1.15k likes | 1.41k Views
แผนการศึกษา และ วัตถุประสงค์การศึกษา. ศาสตราจารย์คลินิกเกียรติคุณวราวุธ สุมาวงศ์. งานแพทยศาสตรศึกษา. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. มหาวิทยาลัยมหิดล. ปรับปรุง 3 ธันวาคม 2551. ถ้าเป็นนักศึกษา ได้เห็นวัตถุประสงค์ รู้ไหมว่าต้องเรียนรู้อะไรบ้าง ?. เคยรู้ไหมว่านี่คือหน้าที่ครู ?.
E N D
แผนการศึกษา และ วัตถุประสงค์การศึกษา ศาสตราจารย์คลินิกเกียรติคุณวราวุธ สุมาวงศ์ งานแพทยศาสตรศึกษา คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ปรับปรุง 3 ธันวาคม 2551
ถ้าเป็นนักศึกษา ได้เห็นวัตถุประสงค์ รู้ไหมว่าต้องเรียนรู้อะไรบ้าง ? เคยรู้ไหมว่านี่คือหน้าที่ครู? วราวุธ สุมาวงศ์
ถ้าเป็นผู้มาตรวจสอบ QA บอกได้ไหม ว่ามีการเตรียมการหล่อหลอมนักศึกษาที่ดี ?
แผนการศึกษาคือ? -ครูเตรียมการเรียนรู้ให้นักศึกษา - ครูเตรียมการสอนและการประเมินผล ทำไมต้องมีแผนการศึกษา ?เพื่อใคร ? - เพื่อนักศึกษา - เพื่อครูผู้สอนและทีม teaching - เพื่อ QA การรับประกันคุณภาพการจัดการสอน หน้าที่ใคร ? - อาจารย์ผู้รับผิดชอบการสอนแต่ละหัวเรื่อง วราวุธ สุมาวงศ์
ขั้นตอนการสร้างหลักสูตรขั้นตอนการสร้างหลักสูตร คณะ 1. วิสัยทัศน์ 2. ปรัชญา 3. วัตถุประสงค์ 4. คุณภาพบัณฑิตที่พึงประสงค์ 5. รูปแบบ 6. โครงสร้างหลักสูตร 7. จำนวนหน่วยกิต 8. รหัสวิชาและคำอธิบายรายวิชา วราวุธ สุมาวงศ์
ขั้นตอนการสร้างหลักสูตร(ต่อ)ขั้นตอนการสร้างหลักสูตร(ต่อ) ภาควิชา 9. หัวเรื่องการเรียนการสอน 10. ตารางสอนและกิจกรรมการเรียนรู้ 11. กำหนดหัวเรื่องการสอน และเรียนรู้ ในตารางสอน นักศึกษาเรียนรู้ด้วยตนเอง 12. ประมวลรายวิชา (Course Syllabus) วราวุธ สุมาวงศ์
ขั้นตอนการสร้างหลักสูตร(ต่อ)ขั้นตอนการสร้างหลักสูตร(ต่อ) 13. วัตถุประสงค์ และแผนการศึกษา 14. การประเมินผล 15. บทบาทครู 16. กิจกรรมนักศึกษา อาจารย์ วราวุธ สุมาวงศ์
Process Input Output Outcome แผนการศึกษา I P O O I P O มรรคในการหล่อหลอม QA สำรวจหลักฐานว่ามีการวางแผนการสอน ความก้าวหน้าทาง ตำแหน่งวิชาการ วราวุธ สุมาวงศ์
QA หลักฐานยืนยันว่า หลักสูตรมีคุณภาพ คือ 1. ระดับภาควิชา มี course syllabus แต่ละรหัสวิชา 2. ระดับอาจารย์ มี แผนการศึกษา แต่ละหัวเรื่อง อาจารย์เตรียมการสอน มรรคในการหล่อหลอม วราวุธ สุมาวงศ์
หัวข้อการเขียนแผนการศึกษารายหัวเรื่องหัวข้อการเขียนแผนการศึกษารายหัวเรื่อง 1. เรื่อง 9. เนื้อหาของเรื่องที่สอนโดยสังเขป 2. อาจารย์ผู้รับผิดชอบ 10. กิจกรรม 3. รายวิชาและรหัส 11. การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ 12. สื่อการเรียนรู้ 4. หลักสูตร 5. ระยะเวลาที่สอน 13. โสตทัศนูปกรณ์ 6. สถานที่เรียนรู้ 14. แหล่งเรียนรู้ 7. ความรู้พื้นฐาน 15. การวัดผล การประเมินผล 16. การปรับปรุงแก้ไข (วัน เดือน ปี) 8. วัตถุประสงค์ วราวุธ สุมาวงศ์
ขั้นตอนการเขียนแผนการศึกษาขั้นตอนการเขียนแผนการศึกษา วราวุธ สุมาวงศ์
ความรู้พื้นฐาน(สิ่งที่นักศึกษาเรียนมาแล้ว)ความรู้พื้นฐาน(สิ่งที่นักศึกษาเรียนมาแล้ว) ประโยชน์ ความสัมพันธ์ และความสำคัญ ควรมีระบุให้ชัดแจ้งเพื่อนักศึกษาไปทบทวน ได้สะดวก เร็วขึ้น และตรงจุดที่เกี่ยวข้องกับเรื่อง ที่จะสอน วราวุธ สุมาวงศ์
วัตถุประสงค์ วราวุธ สุมาวงศ์
ไม่รู้ รู้ รู้อะไรทำอย่างไรรู้ว่ารู้? ทำได้ ทำอะไรทำอย่างไรรู้ว่าทำได้? ทำไม่ได้ ไม่มีคุณสมบัติ มี มีอะไรทำอย่างไรรู้ว่ามี? Education การเปลี่ยนพฤติกรรมผู้เรียน C P A E O L วราวุธ สุมาวงศ์
ไตรยางค์การศึกษา (Trinity of Education) O E L วราวุธ สุมาวงศ์
วัตถุประสงค์การศึกษา คืออะไร? ครู คือ ผู้ช่วยให้นักศึกษาเรียนได้ง่ายขึ้น ผู้ช่วยให้นักศึกษาทบทวนประเด็นที่ต้องรู้ โดยให้นักศึกษารู้ว่าต้องเรียนรู้อะไร คือ ความสามารถของผู้เรียนภายหลังที่ผ่าน กระบวนการเรียนการสอนแล้ว นั่นคือ วัตถุประสงค์การศึกษา วราวุธ สุมาวงศ์
ระดับวัตถุประสงค์ ระดับชาติ มหาวิทยาลัย ระดับสูง คณะ คณะ รายรหัสวิชา กิจกรรมการเรียนรู้ ระดับภาควิชา ระดับกลาง ระดับล่าง ระดับอาจารย์ รายหัวเรื่อง วราวุธ สุมาวงศ์
ช่วยให้นักศึกษา 1. เรียนได้ง่ายขึ้น 2. เรียนได้สะดวกขึ้น 3. ไปสู่เป้าหมายได้ง่ายขึ้น 4. ประเมินการเรียนรู้ของตนเองได้ 5. ทบทวนความรู้ความสามารถได้เร็วขึ้น 6. สอนเรื่องยากให้เป็นเรื่องง่าย หน้าที่ครู ครูจึงต้องกำหนดวัตถุประสงค์ให้ละเอียดชัดเจน วราวุธ สุมาวงศ์
วัตถุประสงค์สำคัญที่สุดวัตถุประสงค์สำคัญที่สุด ในการจัดการเรียนการสอน ความรับผิดชอบ (หน้าที่) โดยตรง ของอาจารย์แต่ละท่าน วราวุธ สุมาวงศ์
ความสำคัญของObjective ด้านครู • กำหนดการเรียนรู้เหมาะสม และสัมพันธ์กับ • วัตถุประสงค์ของภาควิชาตามระดับนักศึกษา 2. ผู้สอนรู้สิ่งที่ต้องการให้นักศึกษาเรียนรู้ 3. จัดการเรียนรู้และลำดับการสอนได้เหมาะสม 4. นำไปสร้างข้อสอบได้ตรงตามวัตถุประสงค์ 5. คิดข้อสอบได้ง่ายขึ้น วราวุธ สุมาวงศ์
1. รู้ขอบเขตความต้องการของผู้สอนและสถาบัน 2. แหล่งประเมินการเรียนรู้ของตนเอง • ศึกษาและทบทวนความรู้ ความสามารถ ได้ตรง • อย่างน้อยตามวัตถุประสงค์ที่ครูกำหนดไว้ 4. ศึกษาด้วยความสบายใจ และมีความสุขมากขึ้น ความสำคัญของObjective ด้านนักศึกษา วราวุธ สุมาวงศ์
เขียนวัตถุประสงค์รายหัวเรื่องอย่างไร ? 1. หลักการเขียน องค์ประกอบ A B C D 2. ใช้ศัพท์เฉพาะให้เหมาะสมทางวิทยาศาสตร์การศึกษา 3. ครูกำหนดขึ้นเอง คิดเอง เพื่อช่วยนักศึกษาเรียนรู้ 4. ครอบคลุมแค่ไหน หัวเรื่อง Nonskill ต้องมีหมวด C และ A หัวเรื่อง Skill ต้องมีหมวด C P และ A 5. เขียนให้นักศึกษาอ่านเข้าใจ วราวุธ สุมาวงศ์
หลักการเขียน องค์ประกอบวัตถุประสงค์การศึกษา A = Audience B = Behavior C = Condition D = Degree วราวุธ สุมาวงศ์
Audience (ผู้เรียน) A เมื่อผ่านการเรียนรู้ นักศึกษาชั้นปีที่ 4 สามารถ วราวุธ สุมาวงศ์
เขียนเป็น - terminal behavioral objective Behavior(พฤติกรรม) (outcome objective) - คำกริยาที่ใช้ระบุความสามารถ วราวุธ สุมาวงศ์
คำกริยาที่ใช้ระบุความสามารถคำกริยาที่ใช้ระบุความสามารถ ในหมวดการศึกษา Cognitive (ปัญญาพิสัย/ พุทธพิสัย) Affective (เจตคติพิสัย) Psychomotor (ทักษะพิสัย) CAP
ระดับพุทธพิสัย C สังเคราะห์ ประเมิน แก้ปัญหา สูง วิเคราะห์ นำไปใช้ เข้าใจ ล่าง จำ (New Bloom’s taxonomy 2003) วราวุธ สุมาวงศ์
คำกริยาในการเขียนวัตถุประสงค์คำกริยาในการเขียนวัตถุประสงค์ หมวดพุทธพิสัย (Cognitive Domain) ระดับล่างรู้ เข้าใจ นำไปใช้ นิยาม บอก ระบุ อธิบาย แปลผล ฯลฯ วราวุธ สุมาวงศ์
คำกริยาในการเขียนวัตถุประสงค์คำกริยาในการเขียนวัตถุประสงค์ หมวดพุทธพิสัย (Cognitive Domain) ระดับสูง วิเคราะห์ ประมวล ผลวินิจฉัย ประเมินผล จำแนก วิเคราะห์ บอกความแตกต่าง เปรียบเทียบ ประเมินค่า เขียนแผนภูมิ แผนผัง วางแผน เลือก ฯลฯ วราวุธ สุมาวงศ์
Bloom's Revised Taxonomy Presented by Denise Tarlinton Pupil Free Day Monday 14 July, 2003
Original Terms New Terms • Creating • Evaluating • Analysing • Applying • Understanding • Remembering • Evaluation • Synthesis • Analysis • Application • Comprehension • Knowledge (Based on Pohl, 2000, Learning to Think, Thinking to Learn, p. 8)
Remembering cont’ • Listen • Group • Choose • Recite • Review • Quote • Record • Match • Select • Underline • Cite • Sort • List • Memorise • Relate • Show • Locate • Distinguish • Give example • Reproduce • Quote • Repeat • Label • Recall • Know • Group • Read • Write • Outline Recall or recognition of specific information • Products include: • Quiz • Definition • Fact • Worksheet • Test • Label • List • Workbook • Reproduction • Vocabulary
Understanding cont’ • Describe • Report • Recognise • Review • Observe • Outline • Account for • Interpret • Give main • idea • Estimate • Define • Restate • Identify • Discuss • Retell • Research • Annotate • Translate • Give examples of • Paraphrase • Reorganise • Associate Understanding of given information • Products include: • Recitation • Summary • Collection • Explanation • Show and tell • Example • Quiz • List • Label • Outline
Applying cont’ • Paint • Change • Compute • Sequence • Show • Solve • Collect • Demonstrate • Dramatise • Construct • Use • Adapt • Draw • Translate • Manipulate • Exhibit • Illustrate • Calculate • Interpret • Make • Practice • Apply • Operate • Interview Using strategies, concepts, principles and theories in new situations • Products include: • Photograph • Illustration • Simulation • Sculpture • Demonstration • Presentation • Interview • Performance • Diary • Journal
Analysing cont’ • Compare • Contrast • Survey • Detect • Group • Order • Sequence • Test • Debate • Analyse • Diagram • Relate • Dissect • Categorise • Discriminate • Distinguish • Question • Appraise • Experiment • Inspect • Examine • Probe • Separate • Inquire • Arrange • Investigate • Sift • Research • Calculate • Criticize Breaking information down into its component elements • Products include: • Graph • Spreadsheet • Checklist • Chart • Outline • Survey • Database • Mobile • Abstract • Report
Evaluating cont’ • Choose • Conclude • Deduce • Debate • Justify • Recommend • Discriminate • Appraise • Value • Probe • Argue • Decide • Criticise • Rank • Reject Judging the value of ideas, materials and methods by developing and applying standards and criteria. • Judge • Rate • Validate • Predict • Assess • Score • Revise • Infer • Determine • Prioritise • Tell why • Compare • Evaluate • Defend • Select • Measure • Products include: • Debate • Panel • Report • Evaluation • Investigation • Verdict • Conclusion • Persuasive speech
Creating cont’ • Formulate • Improve • Act • Predict • Produce • Blend • Set up • Devise • Concoct • Compile Putting together ideas or elements to develop a original idea or engage in creative thinking. • Compose • Assemble • Organise • Invent • Compile • Forecast • Devise • Propose • Construct • Plan • Prepare • Develop • Originate • Imagine • Generate • Products include: • Film • Story • Project • Plan • New game • Song • Newspaper • Media product • Advertisement • Painting
ข้อเตือนใจ สำหรับหมวด Cognitive พยายามเขียนเป็นความสามารถระดับสูง Terminal objective เอาไปทำอะไรต่อไปในวิชาชีพ
ระดับการเรียนรู้ทักษะพิสัยระดับการเรียนรู้ทักษะพิสัย PsychomotorDomain 1. Imitation 2. Control 3. Automatism วราวุธ สุมาวงศ์
Shows How (Performance) Knows How (Competence) Knows (Knowledge) Miller’s Pyramid Does (Action) PA C Miller GE Ac Med 65, 1990, 65 – 67 วราวุธ สุมาวงศ์
Cระดับ Know howระบุ / ลำดับขั้นตอน อธิบายขั้นตอนการปฏิบัติ Aระดับ Show how& Does มารยาท การคำนึงถึงความรู้สึกของผู้อื่น คำกริยาในการเขียนวัตถุประสงค์ หมวดทักษะพิสัย(Psychomotor Domain) P ระดับ Show how แสดงให้เห็นภายใต้ความควบคุม ระดับ Does ปฏิบัติกับผู้ป่วย วราวุธ สุมาวงศ์
ระดับการเรียนรู้ Affective Domain วิภาววิสัย - เจตคติพิสัย 1.Receiving (สำนึก) 2. Responding (นำไปปฏิบัติ) 3. Internalization (เป็นนิสัย) วราวุธ สุมาวงศ์
คำกริยาในการเขียนวัตถุประสงค์คำกริยาในการเขียนวัตถุประสงค์ หมวดเจตคติพิสัย(Affective Domain) ระดับสำนึก ตระหนัก ระดับนำไปปฏิบัติ แสดง (พฤติกรรม) ระดับเป็นนิสัย ปฏิบัติทุกครั้ง / ราย วราวุธ สุมาวงศ์
ความสัมพันธ์ระหว่าง Miller’s pyramid และวัตถุประสงค์ทางเจตคติ Does- ปฏิบัติประจำ (นิสัย) Show how- แสดงให้เห็น Know how - ตระหนัก Know วราวุธ สุมาวงศ์
B ตัวอย่างการเขียน Behavior วัดความดันโลหิตได้
C ตัวอย่างการเขียน Condition (เงื่อนไข) วัดความดันโลหิตในเด็กได้ B วราวุธ สุมาวงศ์
วินิจฉัยมาเลเรียจากการสำรวจวินิจฉัยมาเลเรียจากการสำรวจ ทางกล้องจุลทัศน์ชนิด ThickFilm C C ได้ทุกราย D Degree(ระดับความสามารถ) มี conditionในข้อนี้หรือเปล่า ? วราวุธ สุมาวงศ์
Audience Behavior Degree ตัวอย่างการเขียนวัตถุประสงค์ครบ A B C D ภายหลังการเรียนรู้ นักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 4 สามารถ ให้การวินิจฉัยแยกโรคได้จากการซักประวัติ อย่างน้อย 3 โรค Condition
NonSkill C และ A 3. เขียนให้ครบหมวดการศึกษา Skill C A P 4. คิดวัตถุประสงค์ให้ครอบคลุม ไม่ใช่ตามเนื้อหาในตำราเท่านั้น เจตคติไม่มีในตำรา ครูต้องคิดเองและคิดให้รอบ 6. การสอนให้นักศึกษาคิดต้องกำหนด Objective ให้อยู่ใน Cognition ระดับสูง 9. เขียน objective ให้ครอบคลุมที่สัมพันธ์กันทั้งหมด อย่าคิดว่า มีอยู่แล้วในหัวเรื่องนั้นเรื่องนี้ นักศึกษาต้องเห็นภาพรวม ข้อเตือนใจในการเขียนวัตถุประสงค์รายหัวเรื่อง 1. ระบุให้ชัดแจ้ง อย่าเขียนรวม ๆ กว้าง 2. สื่อความหมายให้เข้าใจกระจ่าง 5. เขียนระดับความรู้ความสามารถให้เหมาะสม 7. ไม่ต้องกังวลว่ากำหนดวัตถุประสงค์มากไป ยาวไป 8. ไม่ต้องเป็นห่วงว่าจะสอนไม่ได้ครบทุกวัตถุประสงค์