10 likes | 142 Views
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ ( สคร. ) : กระทรวงการคลัง STATE ENTERPRISE LAW FOCUS : รายแห่ง. www.sepo.go.th. สำนักงานธนานุเคราะห์ (สธค.). ข้อมูลทั่วไป. พระราชบัญญัติคุณสมบัติมาตรฐานสำหรับกรรมการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. 2518 และที่แก้ไขเพิ่มเติม.
E N D
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) : กระทรวงการคลังSTATE ENTERPRISE LAW FOCUS : รายแห่ง www.sepo.go.th สำนักงานธนานุเคราะห์ (สธค.) ข้อมูลทั่วไป พระราชบัญญัติคุณสมบัติมาตรฐานสำหรับกรรมการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. 2518 และที่แก้ไขเพิ่มเติม สังกัด: กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคง ของมนุษย์ ประธานกรรมการ : นางพนิดา กำภู ณ อยุธยา กรรมการผู้แทน กค. :นายทวี ไอศูรย์พิศาลศิริ Website : www.pawn.co.th โทร.022817500 • คุณสมบัติและลักษณะต้องห้ามของบุคลากรรัฐวิสาหกิจ ประกอบด้วย • กรรมการ (ม.5) ผู้บริหารสูงสุด (ม. 8 ตรี) พนักงาน (ม.9) • จำนวนกรรมการ ไม่เกิน 11 คน แต่ถ้ารัฐวิสาหกิจใดมีข้อกำหนดให้มีกรรมการน้อยกว่า 11 คน ก็ให้เป็นไปตามที่กำหนดไว้ แต่ถ้าจำเป็นต้องมีกรรมการเกินกว่า 11 คน ให้รัฐมนตรีเจ้าสังกัดขออนุมัติจาก ครม. แต่รวมแล้วต้องไม่เกิน 15 คน(ม. 6) • การนับจำนวนการดำรงตำแหน่งของกรรมการในรัฐวิสาหกิจ ไม่เกิน 3 แห่ง นับรวมการเป็นกรรมการโดยตำแหน่ง การได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติราชการแทน แต่ไม่รวมการเป็นกรรมการโดยตำแหน่งที่ได้มีการมอบหมายให้ผู้อื่นปฏิบัติราชการแทน (ม. 7) • วาระการดำรงตำแหน่ง 3 ปี กรณีกรรมการที่มิใช่กรรมการโดยตำแหน่ง แต่อาจได้รับแต่งตั้งใหม่ (ม. 8) • การแต่งตั้งกรรมการอื่น ผู้มีอำนาจพิจารณาแต่งตั้งจากบุคคลในบัญชีรายชื่อกรรมการที่กระทรวง • การคลังจัดทำขึ้น ไม่น้อยกว่า 1 ใน 3 ของจำนวนกรรมการอื่นของรัฐวิสาหกิจนั้น (ม. 12/1 วรรค 1) • การกำหนดค่าตอบแทนและร่างสัญญาจ้างผู้บริหารสูงสุด คณะกรรมการรัฐวิสาหกิจกำหนด โดยความเห็นชอบของกระทรวงการคลัง (ม. 8 จัตวา วรรคเจ็ด) ข้อมูลเกี่ยวกับสัญญาจ้างผู้บริหารสูงสุด • ผู้อำนวยการ (CEO) : นายนิธิศ มนุญพร • สัญญาจ้างลงวันที่ : 11 ส.ค. 2553 • ระยะเวลาจ้าง : 12 ต.ค. 52 – 11 ต.ค. 56 • วาระหนึ่ง วาระสอง • ตำแหน่งเดิมก่อนเป็น CEO • Board รอง CEO บุคคลภายนอก • (ผู้ช่วยผู้จัดการ ตสล.) • รอง CEO พนักงาน สัญญาจ้าง • CFO พนักงาน สัญญาจ้าง ข้อบังคับกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ว่าด้วย การบริหารงานสำนักงานธนานุเคราะห์ กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ พระราชบัญญัติการประปาส่วนภูมิภาค พ.ศ. 2522 เงินเดือนพนักงาน วัตถุประสงค์ (ข้อ 6) ให้ สธค. มีฐานะเป็นองค์การประเภทที่ 2 ตามความในข้อ 1 แห่งข้อบังคับว่าด้วยวิธีการปฏิบัติเกี่ยวกับการเงินขององค์การ พ.ศ. 2495 ออกตามความในม. 13 แห่งพระราชบัญญัติเงินคงคลัง พ.ศ. 2491 โดยมีวัตถุประสงค์ดังต่อไปนี้ (1) ประกอบกิจการรับจำนำ ซื้อ ขาย แลกเปลี่ยน โอน รับโอน เช่า ให้เช่า เช่าซื้อ ให้เช่าซื้อ ซึ่งทรัพย์สินต่างๆ รวมทั้งการถือสิทธิ์ครอบครองที่ดินสิ่งปลูกสร้างและทรัพย์สินอื่นๆ อันจำเป็นหรือยังประโยชน์แก่การจัดตั้งหรือการบริหารงานสำนักงานธนานุเคราะห์ (2) การกู้ยืมเงินเพื่อกิจการของสำนักงานธนานุเคราะห์ให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ (3) ดำเนินการธุรกิจอื่นที่เกี่ยวข้องหรือต่อเนื่องกันหรือเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ดังกล่าวข้างต้น กลุ่มโครงสร้างเงินเดือน คณะกรรมการกำหนดโครงสร้างเงินเดือนได้เอง มีบัญชีโครงสร้างเงินเดือนของตนเอง ใช้บัญชีโครงสร้างเงินเดือน 58 ขั้น อัตราเงินเดือนขั้นสูงสุด ขั้นที่ 55 Min-max ของเงินเดือน : 6,150 – 99,970 บาท อัตราเงินเดือนแรกบรรจุ (ปริญญาตรี 4 ปี) : 9,130บาท เงินเดือนสูงสุดที่ได้รับจริง = 75,170 บาท จำนวนพนักงาน : 397 คน(31 พ.ค. 54) จำนวนและองค์ประกอบคณะกรรมการ คณะกรรมการอำนวยการสำนักงานธนานุเคราะห์ประกอบด้วย ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ และกรรมการมีจำนวนรวมกันไม่น้อยกว่า 7 คน แต่ไม่เกิน 11 คน โดยปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์เป็นประธาน อธิบดีกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ เป็นรองประธาน และผู้แทนกระทรวงการคลังเป็นกรรมการโดยตำแหน่ง เลขานุการคณะกรรมการให้ตั้งจากกรรมการ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์เป็นผู้แต่งตั้ง หรือถอดถอนกรรมการตามที่เห็นสมควร (ข้อ 10) วาระการดำรงตำแหน่ง : ให้กรรมการที่ไม่ได้รับแต่งตั้งโดยตำแหน่งดำรงตำแหน่งคราวละ 3 ปี (ข้อ 21) ผู้มีอำนาจแต่งตั้งผู้บริหารสูงสุด : ประธานกรรมการมีอำนาจทำสัญญาจ้างและแต่งตั้งผู้อำนวยการ โดยความเห็นขอบของคณะกรรมการ (ข้อ 23) ค่าตอบแทนผู้บริหารสูงสุด : ค่าตอบแทนซึ่งกำหนดไว้ในสัญญาจ้างต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ (ข้อ 23) มติ ครม. ที่ยกเว้นการปฏิบัติเรื่องต่าง ๆ ยกเว้นการปฏิบัติตามระเบียบ ข้อบังคับ และมติคณะรัฐมนตรีที่ใช้บังคับกับรัฐวิสาหกิจทั่วไป ยกเว้นการปฏิบัติตามม. 13 (2) พ.ร.บ.แรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ พ.ศ. 2543 การดำเนินการตาม พ.ร.บ. ว่าด้วยการให้เอกชนเข้าร่วมงานหรือดำเนินการ ในกิจการของรัฐ พ.ศ. 2535 • คุณสมบัติเพิ่มเติมจาก พ.ร.บ. คุณสมบัติมาตรฐานฯ • ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ กรรมการ และผู้อำนวยการต้องไม่มีลักษณะต้องห้ามต่อไปนี้ • มีส่วนได้เสียในสัญญากับสำนักงานหรือกิจการที่กระทำให้แก่สำนักงาน • ประกอบกิจการใดๆ อันมีสภาพทำนองเดียวกับกิจการของสำนักงานไม่ว่าจะทำเพื่อประโยชน์ส่วนตัวหรือผู้อื่น หรือเป็นผู้ถือหุ้นส่วนไม่จำกัดความรับผิดชอบหรือเป็นกรรมการบริษัท หรือห้างร้านค้าขายอื่น ซึ่งประกอบการที่มีสภาพทำนองเดียวกับกิจการของสำนักงาน โดยมิได้รับยินยอมจากกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (ข้อ 11) ปัจจุบันไม่ปรากฏโครงการตาม พรบ. ว่าด้วยการให้เอกชน เข้าร่วมงานฯ หมายเหตุ ในการพิจารณาคุณสมบัติบุคลากรรัฐวิสาหกิจจะต้องพิจารณา พ.ร.บ. คุณสมบัติมาตรฐานฯ กฎหมายจัดตั้งรัฐวิสาหกิจและกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้องประกอบกัน อำนาจพิเศษตามกฎหมายจัดตั้ง/สิทธิพิเศษตามกฎหมายอื่น (1) กฎกระทรวงฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2520) ออกตามความใน พรบ. โรงรับจำนำ พ.ศ. 2504 ข้อ. 1 สธค. ได้รับยกเว้นไม่อยู่ภายใต้บังคับของกฎกระทรวงดังกล่าวซึ่งกำหนดระยะห่างของโรงรับจำนำที่ได้รับอนุญาต (2) ได้รับยกเว้นภาษีธุรกิจเฉพาะตาม ม.91/3 (6) แห่งประมวลรัษฎากร ที่มาของข้อมูล สัญญาจ้างผู้บริหาร www.krisdika.go.th คณะรัฐมนตรี ประสานงานกับเจ้าหน้าที่รัฐวิสาหกิจ สิทธิพิเศษตามมติคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้าง สำนักกฎหมาย ส่วนกฎหมาย 3 ผู้อำนวยการส่วน : นายณัฐวุฒ ไพศาลวัฒนา ผู้จัดทำ : นายรณชัย ทองใบ โทร. 022985880-9 ต่อ 6722 วันที่จัดทำ : 31 พ.ค. 54 (Update) ปัจจุบันไม่ปรากฏว่า สธค. ได้รับสิทธิพิเศษเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างตามมติคณะรัฐมนตรี ความเห็นคณะกรรมการกฤษฎีกาที่เกี่ยวข้อง เรื่องเสร็จที่ 12/2546 เรื่องความรับผิดทางละเมิดของผู้รับจำนำของสถานธนานุเคราะห์ ซึ่งวางหลักไว้ว่าสธค. เป็นโรงรับจำนำในกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการแต่ไม่มีสถานะเป็นนิติบุคคลตามกฎหมาย ปพพ. หรือกฎหมายอื่นใด แต่ถือว่า สธค. เป็นหน่วยงานหนึ่งในกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ ซึ่งมีฐานะเป็นนิติบุคคลและอยู่ภายใต้บังคับของพระราชบัญญัติว่าด้วยความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539 สธค. จึงเป็นหน่วยงานของรัฐตามนิยาม “หน่วยงานของรัฐ” ตามม. 4 แห่งพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539 จึงได้รับความคุ้มครองตามพระราชบัญญัติดังกล่าวด้วย