390 likes | 596 Views
สถานการณ์การติดเชื้อเอชไอวี ในประเทศไทย. 28 กรกฎาคม 2554. อัตราป่วยและอัตราตายของผู้ป่วยเอดส์ประเทศไทยที่รายงานในระบบเฝ้าระวัง สำนักระบาดวิทยา, 2527-2553. รายงานผู้ป่วยเอดส์สูง สะท้อนการติดเชื้อสูงประมาณ ปี 33-35. Source: รง. 506/1 สำนักระบาดวิทยา.
E N D
สถานการณ์การติดเชื้อเอชไอวีในประเทศไทยสถานการณ์การติดเชื้อเอชไอวีในประเทศไทย 28 กรกฎาคม 2554
อัตราป่วยและอัตราตายของผู้ป่วยเอดส์ประเทศไทยที่รายงานในระบบเฝ้าระวังสำนักระบาดวิทยา, 2527-2553 รายงานผู้ป่วยเอดส์สูงสะท้อนการติดเชื้อสูงประมาณ ปี 33-35 Source: รง.506/1 สำนักระบาดวิทยา
คาดประมาณการติดเชื้อเอชไอวี 2554ประเทศไทย เฉลี่ยวันละ 27 คน Source: Asian Epidemic Model คาดประมาณไว้เมื่อปี 2005
วิธีการถ่ายทอดเชื้อเอชไอวี ปี 2554 –ภาพการระบาดที่เปลี่ยนไปจากอดีต สามี-ภรรยา สามี-ภรรยา MSM MSM Source: AEM
ค่าเฉลี่ยความชุกการติดเชื้อเอชไอวีในหญิงตั้งครรภ์จำแนกตามกลุ่มอายุค่าเฉลี่ยความชุกการติดเชื้อเอชไอวีในหญิงตั้งครรภ์จำแนกตามกลุ่มอายุ Source: HIV sero-surveillance, สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค
Prevalence of HIV-1 infection among RTA conscripts 1989 - 2010 Source: AFRIMS / AIP
ความชุกการติดเชื้อเอชไอวีในกลุ่มทหารกองประจำการช่วงหลังเริ่มมีแนวโน้มคงที่ความชุกการติดเชื้อเอชไอวีในกลุ่มทหารกองประจำการช่วงหลังเริ่มมีแนวโน้มคงที่ ที่มา: สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์การแพทย์ทหารบก และสถาบันพยาธิวิทยา กรมแพทย์ทหารบก สำนักระบาดวิทยา และ TUC
ร้อยละการติดเชื้อเอชไอวีในชายที่มาตรวจกามโรคพนักงานบริการตรง และแฝง Source: HIV sero-surveillance, สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค
ความชุกการติดเชื้อเอชไอวีในกลุ่มผู้ใช้ยาเสพติดด้วยวิธีฉีดความชุกการติดเชื้อเอชไอวีในกลุ่มผู้ใช้ยาเสพติดด้วยวิธีฉีด
ความชุกของการติดเชื้อเอชไอวีในกลุ่มผู้บริจาคโลหิตมีแนวโน้มเท่าเดิมความชุกของการติดเชื้อเอชไอวีในกลุ่มผู้บริจาคโลหิตมีแนวโน้มเท่าเดิม
สัดส่วนการติดเชื้อโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในกลุ่มเยาวชน ไม่ลดลง สอดคล้องกับพฤติกรรมเสี่ยงที่สูงขึ้น
การเฝ้าระวังพฤติกรรมเสี่ยงการเฝ้าระวังพฤติกรรมเสี่ยง • แนวโน้มการมีเพศสัมพันธ์ในกลุ่มอายุน้อยเพิ่มมากขึ้น • การมีเพศสัมพันธ์กับชายด้วยกันเพิ่มขึ้นเล็กน้อย • การใช้ถุงยางอนามัย ในกลุ่มอายุน้อย ใช้น้อยกว่า
แนวโน้มการมีเพศสัมพันธ์ในประชากรกลุ่มอายุน้อยเพิ่มมากขึ้นแนวโน้มการมีเพศสัมพันธ์ในประชากรกลุ่มอายุน้อยเพิ่มมากขึ้น %
การมีเพศสัมพันธ์กับพนักงานบริการหญิงของกลุ่มประชากรต่าง ๆในรอบปี %
ร้อยละการมีเพศสัมพันธ์กับชายด้วยกันในรอบปีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเล็กน้อยในประชากรชายหลายกลุ่มร้อยละการมีเพศสัมพันธ์กับชายด้วยกันในรอบปีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเล็กน้อยในประชากรชายหลายกลุ่ม %
History of same sex behavior (%)2005 - 2010 2005 – 2009: among sampled men 2010: among all conscripts
การใช้ถุงยางอนามัยกับพนักงานบริการหญิงในเพศสัมพันธ์ครั้งล่าสุด ของกลุ่มประชากรต่างๆ %
การใช้ถุงยางอนามัยกับหญิงอื่นในเพศสัมพันธ์ครั้งล่าสุด ในกลุ่มประชากรต่างๆ %
ร้อยละของแม่อายุน้อยกว่า 20 ปี เพิ่มสูงขึ้น Source: Lertiendumrong et al (2010) Economic crisis and health, IHPP, Thailand Data source: Birth Registry, MoI 1996-2009
การเฝ้าระวังการติดเชื้อเอชไอวีในกลุ่มประชากรเฉพาะการเฝ้าระวังการติดเชื้อเอชไอวีในกลุ่มประชากรเฉพาะ
ความชุกการติดเชื้อ HIV ในกลุ่มชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชาย, (IBBS, 2546-53) หมายเหตุ – ***ข้อมูลเฉพาะกลุ่ม MSM ที่ไม่ใช่ TG & Male SW
HIV prevalence (%) among MSM’s subgroups, by provinces in 2010 IBBS HIV surveillance % Median (min-max) = 8.0 (1.8-31.1) % Median (min-max) = 16.7 (6.0-21.2) % Median (min-max) = 9.5 (5.5-16.0) % N/A N/A N/A N/A N/A N/A Note – All N/A’s due to N=0, except MSW in Khon Kaen excluded due to small N (=11).
% การติดเชื้อเอชไอวีใน GMSM* แยกกลุ่มอายุพื้นที่กรุงเทพฯ, 2546-53 *GMSM คือ MSM ที่ไม่ใช่ Male Sex Worker และ Transgender
% การติดเชื้อเอชไอวีใน MSM* แยกกลุ่มอายุพื้นที่เชียงใหม่, 2548-53 *MSM ไม่รวม Male Sex Worker และ Transgender
% การติดเชื้อเอชไอวีใน MSM* แยกกลุ่มอายุพื้นที่ภูเก็ต, 2548-53 *MSM ไม่รวม Male Sex Worker และ Transgender
% การติดเชื้อเอชไอวีใน MSM* แยกกลุ่มอายุพื้นที่อุดรธานี, 2548-53 *MSM ไม่รวม Male Sex Worker และ Transgender
% การติดเชื้อเอชไอวีใน MSM* แยกกลุ่มอายุพื้นที่พัทลุง, 2548-53 *MSM ไม่รวม Male Sex Worker และ Transgender
% การติดเชื้อเอชไอวีใน GMSM* แยกกลุ่มอายุ2553 *GMSM ไม่รวม Male Sex Worker และ Transgender
ร้อยละ MSM, MSW, TG ที่ใช้ถุงยางอนามัยทุกครั้งที่มีเพศสัมพันธ์(IBBS กทม. เชียงใหม่ และภูเก็ต)
ร้อยละ MSM, MSW, TG ที่เคยตรวจ HIV(IBBS กทม. เชียงใหม่ และภูเก็ต)
การใช้อุปกรณ์ใหม่ในการใช้สารเสพติดชนิดฉีดครั้งล่าสุด ระบบเฝ้าระวังเอชไอวีแบบบูรณาการ IBBS, 2553 ผลเบื้องต้น
ความชุกของการติดเชื้อเอชไอวีและหนองในเทียมในแรงงานข้ามชาติ จำแนกรายจังหวัด ในระบบเฝ้าระวังเอชไอวีแบบบูรณาการ IBBS, 2553 ผลเบื้องต้น %
ความชุกการติดเชื้อ HIV, หนองในเทียม, และหนองใน ของหญิงพนักงานบริการตรงและแฝง ระบบเฝ้าระวังเอชไอวีแบบบูรณาการ IBBS, 2553
การเฝ้าระวังอื่น ๆ • การดื้อยาต้านไวรัสในผู้ติดเชื้อรายใหม่กลุ่มพนักงานบริการ ยังพบอยู่ในระดับต่ำ <5% • การเฝ้าระวังการติดเชื้อรายใหม่ด้วยการตรวจเลือด มีการปรับขยายพื้นที่และพัฒนาแนวทาง
อัตราการติดเชื้อรายใหม่ในกลุ่มชายไทยคัดเลือกเข้าเป็นทหารกองประจำการอัตราการติดเชื้อรายใหม่ในกลุ่มชายไทยคัดเลือกเข้าเป็นทหารกองประจำการ การเฝ้าระวังอุบัติการณ์ติดเชื้อรายใหม่ BED-CEIA ชายไทยคัดเลือกเป็นทหารกองประจำการ HIV incidence (% per year) 0.26(0.20-0.32) 0.25(0.17-0.33) 0.19(0.14-0.24) 0.20(0.15-0.26) 0.14 (0.09-0.20) 2548 2549 2550 2551 2552 HIVprevalence 0.5% 0.4% 0.5% 0.5% 0.5% ที่มา: สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์การแพทย์ทหารบก และสถาบันพยาธิวิทยา กรมแพทย์ทหารบก สำนักระบาดวิทยา และ TUC
สรุป 1 • สถานการณ์ความชุกการติดเชื้อเอชไอวีประมาณห้าปีหลัง • มีแนวโน้มคงที่ในกลุ่มทหารเกณฑ์ โลหิตบริจาค • มีแนวโน้มลดลงเล็กน้อยในหญิงตั้งครรภ์ • กลุ่มประชากรเฉพาะที่มีความชุกการติดเชื้อเอชไอวีสูงและไม่ลดลงคือ ผู้ใช้ยาเสพติดชนิดฉีด และชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชาย • ความชุกการติดเชื้อเอชไอวีในพนักงานบริการตรงและแฝง ใกล้เคียงกัน
สรุป 2 • แนวโน้มพฤติกรรมการมีเพศสัมพันธ์ในกลุ่มประชากรอายุน้อย เพิ่มสูงขึ้น และสัดส่วนการติดเชื้อโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในวัยรุ่นไม่ลดลง • การเฝ้าระวังการติดเชื้อรายใหม่ด้วยการตรวจเลือด ในกลุ่มทหารเกณฑ์แนวโน้มไม่ลดลง • ประชากรเฉพาะที่พบการติดเชื้อเอชไอวีสูง เช่น MSM พบเหมือนกับในหลายประเทศ ต้องการมาตรการป้องกันที่เข้าถึงประชากรกลุ่มนี้
ขอขอบคุณ • เครือข่ายเขต จังหวัด พื้นที่เฝ้าระวังทั่วประเทศ และเครือข่ายองค์กรพัฒนาเอกชน • TUC, Global Fund, UNAIDS, etc. • นพ.ภาสกร อัครเสวี ผู้อำนวยการสำนักระบาดวิทยา • ประชากรในการเฝ้าระวัง