900 likes | 1.15k Views
Classification of nutrients. Feed and Feeding (04804461). โดย อาจารย์วัชรวิทย์ มีหนองใหญ่. classification of nutrients. Substances that provide energy carbohydrates proteins Fats Substances that support metabolism vitamins Minerals Water. Substances that provide energy.
E N D
Classification of nutrients Feed and Feeding (04804461) โดย อาจารย์วัชรวิทย์ มีหนองใหญ่
classification of nutrients • Substances that provide energy • carbohydrates • proteins • Fats • Substances that support metabolism • vitamins • Minerals • Water
Substances that provide energy • Carbohydrates = 4 Kcal/g • Proteins = 4 Kcal/g • Fats = 9 Kcal/g
การจัดจำแนกคาร์โบไฮเดรตทางโภชนศาสตร์สัตว์การจัดจำแนกคาร์โบไฮเดรตทางโภชนศาสตร์สัตว์ • คาร์โบไฮเดรตประเภทที่เป็นโครงสร้าง (Structural carbohydrate) ได้แก่ cellulose และ hemicellulos • คาร์โบไฮเดรตประเภทที่ไม่เป็นโครงสร้าง (Non structural carbohydrate) ได้แก่ แป้งและน้ำตาล
1. Carbohydrates • monosaccharide • oligosaccharides • Polysaccharides • Homopolysaccharides • Heterpolysaccharides
1.1 Monosaccharide • glucose • galactose • fructose
Glucose • พบมากในผักและผลไม้สุก และเป็นแหล่งพลังงานเพียงชนิดเดียวของสมอง • เป็นแหล่งพลังงานของเซลล์ในขบวนการเมทาบอลิซึม • คนปกติจะมีกลูโคสประมาณ 100 mg ในเลือด 100 cm3
Galactose • เป็นน้ำตาลที่พบในผลิตภัณฑ์นม ไม่เกิดอิสระในธรรมชาติ . • ในร่างกายได้จากการย่อยแล็กโทส • กาแล็กโทสในน้ำนมมีความสำคัญ โดยรวมกับไขมันเป็นส่วนประกอบของเซลล์ประสาท • กาแล็กโทสถูกเปลี่ยนไปเป็นกลูโคสที่ตับ และสร้างได้ที่ต่อมน้ำนมโดยเปลี่ยนจากกลูโคส.
Fructose • ฟรุกโทส เป็นน้ำตาลตามธรรมชาติที่มีความหวานมากที่สุด • พบมากในน้ำผึ้ง ผลไม้ น้ำตาลทราย และกากน้ำตาล • ในธรรมชาติมักปนอยู่กับกลูโคส • ในร่างกายได้จากการย่อยน้ำตาลทราย
1.2 Oligosaccharides • เป็นน้ำตาลที่มีองค์ประกอบของน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยวจับกัน2-10 หน่วย ด้วยพันธะ glycosydic bond • Disaccharides เป็นชนิดที่พบมากที่สุด
Disaccharides • maltose • lactose • sucrose
Maltose • C12H22O11 • ได้จาก กลูโคส+กลูโคส ด้วยพันธะ α1,4 –glycosydic bond • พบในข้าวบาร์เลย์หรือข้าวมอลท์ ที่กำลังงอก • ใช้ทำเบียร์ ทำเครื่องดื่ม และอาหารเด็ก
Lactose • ผลิตจากต่อมน้ำนมของสัตว์ โดยใช้ กลูโคส+กาแล็กโทส ด้วยพันธะ C1-4 glycosidic bond. • น้ำตาลแล็กโทสถูกย่อยได้ด้วยเอนไซม์ lactase (β1-4 disaccharidase) ซึ่งหลั่งจากวิลไลของผนังลำไส้เล็ก • น้ำตาลแล็กโทสใช้ทำขนมปัง อาหารเด็กอ่อน
Sucrose • ได้จาก กลูโคส+ฟรุกโทส ด้วยพันธะ α1, β2 –glycosydic bond • รู้จักกันดีคือน้ำตาลทราย
Fructo-oligosaccharide • มีคุณสมบัติเป็นสารเส้นใยละลายน้ำได้ ร่างกายไม่สามารถย่อยและดูดซึมได้ และทำหน้าที่เป็น Prebiotic • Jerusalem Artichoke เป็นพืชที่มี fructo-oligosaccharide สูงมาก • มีการทดลองใช้ฟรุกโต-โอลิโกแซคคาไรด์ ผสมในอาหารสุกรเพื่อลดกลิ่นเหม็นและแอมโมเนียของมูลสุกร
Inulin • เป็นพอลิเมอร์ของน้ำตาลฟรุกโทสที่เชื่อมต่อกันเป็นเส้นตรงที่ตำแหน่ง β - 2, 1 linked polyfructan • เป็นคาร์โบไฮเดรตสะสมในหัวและรากพืชหลายชนิดเช่น Jerusalem artichoke,
Mannan-oligosaccharides • มีการใช้เป็น Prebiotic เพื่อช่วยในการทำงานของระบบทางเดินอาหาร • ผลิตจากผนังเซลล์ของยีสต์ (Saccharomyces cerevisiae)
Galacto-oligosaccharides • เกิดขึ้นโดยธรรมชาติ • ประกอบด้วยโมเลกุลของน้ำตาล galactose • พบได้ในน้ำนมแม่ • จัดเป็น Prebiotic
1.3.1 Homopolysaccharides • Starch • Cellulose • Chitin • Glycogen
Starches • เป็นคาร์โบไฮเดรตที่พืชสังเคราะห์และเก็บสะสมไว้เป็นพลังงานสำรอง เมื่อสลายให้ glucose อย่างเดียว • พบมากในธัญพืช มันฝรั่ง และพืชตระกูลถั่ว • มีส่วนประกอบที่สำคัญ 2 ส่วน คือ amylose และamylopectin
Amylose • มีปริมาณ 15-20 % • ประกอบด้วยกลูโคส ตั้งแต่ 100-1000 โมเลกุล ต่อกันด้วย -1, 4 glycosidic bond • ลักษณะโครงสร้าง ขดเป็นเกลียวยาว ไม่แตกกิ่ง • ถูกย่อยด้วยเอนไซม์ -amylase
Amylopectin • มีประมาณ 80-85% • ประกอบด้วยกลูโคสตั้งแต่ 300-6000 โมเลกุลมาต่อกันด้วย -1, 4 linkages และแตกแขนงด้วย -1, 6 linkages • พบการแตกแขนงทุก ๆ 25-30 glucose residues
Glycogen • เป็นแหล่งพลังงานสำรองในสัตว์ พบมากในตับและกล้ามเนื้อ • มีลักษณะโครงสร้างเหมือน amylopectin แต่แขนงที่แตกออกมามากกว่า
Cellulose • เป็นสารประกอบที่สำคัญของผนังเซลล์พืช • เป็นคาร์โบไฮเดรตที่มีมากที่สุดในโลก • เป็น glucan ที่มี glucose มาเชื่อมต่อกันด้วย -1, 4 linkage เป็นสายยาวและตรงไม่แตกกิ่ง • ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ไม่สามารถใช้เซลลูโลสเป็นแหล่งของพลังงาน เพราะไม่มีเอนไซม์ cellulase
Chitin • เป็นส่วนประกอบของโครงสร้างเช่นเดียวกับเซลลูโลส • พบในเปลือกของสัตว์พวกหอย แมลงและผนังเซลล์ของรา • ประกอบด้วยอนุพันธ์ของน้ำตาลกลูโคส คือ N-acetylglucosamine ต่อกันด้วย -1, 4 linkage
1.3.2 Heteropolysaccharides • Glycosaminoglycan ประกอบด้วย โมโนแซคคาไรด์หลายๆ ชนิดมาต่อกัน และมักจะพบน้ำตาลอะมิโนรวมอยู่ด้วย • Glycoproteinเป็นสารประกอบระหว่าง polysaccharide และโปรตีน • Glycolipidเป็นสารประกอบระหว่าง polysaccharide และ lipid พบเป็นส่วนประกอบของ cell membrane และผนังเซลล์ของแบคทีเรีย
การวิเคราะห์คาร์โบไฮเดรตด้วยวิธี proximate analysis • Crude fiber (CF) หมายถึง คาร์โบไฮเดรตประเภทโครงสร้าง รวมทั้งลิกนินซึ่งไม่ใช่คาร์โบไฮเดรต แต่มักอยู่รวมกับคาร์โบไฮเดรตประเภทนี้ในผนังเซลล์พืช • Nitrogen free extract ( NFE) หมายถึงคาร์โบไฮเดรตที่ย่อยได้ง่าย คือแป้งและน้ำตาล
การวิเคราะห์คาร์โบไฮเดรตด้วยวิธี Detergent method • Neutral detergent fiber (NDF) หมายถึงส่วนของผนังเซลล์ทั้งหมด ซึ่งประกอบด้วยเซลลูโลส เฮมิเซลลูโลส และลิกนิน • Acid detergent fiber (ADF) หมายถึงส่วนที่มีลิกนินและเซลลูโลสเป็นองค์ประกอบหลัก • Acid detergent lignin (ADL) หมายถึงส่วนที่มีลิกนินเป็นหลัก ซึ่งเอนไซม์จากสัตว์และจุลินทรีย์ไม่สามารถย่อยได้
2. Protein • โปรตีน เป็นสารอินทรีย์ซึ่งมีโครงสร้างซับซ้อนและมีหน่วยย่อยคือ กรดอะมิโน เรียงต่อกันด้วยพันธะเปปไทด์ • ประกอบด้วยอะตอมของธาตุ C H O N นอกจากนี้บางชนิด อาจประกอบด้วยอะตอมของธาตุอื่นๆ อีก เช่น S, P เป็นต้น • โปรตีนเกิดจากกรดอะมิโนตั้งแต่ 100 โมเลกุลขึ้นไป เรียกว่า พอลิเพปไทด์
ชนิดของโปรตีน 1. โปรตีนเชิงเดี่ยว (simple protein) • Fibrous protein = Collagen, Elastin, Keratin • Globular protein = Globulin, Albumin, myoglobin, casein 2.โปรตีนเชิงซ้อน (conjugated protein) • Nucleoprotein (Protein+DNA) • Lipoprotein (Protein+Fat) • Glycoprotein(Protein+CHO)
หน้าที่ของโปรตีน • ทำหน้าที่เป็นเอนไซม์เพื่อเร่งปฏิกิริยาในสิ่งมีชีวิต • ทำหน้าที่เป็น peptide hormone • ทำหน้าที่เป็นสารพิษป้องกันตัว • ทำหน้าที่เป็นโครงสร้างส่วนต่างๆในร่างกาย • ทำหน้าที่เป็นภูมิป้องกันสิ่งแปลกปลอมที่จะเข้ามาในร่างกาย • ฯลฯ
โปรตีนในอาหาร % ไนโตรเจน ตัวคูณที่ถูกต้อง ถั่วลิสง 18.32 5.46 ถั่วเหลือง 17.51 5.30 ข้าว 16.80 5.95 ข้าวโพด 16.00 6.25 ไข่ 16.00 6.25 เนื้อ 16.00 6.25 นม 15.68 6.38 การประเมินคุณภาพโปรตีนเบื้องต้น • % Crude Protein (CP) = % ไนโตรเจน x 6.25(100/N )
Biological value (BV) • เป็นค่าที่บ่งว่าไนโตรเจนที่ถูกดูดซึมเข้าไปจะถูกสะสมไว้ในร่างกายร้อยละเท่าใดเป็นการประเมินคุณภาพโปรตีนโดยพิจารณาถึงไนโตรเจนที่ย่อยและดูดซึมไปใช้ประโยชน์ได้ในร่างกาย • BV = (ไนโตรเจนที่ถูกสะสมไว้/ไนโตรเจนที่ถูกดูดซึมได้) x 100 หรือ = N ที่กิน– (N ในอุจจาระ + N ในปัสสาวะ) x 100 N ที่กิน– N ในอุจจาระ
การประเมินคุณภาพโปรตีนโดยการวิเคราะห์เคมีการประเมินคุณภาพโปรตีนโดยการวิเคราะห์เคมี • Chemical scoreเป็นวิธีการประเมินคุณภาพโปรตีนโดยทำการเปรียบเทียบปริมาณหรือความเข้มข้นของกรดอะมิโนที่จำเป็นในวัตถุดิบอาหารสัตว์ กับโปรตีนมาตรฐานโดยใช้กรดอะมิโนจากไข่เป็นโปรตีนมาตรฐาน โดยกรดอะมิโนที่มีปริมาณร้อยละต่ำสุดจะเป็นค่าเคมีคอล สกอร์ของโปรตีนนั้น • Chemical score= มก.ของกรดอะมิโนในอาหารทดสอบ 1 กรัม x 100 มก.ของกรดอะมิโนในโปรตีนมาตรฐาน
First limiting amino acid • the essential amino acid found in the smallest quantity in the feedstuff
histidine isoleucine leucine lysine methionine phenylalanine threonine tryptophan valine Essential amino acid
3.ไขมัน • คือ สารอินทรีย์ที่มีลักษณะเป็นไข ไม่ละลายน้ำแต่ละลายได้ในตัวทำละลายอินทรีย์ ในธรรมชาติส่วนใหญ่จะเป็นพวก triacylglycerals (TAG) • ชนิดของไขมันได้แก่ TAG, waxes, phospholipids, sphingolipids,, sterols. • เมื่อสัตว์กินไขมัน 1 กรัมจะได้รับพลังงาน คือ 9 kcal ซึ่งมากกว่าการได้รับจากการกินคาร์โบไฮเดรท 2.25 เท่า
Fatty acid • กรดไขมันไม่อิ่มตัว (unsaturated fatty acid) คือ กรดไขมันที่มีพันธะคู่อยู่ในโมเลกุล มีจุดหลอมเหลวต่ำ • กรดไขมันอิ่มตัว (saturated fatty acid) คือ กรดไขมันที่ไม่มีพันธะคู่ในโมเลกุล มีจุดหลอมเหลวสูง
Saturated fatty acids • Butyric : C4:0 • Caproic : C6:0 • Caprylic : C8:0 • Capric : C10:0 • Lauric : C12:0 • Myristic : C14:0 • Palmitic : C16:0 • Stearic : C18:0 • Arachidic : C20:0
Unsaturated fatty acids • Myristoleic acid: C14:1 • Palmitoleic acid: C16:1 • Oleic acid: C18:1 • Linoleic acid: C18:2 • linolenic acid: C18:3 • Arachidonic acid C20:4
Essential fatty acids • เป็นกรดไขมันที่ร่างกายขาดไม่ได้ และร่างกายไม่สามารถสังเคราะห์ได้ จำเป็นต้องได้จากอาหารที่รับประทานเข้าไป มีอยู่ 3 ตัวคือ • linoleic acid • linolenic acid • Arachidonic acid
Substances that support metabolism • Minerals • vitamins • Water
Dietary mineral • บทบาททั่วไปของแร่ธาตุ • การรักษาสภาวะความสมดุลของอิออน • การรักษาความดันออสโมซิส • 3. การรักษาความสมดุลกรด-ด่าง
Macro elements • Calcium • Magnesium • Phosphorus • Potassium • Sodium • Sulfur • Chlorine
Calcium • เป็นส่วนประกอบที่สำคัญของกระดูก • ช่วยในการยืด-หดตัวของกล้ามเนื้อ • หากขาด = Osteoporosis, Milk fever • แหล่งแร่ธาตุ เช่น เปลือกหอยป่น กระดูกป่น ไดแคลเซียมฟอสเฟต • Calcitonin, Paratyroid hormone
Phosphorus • ร่วมกับ วิตามิน D และ calcium ในการสร้างกระดูกและฟัน, เป็นส่วนประกอบของ กรดนิวคลีอิก และ ฟอสโฟไลปิด • แหล่ง ได้แก่ ไดแคลเซียมฟอสเฟต • Ca:P ratio ควรอยู่ที่ 1:1 หรือ 2:1 • อาการขาดคือ ขาเหยียดเกร็งเวลาเดิน อาการอื่นคล้ายกับขาดแคลเซียม
Magnesium • ร่วมกับ calcium ในการสร้างกระดูกและฟัน • มักพบในโคที่ขาดหญ้าหรือกินหญ้าที่ใส่ปุ๋ย N หรือ K มากเกินไป • หากขาดจะเกิดโรค grass tetany
Potassium • หน้าที่ มีส่วนสำคัญในการทำงานของเส้นประสาท กล้ามเนื้อ และควบคุมการเต้นของหัวใจ • ส่วนใหญ่ไม่พบอาการขาด • ขับออกมากับน้ำลายได้เพื่อปรับสมดุลของไออน