410 likes | 571 Views
การเรียนรู้เชิงผสมผสาน 2.0 ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ด้วยอินเตอร์เน็ตแอพพลิเคชั่น Blended Learning 2.0 for Student-Based Learning Approach Using Internet Applications. by ณัฏฐ์ โอธนาทรัพย์ (Nuth Otanasap) มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ South-east Asia University, August 9, 2011
E N D
การเรียนรู้เชิงผสมผสาน 2.0 ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ด้วยอินเตอร์เน็ตแอพพลิเคชั่นBlended Learning 2.0 for Student-Based Learning ApproachUsing Internet Applications by ณัฏฐ์ โอธนาทรัพย์ (Nuth Otanasap) มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์South-east Asia University, August 9, 2011 Email: nuto@sau.ac.th, Website:www.auisuke.com
IT vs. Human • มนุษย์ค้นพบสิ่งใหม่ทุกวันอยู่ตลอดเวลา • ความรู้ความรู้มีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงและวิวัฒนาการอย่างต่อเนื่อง • ความรู้ล้าสมัยเร็ว • ข้อมูลข่าวสารเกิดขึ้นเป็นจำนวนมาก • การเรียนรู้ไม่อาจจำกัดอยู่เพียงในชั้นเรียน • มนุษย์จำเป็นต้องปรับตัวในการดำรงชีวิต • ต้องเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต เพื่อให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมและสังคมที่เปลี่ยนไป (Life Long Learning) (Lertkulvanich, 2008) Nuth Otanasap: nuto@sau.ac.th: www.auisuke.com
IT vs. Human IT • วิธีการเรียนรู้ แหล่งความรู้ และวิธีเข้าถึงแหล่งความรู้ • เกิดการหมุนเวียน แลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารกันอย่างรวดเร็ว • เกิดระบบนิเวศน์การเรียนรู้ที่สลับ ซับซ้อน • มีกลุ่มคนที่สนใจเรื่องเดียวกันมารวมกลุ่มกันเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ • ทำให้เกิดการสัมพันธ์เชื่อมโยงระหว่างศาสตร์ต่างๆ เข้าด้วยกัน • อินเตอร์เน็ต เว็บ ชุมชนออนไลน์ และนิเวศน์การเรียนรู้อื่นๆ เป็นเครื่องมือสำคัญ (Lertkulvanich, 2008) (บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์, 2554) Nuth Otanasap: nuto@sau.ac.th: www.auisuke.com
กระบวนการการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ (Student-based Learning) • ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ • ผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด • กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียน สามารถพัฒนาตนเองได้อย่างเต็มศักยภาพตามธรรมชาติของแต่ละบุคคล • การจัดการเรียนรู้ระดับการอุดมศึกษา • มุ่งพัฒนาความรู้และทักษะทางวิชาชีพ ทักษะชีวิตและทักษะสังคม (สกอ, 2551) Nuth Otanasap: nuto@sau.ac.th: www.auisuke.com
1) การเรียนรู้จากกรณีปัญหา (Problem-based Learning : PBL) • ผู้เรียนควบคุมการเรียนรู้ด้วยตนเอง • ผู้เรียนคิดและดำเนินการเรียนรู้ กำหนดวัตถุประสงค์ และเลือกแหล่งเรียนรู้ด้วยตนเอง • ผู้สอนเป็นผู้ให้คำแนะนำ เป็นการส่งเสริมให้เกิดการแก้ปัญหามากกว่าการจำเนื้อหาข้อเท็จจริง • ส่งเสริมการทำงานเป็นกลุ่มและพัฒนาทักษะทางสังคม • เหมาะกับการจัดการเรียนการสอนระดับอุดมศึกษา Nuth Otanasap: nuto@sau.ac.th: www.auisuke.com
เงื่อนไขที่ทำให้เกิดการเรียนรู้ แบบ PBL • ความรู้เดิมของผู้เรียน ทำให้เกิดความเข้าใจข้อมูลใหม่ได้ • การจัดสถานการณ์ที่เหมือนจริง ส่งเสริมการแสดงออก • การนำไปใช้อย่างมีประสิทธิภาพ • การให้โอกาสผู้เรียนได้ไตร่ตรองข้อมูลอย่างลึกซึ้ง • ทำให้ผู้เรียนตอบคำถาม จดบันทึก สอนเพื่อน สรุป วิพากษ์วิจารณ์สมมติฐานที่ได้ตั้งไว้ได้ดี Nuth Otanasap: nuto@sau.ac.th: www.auisuke.com
2) การเรียนรู้เป็นรายบุคคล (individual study) • บุคคลมีความสามารถในการเรียนรู้ และความสนใจในการเรียนรู้ที่แตกต่างกัน • จำเป็นที่จะต้องมีเทคนิคหลายวิธี เพื่อช่วยให้การจัดการเรียนในกลุ่มใหญ่สามารถตอบสนองผู้เรียนแต่ละคนที่แตกต่างกันได้ 2.1 เทคนิคการใช้ Concept Mapping 2.2 เทคนิค Learning Contracts 2.3 เทคนิค Know –Want-Learned 2.4 เทคนิคกระบวนการกลุ่ม (Group Process) Nuth Otanasap: nuto@sau.ac.th: www.auisuke.com
2) การเรียนรู้เป็นรายบุคคล (individual study) 2.1 เทคนิคการใช้การทำแผนผังแนวคิด (Concept Mapping) การตรวจสอบความคิดของผู้เรียนว่าคิดอะไร เข้าใจสิ่งที่เรียนอย่างไร 2.2 เทคนิค Learning Contracts คือ สัญญาที่ผู้เรียนกับผู้สอนร่วมกันกำหนด ใช้เป็นหลักยึดในการเรียนว่าจะเรียนอะไร อย่างไร เวลาใด ใช้เกณฑ์อะไรประเมิน 2.3 เทคนิค Know –Want-Learned ใช้เชื่อมโยงความรู้เดิมกับความรู้ใหม่ ผสมผสานกับ การใช้ Mapping ความรู้เดิม เทคนิคการรายงานหน้าชั้นจากการค้นคว้า 2.4 เทคนิคกระบวนการกลุ่ม (Group Process) เป็นการเรียนที่ทำให้ผู้เรียนได้ร่วมมือกัน แลกเปลี่ยนความรู้ความคิดซึ่งกันและกัน เพื่อให้บรรลุเป้าหมายเดียวกัน เพื่อแก้ปัญหาให้สำเร็จ ตามวัตถุประสงค์ Nuth Otanasap: nuto@sau.ac.th: www.auisuke.com
3) การเรียนรู้แบบสรรคนิยม (Constructivism) “ผู้เรียนเป็นผู้สร้างความรู้โดยอาศัยประสบการณ์แห่งชีวิต ที่ได้รับเพื่อค้นหาความจริง” มุมมองแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ - กลุ่มที่เน้นกระบวนการรู้คิดในตัวบุคคล (radical constructivism or personal Constructivism or cognitive oriented constructivist theories) - กลุ่มที่เน้นการสร้างความรู้โดยอาศัยปฏิสัมพันธ์ทางสังคม (Social constructivism or socially oriented constructivist theories) Nuth Otanasap: nuto@sau.ac.th: www.auisuke.com
3) การเรียนรู้แบบสรรคนิยม (Constructivism) กลุ่มที่เน้นกระบวนการรู้คิดในตัวบุคคล เน้นการเรียนรู้ของมนุษย์เป็นรายบุคคล โดยมีความเชื่อว่ามนุษย์แต่ละคนรู้วิธีเรียนและรู้วิธีคิด เพื่อสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง Nuth Otanasap: nuto@sau.ac.th: www.auisuke.com
3) การเรียนรู้แบบสรรคนิยม (Constructivism) กลุ่มที่เน้นการสร้างความรู้โดยอาศัยปฏิสัมพันธ์ทางสังคม เน้นว่า ความรู้ คือ ผลผลิตทางสังคม โดยมีข้อตกลงเบื้องต้นสองประการ คือ 1) ความรู้ต้องสัมพันธ์กับชุมชน 2) ปัจจัยทางวัฒนธรรมสังคมและประวัติศาสตร์มีผลต่อการเรียนรู้ ดังนั้น ครูจึงมีบทบาทเป็นผู้อำนวยความสะดวกในการเรียนรู้ Nuth Otanasap: nuto@sau.ac.th: www.auisuke.com
4) การเรียนรู้แบบแสวงหาความรู้ได้ด้วยตนเอง (Self-Study) ให้ผู้เรียนศึกษาและแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง ใช้ในการเรียนรู้ทั้งที่เป็นรายบุคคล และ กระบวนการกลุ่ม • การจัดการเรียนการสอนแบบสืบค้น (Inquiry Instruction) 2. การเรียนแบบค้นพบ (Discovery Learning) 3. การเรียนแบบแก้ปัญหา (Problem Solving) 4. การเรียนรู้เชิงประสบการณ์ (Experiential Learning) Nuth Otanasap: nuto@sau.ac.th: www.auisuke.com
5) การเรียนรู้ที่ใช้วิธีสร้างผลงานจากการตกผลึกทางปัญญา (Crystal-Based Approach) • ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้สร้างสรรค์ความรู้ความคิดด้วยตนเอง • รวบรวม ทำความเข้าใจ สรุป วิเคราะห์ และสังเคราะห์จากการศึกษาด้วยตนเอง Nuth Otanasap: nuto@sau.ac.th: www.auisuke.com
5) การเรียนรู้ที่ใช้วิธีสร้างผลงานจากการตกผลึกทางปัญญา (Crystal-Based Approach) วิธีการเรียนรู้ • ทำความเข้าใจกับผู้เรียนให้เข้าใจวัตถุประสงค์ของการเรียนรู้ • ทำความเข้าใจในเนื้อหาและประเด็นหลักๆ ของรายวิชา • มอบหมายให้ผู้เรียนไป ศึกษาวิเคราะห์เอกสาร แนวคิดตามประเด็นที่กำหนด • ให้ผู้เรียนพัฒนาแนวคิดในประเด็นต่างๆ แยกทีละประเด็น • ให้ผู้เรียนเขียนประเด็นเหล่านั้นเป็นผลงานในลักษณะที่เป็นแนวคิดของตนเอง • ผ่านการกลั่นกรอง วิเคราะห์เจาะลึกจนตกผลึกทางความคิดเป็นของตนเอง • นำเสนอให้กลุ่มเพื่อนได้ช่วยวิเคราะห์ วิจารณ์อีกครั้ง Nuth Otanasap: nuto@sau.ac.th: www.auisuke.com
ทักษะที่จำเป็นในการดำรงชีวิตยุคเทคโนโลยีสารสนเทศทักษะที่จำเป็นในการดำรงชีวิตยุคเทคโนโลยีสารสนเทศ Nuth Otanasap: nuto@sau.ac.th: www.auisuke.com (บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์, 2554)
ทักษะที่จำเป็นในการดำรงชีวิตยุคเทคโนโลยีสารสนเทศทักษะที่จำเป็นในการดำรงชีวิตยุคเทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะการเรียนรู้และการสร้างสรรค์สิ่งใหม่ • สามารถเรียนรู้ สรุป วิเคราะห์ สังเคราะห์ความรู้ได้ด้วยตนเอง • การคิดและแก้ปัญหาอย่างมีวิจารณญาณ • การร่วมมือ การติดต่อสื่อสาร และการนำเสนอ • สามารถเชื่อมโยงความรู้เดิมกับความรู้ใหม่ Nuth Otanasap: nuto@sau.ac.th: www.auisuke.com (บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์, 2554)
ทักษะที่จำเป็นในการดำรงชีวิตยุคเทคโนโลยีสารสนเทศทักษะที่จำเป็นในการดำรงชีวิตยุคเทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะชีวิตและอาชีพ • ความสามารถในการปรับตัวทั้งชีวิตส่วนตัว และการงานความคิดริเริ่มและมีแนวคิดของตัวเอง • ทักษะทางสังคม วัฒนธรรม ประเพณีทั้งของพื้นถิ่น และข้ามชาติ • ความสามารถในการสร้างสรรค์ชิ้นงาน ที่สามารถตรวจสอบได้ • มีภาวะผู้นำและมีความรับผิดชอบทั้งต่อตนเองและผู้อื่น Nuth Otanasap: nuto@sau.ac.th: www.auisuke.com (บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์, 2554)
ทักษะที่จำเป็นในการดำรงชีวิตยุคเทคโนโลยีสารสนเทศทักษะที่จำเป็นในการดำรงชีวิตยุคเทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะทางเทคโนโลยี • ความรู้ทางสารสนเทศขั้นพื้นฐาน • ความรู้เกี่ยวกับสื่อขั้นพื้นฐาน • ความรู้ทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารขั้นพื้นฐาน Nuth Otanasap: nuto@sau.ac.th: www.auisuke.com (บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์, 2554)
เทคโนโลยีการเรียนรู้ 2.0 (Learning 2.0) • Web 2.0 มุ่งเน้นให้ทุกคนมีส่วนร่วม โดยการพัฒนาซอฟต์แวร์เพื่อสังคม สนับสนุนให้ทุกคนสามารถเข้าถึงได้โดยทัดเทียมกัน • พัฒนาประสิทธิภาพในการเรียนรู้ 2.0 (Learning 2.0) • สนับสนุนให้เกิดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ • ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมมากขึ้น • เว็บ 2.0 สนับสนุนให้ผู้ใช้สามารถสร้างเนื้อหา และนำเสนอเนื้อหาที่ตนเองสร้างขึ้นรวมทั้งนำเนื้อหาอื่นๆ จากอินเตอร์เน็ตมาผสมผสานเข้าด้วยกัน แล้วนำเสนอผ่านเว็บ (Wangpipatwong, 2009) & (Vate-U-Lan, 2009) Nuth Otanasap: nuto@sau.ac.th: www.auisuke.com
เทคโนโลยีการเรียนรู้ 2.0 (Learning 2.0) • สนับสนุนชุมชนแห่งการเรียนรู้(Community) • การเรียนผ่านอุปกรณ์เคลื่อนที่ (Mobility) • เนื้อหาเปิด(Open Content) • เทคโนโลยีเปิด (Open Technology) • โอเพ่นซอร์ส (Open Source) • การเรียนรู้ร่วมกัน (Contributing) (Sambandaraksa, 2008 อ้างถึงใน Valte-U-Lan, 2008) • ความสามารถในการแบ่งปัน(Sharing) • การร่วมมือการทำงานร่วมกัน (Collaboration) • การบริการ (Services) • ความรวดเร็ว(Speed) • การทำงานแบบหลายงานพร้อมกัน(Multitasking) • สื่อผสม(Multimedia) (Sambandaraksa, 2008 อ้างถึงใน Valte-U-Lan, 2008) Nuth Otanasap: nuto@sau.ac.th: www.auisuke.com
Web 1.0 กับ 2.0 Nuth Otanasap: nuto@sau.ac.th: www.auisuke.com
e-Learning 1.0 vs 2.0 Nuth Otanasap: nuto@sau.ac.th: www.auisuke.com
อินเตอร์เน็ตแอพพลิเคชั่น (Internet Application) • ซอฟต์แวร์บริการ (SaaS: Software as a Service) (IPA, 2009) • ซอฟต์แวร์เว็บ 2.0 สามารถเข้าถึงได้ ผ่านอินเตอร์เน็ตด้วยเว็บเบราเซอร์ • ไม่จำเป็นต้องติดตั้งซอฟต์แวร์ไว้ที่เครื่องคอมพิวเตอร์ของตนเอง • ประหยัดค่าใช้จ่ายในการจัดหารวมทั้งการบำรุงรักษา • สามารถเข้าถึงและสร้างงานได้ทุกที่ทุกเวลา (AnyoneAnytime Anywhere) • มีให้ใช้ฟรีเป็นจำนวนมาก • ส่วนใหญ่เป็นซอฟต์แวร์ที่มุ่งเน้นการมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคม Nuth Otanasap: nuto@sau.ac.th: www.auisuke.com
อินเตอร์เน็ตแอพพลิเคชั่นเครื่องมือเพื่ออินเตอร์เน็ตแอพพลิเคชั่นเครื่องมือเพื่อ การเรียนรู้เชิงผสมผสานแบบ 2.0(Blended Learning 2.0) Nuth Otanasap: nuto@sau.ac.th: www.auisuke.com
อินเตอร์เน็ตแอพพลิเคชั่นเครื่องมือเพื่ออินเตอร์เน็ตแอพพลิเคชั่นเครื่องมือเพื่อ การเรียนรู้เชิงผสมผสานแบบ 2.0 (Blended Learning 2.0) Nuth Otanasap: nuto@sau.ac.th: www.auisuke.com
การเรียนรู้เชิงผสมผสาน 2.0บทบาทครูและนักเรียนที่เปลี่ยนไป Nuth Otanasap: nuto@sau.ac.th: www.auisuke.com
ขั้นตอนการเรียนการสอนเชิงผสมผสาน 2.0 ที่มีผู้เรียนเป็นศูนย์กลางด้วยอินเตอร์เน็ตแอพพลิเคชั่น Nuth Otanasap: nuto@sau.ac.th: www.auisuke.com
การเรียนในชั้นเรียน (In Class: Face to Face) Nuth Otanasap: nuto@sau.ac.th: www.auisuke.com
การเรียนจากกรณีปัญหา (Problem-based Learning) Nuth Otanasap: nuto@sau.ac.th: www.auisuke.com
Student-based Learning Google Apps & Google Sites One Stop Services PICCS Blended Learning 2.0
One-Stop Service Website for One-stop Service Nuth Otanasap: nuto@sau.ac.th: www.auisuke.com https://sites.google.com/site/auisuke/ecommerce
One-Stop Service Online Quiz Nuth Otanasap: nuto@sau.ac.th: www.auisuke.com
One-Stop Service E-Book, Online Orientation, Online Assignment Nuth Otanasap: nuto@sau.ac.th: www.auisuke.com
One-Stop Service Online Score Report Online Self Assessment Nuth Otanasap: nuto@sau.ac.th: www.auisuke.com Collaborative Commentator
One-Stop Service Online Assignment Nuth Otanasap: nuto@sau.ac.th: www.auisuke.com
One-Stop Service Online Document Nuth Otanasap: nuto@sau.ac.th: www.auisuke.com Online Document: แบ่งปัน ความร่วมมือผสมผสาน และความสามารถในการเข้าถึงเพื่อทำงานร่วมกัน
One-Stop Service Online Advertising as VDO Clip Online HW submission Nuth Otanasap: nuto@sau.ac.th: www.auisuke.com
One-Stop Service Google Site Online Presentation Online Survey Nuth Otanasap: nuto@sau.ac.th: www.auisuke.com
สรุป • เทคโนโลยีเว็บ 2.0 และอินเตอร์เน็ตแอพพลิเคชั่น • สามารถนำมาประยุกต์ใช้ร่วมกันให้เกิดการเรียนรู้เชิงผสมผสาน 2.0 ที่มุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ • สามารถลดปัญหาด้านค่าใช้จ่ายในการจัดหาซอฟต์แวร์ รวมถึงค่าใช้จ่ายในการบริหารจัดการ บำรุงรักษาซอฟต์แวร์ • สามารถลดปัญหาทางด้านการปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนด้วยกันเอง และผู้เรียนกับผู้สอน Nuth Otanasap: nuto@sau.ac.th: www.auisuke.com
สรุป • จากการทดลอง ผู้เรียนมีความพึงพอใจในกระบวนการเรียนรู้ และมีความกระตือรือร้นในการเรียนรู้ด้วยตนเองเพิ่มมากขึ้น • สามารถนำศักยภาพในการเรียนรู้ด้วยตนเอง มาใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะในสิ่งที่ผู้เรียนสนใจ • ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ ความรู้ได้เป็นอย่างดี • สร้างพื้นฐานให้ผู้เรียนเกิดทักษะการเรียนรู้ด้วยตนเองตลอดชีวิต Nuth Otanasap: nuto@sau.ac.th: www.auisuke.com
Thanks ภาษาดีประพฤติดี อีกทั้งมีรสนิยม ความคิดไตร่ตรองคม มั่นคงตรงไม่แปรผัน ค้นคว้าก้าวหน้าสู้ คิดค้นอยู่ทุก คืนวัน สมองไวคิดได้พลัน ทุกสิ่งสรรพสัมฤทธิ์เร็ว บัณฑิตในอุดมคติ โดย วัลลภา เทพหัสดิน ณ อยุธยา เว็บไซต์ผู้บรรยาย WWW.AUISUKE.COM คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา ของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา 2545