเขียน รายงาน ที่ดี • โครงร่างองค์กรที่ระบุชัดเจนว่าอะไรบ้างที่สำคัญกับองค์กร • แผนกลยุทธ์ วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ แผนปฏิบัติการ และสมรรถนะหลักขององค์กร ที่แสดงความเด่นชัดในประเด็นที่มุ่งเน้นที่สุด ที่อธิบายถ่ายทอดไปสู่การปฏิบัติจนบรรลุได้อย่างไร • แสดงถึงวิธีการที่องค์กรวิเคราะห์และทบทวนสารสนเทศเกี่ยวกับผลการดำเนินการเพื่อกำหนดลำดับความสำคัญ • แสดงให้เห็นถึงความเด่นชัด ระบบงาน กระบวนการทำงานที่มีความสำคัญต่อผลการดำเนินการโดยรวม • แสดงให้เห็นถึงความมุ่งเน้น และความคงเส้นคงวาของหัวข้อในหมวด ๑-๖ และการติดตามตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้องในหมวด ๗

  49. ๖. อ้างอิงถึงหัวข้ออื่นตามความ เหมาะสม การเขียน รายงาน ที่ดี • ๗. ใช้รูปแบบที่กระชับ ในเนื้อที่ ๑๐๐ หน้ากระดาษ • ใช้แผนภูมิแสดงการไหลของงาน (Flowcharts) • ใช้ตารางและหัวข้อสั้นๆ (Bullets)

  50. ๘. อ้างอิงแนวทางการให้คะแนน ของหมวด ๑-๖ ดังนี้. การเขียน รายงาน ที่ดี A : วิธีการหรือแนวทาง D : การนำไปปฏิบัติ L : การเรียนรู้ I : การบูรณาการ มีความเชื่อมโยงกัน

More Related