10 likes | 145 Views
www.sepo.go.th. การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (กนอ.). ข้อมูลทั่วไป. พระราชบัญญัติคุณสมบัติมาตรฐานสำหรับกรรมการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. 2518 และที่แก้ไขเพิ่มเติม. สังกัด : กระทรวงอุตสาหกรรม ประธานกรรมการ : นายประสาน ตันประเสริฐ กรรมการผู้แทน กค. : นางสาวเพรามาตร หันตรา
E N D
www.sepo.go.th การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (กนอ.) ข้อมูลทั่วไป พระราชบัญญัติคุณสมบัติมาตรฐานสำหรับกรรมการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. 2518 และที่แก้ไขเพิ่มเติม สังกัด: กระทรวงอุตสาหกรรม ประธานกรรมการ : นายประสาน ตันประเสริฐ กรรมการผู้แทน กค. : นางสาวเพรามาตร หันตรา Website : www.ieat.go.thโทร.0 2253 0561 • คุณสมบัติและลักษณะต้องห้ามของบุคลากรรัฐวิสาหกิจ ประกอบด้วย • กรรมการ (ม.5) ผู้บริหารสูงสุด (ม. 8 ตรี) พนักงาน (ม.9) • จำนวนกรรมการ ไม่เกิน 11 คน แต่ถ้ารัฐวิสาหกิจใดมีข้อกำหนดให้มีกรรมการน้อยกว่า 11 คน ก็ให้เป็นไปตามที่กำหนดไว้ แต่ถ้าจำเป็นต้องมีกรรมการเกินกว่า 11 คน ให้รัฐมนตรีเจ้าสังกัดขออนุมัติจาก ครม. แต่รวมแล้วต้องไม่เกิน 15 คน(ม. 6) • การนับจำนวนการดำรงตำแหน่งของกรรมการในรัฐวิสาหกิจ ไม่เกิน 3 แห่ง นับรวมการเป็นกรรมการโดยตำแหน่ง การได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติราชการแทน แต่ไม่รวมการเป็นกรรมการโดยตำแหน่งที่ได้มีการมอบหมายให้ผู้อื่นปฏิบัติราชการแทน (ม. 7) • วาระการดำรงตำแหน่ง 3 ปี กรณีกรรมการที่มิใช่กรรมการโดยตำแหน่ง แต่อาจได้รับแต่งตั้งใหม่ (ม. 8) • การแต่งตั้งกรรมการอื่น ผู้มีอำนาจพิจารณาแต่งตั้งจากบุคคลในบัญชีรายชื่อกรรมการที่กระทรวง • การคลังจัดทำขึ้น ไม่น้อยกว่า 1 ใน 3 ของจำนวนกรรมการอื่นของรัฐวิสาหกิจนั้น (ม. 12/1 วรรค 1) • การกำหนดค่าตอบแทนและร่างสัญญาจ้างผู้บริหารสูงสุด คณะกรรมการรัฐวิสาหกิจกำหนด โดยความเห็นชอบของกระทรวงการคลัง (ม. 8 จัตวา วรรคเจ็ด) ข้อมูลเกี่ยวกับสัญญาจ้างผู้บริหารสูงสุด • ผู้ว่าการ (CEO) : นางมณฑา ประณุทนรพาล • สัญญาจ้างลงวันที่ : 27 ธันวาคม 2550 • ระยะเวลาจ้าง : 2 ม.ค. 51 – 1 ม.ค. 55 • วาระที่ 1 วาระที่ 2 • ตำแหน่งเดิมก่อนเป็น CEO • Board รอง CEO บุคคลภายนอก • (รองผู้ว่าการการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย) • รอง CEO พนักงาน สัญญาจ้าง • CFO พนักงาน สัญญาจ้าง สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) : กระทรวงการคลังSTATE ENTERPRISE LAW FOCUS : รายแห่ง พระราชบัญญัติการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2522 • วัตถุประสงค์ มีดังต่อไปนี้ (ม. 6)(1) การจัดให้ได้มาซึ่งที่ดินที่เหมาะสมเพื่อจัดตั้งหรือขยายนิคมอุตสาหกรรมหรือเพื่อดำเนินธุรกิจอื่นที่เป็นประโยชน์ หรือเกี่ยวเนื่องกับ กนอ. • (2) การปรับปรุงที่ดินตาม (1) เพื่อให้บริการ ตลอดจนจัดสิ่งอำนวยความสะดวกในการดำเนินงานของผู้ประกอบอุตสาหกรรมและผู้ประกอบพาณิชยกรรม* และผู้ประกอบกิจการอื่นที่เป็นประโยชน์หรือเกี่ยวเนื่องกับการประกอบอุตสาหกรรมหรือการประกอบพาณิชยกรรม*เช่น การจัดให้มีถนน ท่อระบายน้ำ โรงบำบัดน้ำเสีย ไฟฟ้า ประปา และโทรคมนาคม เป็นต้น • (3) การให้เช่า ให้เช่าซื้อ และขายอสังหาริมทรัพย์หรือสังหาริมทรัพย์ในนิคมอุตสาหกรรมหรือเพื่อประโยชน์แก่กิจการของนิคมอุตสาหกรรมโดยตรง • (4) การดำเนินธุรกิจอื่นที่เป็นประโยชน์หรือเกี่ยวเนื่องกับกิจการอันอยู่ในวัตถุประสงค์ของ กนอ. • (5) การร่วมดำเนินงานกับบุคคลอื่นตามวัตถุประสงค์ใน (1) (2) หรือ (3) รวมทั้งการเข้าเป็นหุ้นส่วนจำพวกจำกัดความรับผิดในห้างหุ้นส่วนจำกัด หรือถือหุ้นในนิติบุคคลใดๆ ซึ่งมีวัตถุประสงค์ที่เป็นประโยชน์หรือเกี่ยวเนื่องกับกิจการอันอยู่ในวัตถุประสงค์ของ กนอ. • (6) การส่งเสริมและควบคุมนิคมอุตสาหกรรมของเอกชนหรือหน่วยงานของรัฐ เงินเดือนพนักงาน กลุ่มโครงสร้างเงินเดือน คณะกรรมการกำหนดโครงสร้างเงินเดือนได้เอง มีบัญชีโครงสร้างเงินเดือนของตนเอง ใช้บัญชีโครงสร้างเงินเดือน 58 ขั้น อัตราเงินเดือนขั้นสูงสุด ขั้นที่ 58 Min-max ของเงินเดือน : 5,820 – 113,520 บาท อัตราเงินเดือนแรกบรรจุ (ปริญญาตรี 4 ปี) : 9,130 บาท จำนวนพนักงาน : 588 คน (31พ.ค. 54) มติ ครม. ที่ยกเว้นการปฏิบัติเรื่องต่าง ๆ ยกเว้นการปฏิบัติตามระเบียบ ข้อบังคับ และมติคณะรัฐมนตรีที่ใช้บังคับกับรัฐวิสาหกิจทั่วไป ยกเว้นการปฏิบัติตามมาตรา 13 (2) พ.ร.บ.แรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ พ.ศ. 2543 • จำนวนและองค์ประกอบคณะกรรมการ คณะกรรมการประกอบด้วย ประธานกรรมการและกรรมการอื่นอีกไม่เกิน 10 คน รวมทั้งผู้ว่าการซึ่งเป็นกรรมการโดยตำแหน่ง และให้ ครม.เป็นผู้แต่งตั้งประธานกรรมการและกรรมการอื่นซึ่งมิใช่กรรมการโดยตำแหน่ง(ม. 18) • วาระการดำรงตำแหน่ง : ประธานกรรมการหรือกรรมการซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้งอยู่ในตำแหน่งคราวละ 3 ปี และประธานกรรมการหรือกรรมการซึ่งพ้นจากตำแหน่งอาจได้รับแต่งตั้งอีกได้ (ม. 21) • ผู้มีอำนาจแต่งตั้งผู้บริหารสูงสุด : คณะกรรมการแต่งตั้งผู้ว่าการและกำหนดอัตราเงินเดือนของผู้ว่าการโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี(ม. 25) การดำเนินการตาม พ.ร.บ. ว่าด้วยการให้เอกชนเข้าร่วมงานหรือดำเนินการ ในกิจการของรัฐ พ.ศ. 2535 ปัจจุบันไม่มีโครงการที่ดำเนินการตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการให้เอกชนให้เอกชนเข้าร่วมงานหรือดำเนินการในกิจการของรัฐ พ.ศ. 2535 • คุณสมบัติเพิ่มเติมจาก พ.ร.บ. คุณสมบัติมาตรฐานฯ • ลักษณะต้องห้ามของประธานกรรมการหรือกรรมการ • - ไม่เป็นผู้มีส่วนได้เสียในสัญญากับการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย หรือในกิจการที่กระทำให้แก่การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยหรือในกิจการที่มีสภาพอย่างเดียวกันและแข่งขันกับการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ทั้งนี้ ไม่ว่าโดยตรงหรือโดยอ้อมเว้นแต่เป็นเพียงผู้ถือหุ้นเพื่อการลงทุนโดยสุจริตในนิติบุคคลที่กระทำการอันมีส่วนได้เสียเช่นว่านั้น (ม. 19 (7)) หมายเหตุ ในการพิจารณาคุณสมบัติบุคลากรรัฐวิสาหกิจจะต้องพิจารณา พ.ร.บ. คุณสมบัติมาตรฐานฯ กฎหมายจัดตั้งรัฐวิสาหกิจและกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้องประกอบกัน • อำนาจพิเศษตามกฎหมายจัดตั้ง : • เมื่อมีความจำเป็นที่จะต้องได้มาซึ่งอสังหาริมทรัพย์เพื่อใช้ประโยชน์ในการจัดตั้งหรือขยายนิคมอุตสาหกรรม ให้ กนอ. มีอำนาจดำเนินการเวนคืนตามกฎหมายว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ (ม. 38) • พนักงานเจ้าหน้าที่เป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา (ม. 61) • ทรัพย์สินของการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยไม่อยู่ในความรับผิดแห่งการบังคับคดี (ม. 17) • สิทธิประโยชน์ทางอากรเกี่ยวกับของที่นำเข้า (ม .48 -56) ที่มาของข้อมูล สัญญาจ้างผู้บริหาร www.krisdika.go.th มติคณะรัฐมนตรี ประสานงานกับเจ้าหน้าที่รัฐวิสาหกิจ สำนักกฎหมาย ส่วนกฎหมาย 2 ผู้อำนวยการส่วน : นายปัญญ์สุธา รายา ผู้จัดทำ : นางสาวพิมพ์นิภา โตประเสริฐ โทร. 0 22985880-9 ต่อ 6719 วันที่จัดทำ : 31 พ.ค. 54 (Update) สิทธิพิเศษตามมติคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้าง -ไม่มี- • ความเห็นคณะกรรมการกฤษฎีกาที่เกี่ยวข้อง • เรื่องเสร็จที่ 538/2549 (เรื่อง ปัญหาข้อกฎหมายตาม พ.ร.บ.ว่าด้วยการให้เอกชนเข้าร่วมงานฯ กรณี กนอ.จะร่วมลงทุนโดยถือหุ้นในบริษัทเอกชน ) • การร่วมลงทุนของ กนอ. กับบริษัทเอกชน เมื่อปรากฏข้อเท็จจริงว่า บริษัทเอกชนประกอบกิจการในฐานะผู้ประกอบอุตสาหกรรมตามกฎหมายของ กนอ. โดยมีหน้าที่ต้องปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบ ข้อบังคับของ กนอ. เช่นเดียวกับผู้ประกอบอุตสาหกรรมอื่นที่ประกอบกิจการใน กนอ.และไม่มีลักษณะที่เป็นกิจการของรัฐ อีกทั้งมิใช่เป็นกิจการที่ กนอ. มีหน้าที่ต้องทำตามกฎหมาย ดังนั้น การดำเนินการเกี่ยวกับโรงงานผลิตไฟฟ้าในกรณีนี้เป็นการลงทุนโดยผู้ประกอบการอุตสาหกรรม มิใช่เป็นการลงทุนโดย กนอ. การดำเนินการดังกล่าวจึงไม่เป็นการดำเนินโครงการที่เป็นการลงทุนในกิจการของรัฐตามกฎหมายว่าด้วยการให้เอกชนเข้าร่วมงานฯ