• 350 likes • 395 Views
Learn the essentials of CPR, AED, and First Aid techniques to save lives. Understand the importance of quick response in emergencies. Join us and be prepared to act fast!
E N D
KMITL MEDICAL CENTER WITH DR CHAYOOT MARUKATAT PRESENTS CPR & FIRST AID The way to save life by our hands
Presentation Outline Practice-along-teaching ! WHAT is CPR, WHY must CPR, and WHEN? HOW to perform correct CPR Get to know AED FIRST AID... all you need to know perform correct FIRST AID KMITL 2019 • Improving Healthcare
Cardio Pulmonary Resuscitation What is it? การปั๊มหัวใจเพื่อกู้ชีวิตคนไข้, เพื่อ...ให้หัวใจที่หยุดเต้นกลับมาทำงานเหมือนเดิม และ...ทำการสูบฉีดเลือดไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกาย KMITL 2019 • Improving Healthcare
Why do we have to practice ? 70% 95% หัวใจหยุดเต้นที่บ้าน / สถานพักอาศัย เสียชีวิตก่อนถึงโรงพยาบาล
10 MIN 9 MIN ความเสียหายต่อสมอง ใกล้เข้าสู่ภาวะสมองตาย โอกาสรอดชีวิตต่ำมาก หลังจากหัวใจหยุดเต้น สมองบางส่วนจะถูกทำลายไปอย่างถาวรทำให้เกิดความทุพลภาพ
7% โอกาสรอดชีวิต... ในแต่ละนาทีที่ผ่านไปหลังหัวใจหยุดเต้น ในทางกลับกัน ถ้าเริ่ม CPR ทันทีหลังเกิดภาวะหัวใจหยุดเต้นจะเพิ่มโอกาสรอดชีวิต 2x - 3x
พบเจอคนหมดสติ ...ในสถานที่ปลอดภัย... ทำ CPR เมื่อไร ? 1 ปลุกไม่ตื่น 2 สังเกตพบการหายใจไม่ปกติหรือหยุดหายใจ (การคลำชีพจรทำเฉพาะในบุคลากรทางการแพทย์หรือคนที่ชำนาญ)
สถานการณ์จำลองเมื่อเจอคนหมดสติสถานการณ์จำลองเมื่อเจอคนหมดสติ
LET'S START CPR ทำงานเป็นทีม และเริ่ม CPR ให้เร็วที่สุด
STEP 1 STEP 2 STEP 3 STEP 4 STEP 5 STEP 6 CPR STEPs สังเกตการหยุดหายใจหรือหายใจเฮือก (check for no breathing or only grasping) ตรวจสอบความปลอดภัยรอบตัว (verify scene safety) ปลุกเรียกผู้ป่วย (check for the response) ตะโกนขอความช่วยเหลือ!! และให้ผู้ช่วยโทร 1669 (SHOUT for help and bystander calls 1669) เริ่มทำ CPR และทำตามคำแนะนำเจ้าหน้าที่ 1669 ผู้ช่วยรีบไปนำเครื่อง AED มาที่เกิดเหตุ CPR & ECC Guidelines 2015 ภาวะหัวใจหยุดเต้น
Electric hazard Chemical or toxic hazard ความปลอดภัยรอบตัว (scene safety)
ความปลอดภัยรอบตัว (scene safety) Traffic hazard
สถานการณ์จำลองเมื่อเจอคนหมดสติสถานการณ์จำลองเมื่อเจอคนหมดสติ
หายใจผิดปกติ หยุด/เฮือก ลักษณะเป็นอย่างไร ทำความคุ้นเคยจากคลิปวิดิโอข้างต้น
การกดหน้าอก (CHEST COMPRESSION) CHECKLIST จังหวะในการกดหัวใจ ความลึกในการกดหัวใจ ปล่อยหน้าอกขึ้นให้สุด ตำแหน่งและการวางมือ การจัดท่านั่ง
ยึดกระดูกคอให้มั่นคง เปิดทางเดินหายใจ เป่าปาก การช่วยหายใจ(BREATH ASSISTING) ใช้มือซ้ายหรือขวาประคองศีรษะ ‘One hand technique’ • บีบจมูกและแนบริมฝีปากให้สนิท • คงที่นาน 1 วินาที • สังเกตการขยายหน้าอก • ห้าม! เป่าแรงเกินไปหรือสั้นเกินไป ใช้เทคนิค ‘Head tilt-Chin lift’ FOR WELL-TRAINED RESCUER
30 : 2 COMPRESSION : BREATHING (ventilation) RATIO
เครื่องปล่อยไฟฟ้าแบบพกพาเครื่องปล่อยไฟฟ้าแบบพกพา • เพื่อกระตุ้นหัวใจให้กลับมาเต้นตามปกติด้วยแรงไฟฟ้า • มีเสียงให้คำแนะนำและปฏิบัติตามจากเครื่อง Automated External Defibrillator
วิเคราะห์คลื่นไฟฟ้าหัวใจขณะนั้นวิเคราะห์คลื่นไฟฟ้าหัวใจขณะนั้น กระตุ้นไฟฟ้า ว่าเป็นชนิดที่สามารถกระตุ้นได้หรือไม่ (shockable or non-shockable rhythm) เพื่อ restart หัวใจกลับมาเต้นตามปกติ VT pVF หน้าที่ของ AED
ใช้งานอย่างไร? • ให้ผู้ที่นำ AED มาเป็นผู้เปิดใช้งานและจัดการเครื่อง AEDขณะที่ผู้ทำ CPR ยังคงทำต่อไป • เปิดกล่อง AED และกดปุ่ม START/เริ่ม • ลอกแผ่นแปะหน้าอก (pad) และแปะบนอกผู้ป่วยตามรูปช้างกล่อง • ทำตามคำแนะนำจากเสียงระบบอัตโนมัติของเครื่อง โดยเครื่องจะมีคำสั่งให้หยุด CPR และกดปุ่มกระตุ้นไฟฟ้า (ห้ามแตะต้องผู้ป่วยเด็ดขาด) • หลังการกระตุ้นไฟฟ้าและมีคำสั่งปลอดภัยจากเครื่อง ให้เริ่มการ CPR ต่อทันที
จัดท่าพักฟื้นให้กับผู้ป่วยจัดท่าพักฟื้นให้กับผู้ป่วย (RECOVERY POSITION) มีการตอบสนองจากผู้ป่วย สังเกตการหายใจ สิ้นสุดขั้นตอน CPR เมื่อใด ? พลิกตะแคงข้างโดยประคองศีรษะไว้ รอคำแนะนำจาก 1669 (หรือ คลำได้ชีพจร) หยุด CPR แต่ยังคงแปะแผ่น AED ไว้ ถ้าหายใจไม่ปกติ หรือไม่สม่ำเสมอ ช่วยหายใจทุก 5 วินาที หากหายใจปกติไปสู่ขั้นต่อไป
หากพบเห็นเด็กหมดสติ PEDIATRICS CPR & LIFE SUPPORT KMITL 2019 • Improving Healthcare
ขาดอากาศหายใจ อุบติเหตุ สาเหตุของหัวใจหยุดเต้น ที่พบบ่อย ในเด็กทารก (< 1 ปี) โดยเฉพาะอุบัติเหตุจราจร ในเด็กวัยเรียนและก่อนวัยเรียน จมน้ำ โครงสร้างผิดปกติโดยกำเนิด ไม่ทราบสาเหตุ (SID)
การวางมือ 30:2 และ 15:2 การช่วยหายใจ ความลึกในการกดหน้าอก ในเด็กทารก ใช้สองนิ้วกด (two finger technique) ในเด็กวัยเรียนใช้หนึ่งมือ (one-handed technique) หรือสองมือกดหน้าอกก็ได้ตราบที่กดได้ความลึกที่ถูกต้อง 1 ใน 3 ของความหนาหน้าอก 4 cm (1.5-inch) ในเด็กทารก 5 cm (2-inch) ในเด็กวัยเรียน ความถี่ในการกดเหมือนผู้ใหญ่ 100-120 bpm ความแตกต่างในรายเอียดการทำ CPR เปิดทางเดินหายใจคล้ายผู้ใหญ่ ในเด็กทารก ใช้ปากผู้ช่วยประกบครอบปากและจมูกผู้ป่วย หากประกบไม่สนิทให้ใช้วิธีปกติ เมื่อผู้ช่วยนำ AED มาให้เริ่มใช้ AED ทันที และเปลี่ยนการกดหน้าอกเป็น 15 ครั้งต่อการหายใจ 2 ครั้ง โดยให้ผู้ช่วยทั้ง 2 สลับกันทำ
2 fingers technique 1-hand technique ในเด็กทารก (< 1 ปี) ในเด็กวัยเรียนและก่อนวัยเรียน
mouth-to-mouth and nose Airway opening • ในเด็กทารก (< 1 ปี) ในเด็กทุกช่วงวัย
เมื่อพบเจอผู้ป่วย มีอาการสำลัก (choking) หรือ มีภาวะหายใจไม่ออกเฉียบพลัน KMITL 2019 • Improving Healthcare
อาการสำลัก (choking) คือ อาการหายใจไม่ออกโดยสิ้นเชิง หรือหายใจติดขัดรุนแรง ที่เกิดจากสิ่งแปลกปลอมใดๆอุดกั้นทางเดินหายใจ
ไม่มีการหายใจใดๆ พูดไม่ออก หรือไอไม่ออก เริ่มมีภาวะตัวเขียว ขั้นตอนการปฏิบัติ เริ่มทำ Heimlich maneuver ในผู้ใหญ่ ทำback blow - chest compression ในเด็กทารก หายใจลำบาก หรือหายใจเสียงวี๊ด เปล่งเสียงพูดลำบาก ไอแรงๆเพื่อขับสิ่งแปลกปลอมออก ตรวจสอบสิ่งแปลกปลอมในช่องปาก
ทำโดยผู้ช่วย Adults • กระแทกหลัง 5 ครั้ง (5 back blows) • (ยืนข้าง-มือประคอง-โน้มตัว-กระแทกฝ่ามือ) • กดลิ้นปี่ 5 ครั้ง (5 abdominal thrust) • (ยืนหลัง-กำมือ-กดท้องแรงและเร็ว) Heimlich maneuver SELF-MANEUVER, ทำด้วยตนเอง • กำมือแน่นวางเหนือลิ้นปี่ในท่ายืน • ใช้อีกมือจับมือที่กำและโน้มตัวลงเข้าหาวัสดุที่แข็งและไม่เคลื่อนไปมา เช่น โต๊ะ • กระแทกทั้งสองมือในเข้าหาตัวและขึ้นด้านบน
เมื่อพบเห็นการสำลักด้วยตาเมื่อพบเห็นการสำลักด้วยตา Infants • อุ้มเด็กด้วยแขนข้างเดียวดังรูป ระวังนิ้วมืออุดทางเดินหายใจ • กระแทกหลัง 5 ครั้ง (5 back blows) • (ใช้ฝ่ามือตบลงกึ่งกลางสะบัก) • กดลิ้นปี่ 5 ครั้ง (5 abdominal thrust) • (ใช้สองนิ้วกดหน้าอกคล้าย CPR) • ทำจนกระทั่งเห็นสิ่งแปลกปลอมหลุดออกมาหรืออยู่ในปาก • หรือเด็กหมดสติไป -> เริ่ม CPR Back blow - Chest compression
HTTPS://WWW.VERYWELLHEALTH.COM/BRAIN-ACTIVITY-AFTER-CARDIAC-ARREST-1298429HTTPS://WWW.VERYWELLHEALTH.COM/BRAIN-ACTIVITY-AFTER-CARDIAC-ARREST-1298429 HTTP://WWW.SJA.ORG.UK/SJA/FIRST-AID-ADVICE/BREATHING/CHOKING-ADULTS.ASPX REFERENCE HTTPS://WWW.CPRCERTIFICATIONONLINEHQ.COM/CPR-FACTS-STATS/ HTTPS://WWW.MAYOCLINIC.ORG/FIRST-AID/FIRST-AID-CHOKING/BASICS/ART-20056637
MAILING ADDRESS Contact Us Somdejphratep 1 building, KMITL, Chalong Krung Street, Latkrabang, Bangkok Medical center PHONE NUMBER 02 329 8143, Fax 02 329 8143 WEBSITE http://medicalcenter.kmitl.ac.th KMITL 2019 • Improving Healthcare