1 / 28

ยุทธศาสตร์การค้าของไทย ปี 2553 - 2558

ยุทธศาสตร์การค้าของไทย ปี 2553 - 2558. Outline. 1. วิสัยทัศน์กระทรวงพาณิชย์. 2. ทิศทางเชิงโครงสร้างในภาพรวม. องค์ประกอบเศรษฐกิจ. 3. 10 ยุทธศาสตร์หลักสู่ความมั่นคงและยั่งยืนทางการค้า. 4. ความท้าทายและโอกาสของประเทศไทย.

chaela
Download Presentation

ยุทธศาสตร์การค้าของไทย ปี 2553 - 2558

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ยุทธศาสตร์การค้าของไทยปี 2553 - 2558

  2. Outline 1 วิสัยทัศน์กระทรวงพาณิชย์ 2 ทิศทางเชิงโครงสร้างในภาพรวม องค์ประกอบเศรษฐกิจ 3 10 ยุทธศาสตร์หลักสู่ความมั่นคงและยั่งยืนทางการค้า 4

  3. ความท้าทายและโอกาสของประเทศไทย • ประชากรสูงอายุของโลกเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว และการก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ • ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี • แนวโน้มปัญหาด้านพลังงาน • ปัญหาภัยคุกคามจากภาวะโลกร้อน • การรวมตัวทางเศรษฐกิจในภูมิภาค • การเคลื่อนตัวอย่างเสรีของบุคลากรที่มีศักยภาพและแรงงานที่มีทักษะระหว่างประชาคมอาเซียน • การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวและภาคบริการของประเทศที่อยู่บนพื้นฐานเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ • การพัฒนาและปรับปรุงระบบการขับเคลื่อนของภาครัฐและการบูรณาการการทำงานร่วมกับภาคเอกชนและภาคประชาสังคมเพื่อร่วมสร้างมิติใหม่ในการทำงานร่วมกัน • การสร้างความอยู่ดีกินดีให้กับประชาชนโดยการกระจายโอกาสและรายได้ในทุกภูมิภาคทั่วประเทศอย่างเท่าเทียม

  4. จุดอ่อนและจุดแข็งของระบบเศรษฐกิจจุดอ่อนและจุดแข็งของระบบเศรษฐกิจ จุดอ่อน จุดแข็ง • ไทยมีความได้เปรียบทางภูมิศาสตร์ในการเป็นศูนย์กลางของอาเซียน และภูมิภาค/อนุภูมิภาค • เป็นจุดเชื่อมต่อ Economic Corridors ของภูมิภาค • เป็นหนึ่งในประเทศผู้นำในอาเซียนในหลายด้าน • ศักยภาพการค้าชายแดนสูง • มีระบบการค้าเสรี • มี Sector สินค้าศักยภาพที่หลากหลาย และยังมีสินค้าที่เป็นอันดับ 1 ของโลกหลายรายการ • เป็นแหล่งวัตถุดิบ และสามารถผลิตอาหารป้อนตลาดเดิม ตลาดใหม่ โลกมุสลิมและตลาดเกษตรอินทรีย์ • เป็นแหล่งท่องเที่ยว และมีศักยภาพในธุรกิจบริการที่หลากหลายเป็นที่ยอมรับทั่วโลก • มีเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรม • มีความร่วมมือทางการค้าเพื่อใช้พัฒนาธุรกิจภายใน ให้ขยายตลาดต่างประเทศได้ทั่วโลก • ต้องพึ่งพาพลังงานจากต่างประเทศ • ขาดบุคลากรที่จะรองรับโอกาสทางธุรกิจศักยภาพ • การเมืองขาดเสถียรภาพ • เศรษฐกิจไทยขยายตัวในอัตราที่ลดลงเมื่อเทียบกับประเทศต่างๆ ในภูมิภาค • สินค้าใช้แรงงานเข้มข้นไทยเป็นรองประเทศเกิดใหม่ และเพื่อนบ้าน • สินค้าเทคโนโลยี ไทยยังดึงดูดนักลงทุนต่างชาติได้น้อยกว่า ASEAN อื่น เช่น มาเลเซีย สิงคโปร์ • ต้นทุน Logistics ไทยยังสูงกว่าอีกหลายประเทศ • (16 - 19 % ของ GDP) • ขาดการบูรณาการยุทธศาสตร์ในภาพรวม • ระบบเศรษฐกิจมีความอ่อนไหวต่อภาวะวิกฤตในระดับภูมิภาคและระดับโลกค่อนข้างสูงโดยเฉพาะในภาคการเงินและภาคการส่งออก

  5. MOC’s Determination วิสัยทัศน์ (Vision) “เศรษฐกิจการค้าของประเทศมีความก้าวหน้าอย่างมั่นคงและยั่งยืน เพื่อความอยู่ดีกินดี ของคนทั้งประเทศ”

  6. ทิศทางเชิงโครงสร้างเศรษฐกิจในภาพรวม 1. ภาคการค้า สร้างความเข้มแข็งและขยายฐานการค้าในประเทศให้เติบโต สัดส่วนการค้าในประเทศต่อ GDP (C+I+G) เพิ่มขึ้นจาก 30% ในปัจจุบัน เป็น 40% ใน5 ปี และ 50% ในอนาคต โดยกระตุ้นให้เกิดการผลิตและการบริโภคในประเทศผ่านผู้ประกอบการทุกระดับ สร้างงาน สร้างรายได้ การบริโภคจะเพิ่มขึ้น Multiplier effect ให้เศรษฐกิจภายในเติบโตขึ้น 2. ภาคการผลิต เน้นการผลิตที่คนส่วนใหญ่ได้รับประโยชน์ เช่น เกษตร เกษตรแปรรูป เกษตรอุตสาหกรรม (Agro-Industries) อุตสาหกรรมที่ใช้ปัจจัยการผลิตภายในประเทศ ( Local Content) สูง ซึ่งรวมถึงสินค้าที่ใช้ความคิดสร้างสรรค์สูง และธุรกิจบริการที่มีศักยภาพ/เน้นเอกลักษณ์ของ ประเทศ เช่น ท่องเที่ยว อาหาร สปา ธุรกิจ content ค้าส่ง/ค้าปลีก โครงสร้างภาคการผลิตของไทย

  7. การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจเพื่อความมั่นคงและยั่งยืนการปรับโครงสร้างเศรษฐกิจเพื่อความมั่นคงและยั่งยืน International • สร้างรายได้จากการส่งออกเป็นหลัก • กระตุ้นการลงทุน และการบริโภคในประเทศ • กระตุ้นการลงทุน สร้างธุรกิจ สร้างงาน และการบริโภคจากการค้าระหว่างประเทศ /การส่งออก • พัฒนาองค์ประกอบการค้า เช่น ระบบการเงิน การคลัง การประกันภัยการค้า เพื่อสนับสนุนการค้า • ระบบการเงิน และการประกันความเสี่ยงทางการค้ายังอ่อนแอ • สร้างความเข้มแข็งจากระบบเศรษฐกิจและธุรกิจภายในประเทศ Domestic

  8. องค์ประกอบเศรษฐกิจที่ต้องขับเคลื่อนไปในทิศทางเดียวกัน ทำอย่างไร ผลลัพธ์ที่ต้องการ

  9. เป้าหมาย (Goal) 40 % GDP Goal (ภายใน 5 ปี) 60 % GDP 50% – 50% 30 % GDP 70 % GDP ปัจจุบัน GDP C + G + I + (X - M) องค์ประกอบทางการค้า (ปัจจัยสนับสนุน)

  10. 10 ยุทธศาสตร์ 10 ยุทธศาสตร์การค้าไทย 10. รองรับและใช้ประโยชน์การเข้าสู่การเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) 9 . สร้างภูมิคุ้มกันด้านการค้าจากผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม และวิกฤตภาวะโลกร้อน 1. ปรับโครงสร้างการผลิตและกระตุ้นให้เกิดการลงทุน 2. พัฒนาการค้าให้เกิดการแข่งขันอย่างเป็นธรรม และสร้างประสิทธิ ภาพกลไกการตลาด เพื่อเสถียรภาพราคาสินค้าเกษตร 8. พัฒนาการค้าระหว่างประเทศของไทยให้ก้าวหน้า 7. ขับเคลื่อนเศรษฐกิจด้วยการค้าภูมิภาคและค้าชายแดน 3. พัฒนาระบบตลาด และขยายช่องทางการค้า 4. เพิ่มขีดความสามารถในการปรับตัวและการแข่งขันของผู้ประกอบการทุกระดับ โดยเฉพาะ SMEs 6. เสริมสร้างพาณิชย์ภูมิปัญญา 5. สนับสนุนให้องค์ประกอบทางการค้าเอื้อต่อความสามารถในการแข่งขัน

  11. การปรับโครงสร้างการผลิตและกระตุ้นให้เกิดการลงทุนการปรับโครงสร้างการผลิตและกระตุ้นให้เกิดการลงทุน ยุทธศาสตร์ที่ 1

  12. สินค้าและบริการเป้าหมายสินค้าและบริการเป้าหมาย Content industry & Culture Entertainment การศึกษา (Education Hub) ธุรกิจการค้า ( ค้าปลีก ค้าส่ง) อู่/ช่างซ่อมรถยนต์ และ อากาศยาน ธุรกิจก่อสร้าง Logistic Service Providers บริการที่เกี่ยวเนื่องกับการท่องเที่ยว สินค้าเอกลักษณ์พื้นเมือง วิชาชีพ เช่น บัญชี ทนายความ วิศวกร สุขภาพ และความงาม (Medical Hub)

  13. พัฒนาการค้าให้เกิดการแข่งขันอย่างเป็นธรรมและสร้างประสิทธิภาพกลไกการตลาดเพื่อเสถียรภาพราคาสินค้าเกษตร ยุทธศาสตร์ที่ 2 • รักษาเสถียรภาพราคาสินค้าเกษตร • ส่งเสริมตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้า Farmers Consumers Business Operators • ดูแลราคาสินค้าและบริการให้เกิดความเป็นธรรม • สร้างทางเลือก/ปกป้องผลประโยชน์ผู้บริโภค • จัดระเบียบและบริหารการนำเข้าส่งออก • ส่งเสริมพัฒนาระบบธุรกิจและอำนวยความสะดวกทางการค้า • กำกับดูแล และสร้างความเป็นธรรมทางการค้า

  14. การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของสินค้าเกษตร การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานการเกษตร เป้าหมาย • เพิ่มมูลค่าและรายได้ภาคเกษตร • ลดต้นทุนและสร้างเสถียรภาพราคา • สร้างภูมิคุ้มกันแก่เกษตรกร 1. พัฒนาศักยภาพเกษตรกรเพื่อให้รู้ทันการเปลี่ยนแปลง 2. รักษาเสถียรภาพราคาสินค้าเกษตรเพื่อสนับสนุนการประกันรายได้ โดยส่งเสริมการตลาดภายใน (เชื่อมโยงตลาดเสริมสภาพคล่อง) และผลักดันการส่งออก แนวทางดำเนินงาน • จัดทำโครงการนำร่อง 1 ยุ้งฉาง 1 ตำบล • (2-3 ตำบล) • 3. สนับสนุนการสร้างประสิทธิภาพกลไกตลาดและจัดทำโครงสร้างพื้นฐานและสิ่งอำนวยความสะดวก เช่น • ข้าว : เครื่องอบลดความชื้นของโรงสี ลานตาก • และตลาดกลาง • ข้าวโพด : เครื่องอบลดความชื้นของคลังเก็บข้าวโพด • ลานตาก และตลาดกลางพืชไร่แก่กลุ่ม • เกษตรกร • มันสำปะหลัง : จัดทำยุ้งฉางกลาง/โกดังเก็บมันเส้น • เครื่องโม่มันเส้นและเครื่องชั่ง ประโยชน์ • เกษตรกรมีช่องทางการจำหน่ายและรายได้เพิ่มขึ้น • ลดภาระงบประมาณในการแทรกแซงตลาด • โครงสร้างและผู้ประกอบการภาคเกษตรมีความเข้มแข็ง และมีขีดความสามารถในการแข่งขันเพิ่มขึ้น

  15. การ พัฒนา ระบบ ตลาด การเพิ่ม ขีด ความ สามารถ ในการ แข่งขัน การ กระจาย สินค้าและ โลจิส ติกส์ การ แปรรูป การ พัฒนา คุณภาพ เพื่อการ ส่งออก การแปรรูป เพิ่มและ สร้างคุณค่า ตัวอย่าง : การสร้าง Value Chain สินค้าข้าว การ จัดการ พื้นที่/ แปลงปลูก การผลิต และ ใช้เมล็ด พันธุ์ดี การ ปรับปรุง ดิน การ จัดการ ระบบ น้ำ การจัด การศัตรู พืช การ เกี่ยว นวด 1 ยุ้งฉาง 1 ตำบล การเพิ่ม ผลผลิต พัฒนา คุณภาพ และลดต้นทุน พัฒนาศักยภาพเกษตรกร รักษาเสถียร ภาพราคา ผู้ส่งออก พ่อค้าท้องถิ่น สร้างประสิทธิภาพ กลไกตลาด โรงสี (ข้าวสาร) นายหน้าหรือหยง ผู้ค้าปลีก ผู้บริโภค เกษตรกรข้าวเปลือก ตัวแทน/ นายหน้า สถาบันเกษตรกร/กลุ่มเกษตรกร/ สหกรณ์ ผู้ค้าส่งในประเทศ การพัฒนาระบบการตลาด - การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน - ศูนย์กระจายสินค้าและโลจิสติกส์ อ.ต.ก./ อ.ค.ส./ ธ.ก.ส. ผลิตภัณฑ์จากข้าว Value Creation การแปรรูปเพื่อเพิ่มมูลค่า • ผลิตภัณฑ์อาหาร (จากข้าวสาร) • เยื่อฟาง กระดาษ สารให้ความหวาน (จากฟางข้าว) • เชื้อเพลิง ถ่านไม้ (จากแกลบ) • น้ำมัน เนย สบู่ อาหารสัตว์ (จากรำข้าว) • แป้งข้าว ผลิตภัณฑ์นม (จากปลายข้าว) การ พัฒนา เทคโนโลยี การผลิต/ R&D การแปรรูป การพัฒนา Value Chain การ ตรวจสอบ มาตรฐาน ผู้ประกอบการธุรกิจแปรรูป 15

  16. ตัวอย่าง : การสร้าง Value Chain สินค้าข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ สร้างประสิทธิภาพ กลไกตลาด พัฒนาศักยภาพเกษตรกร รักษาเสถียร ภาพราคา อุตสาหกรรม (แป้ง) ผู้บริโภค เกษตรกร พ่อค้าท้องถิ่น ไซโล ผู้ส่งออก โรงงานอาหารสัตว์ ผู้ค้าอาหารสัตว์สำเร็จรูป ฟาร์มเลี้ยงสัตว์ การสร้าง Value Chain • การพัฒนา/ปรับปรุงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต • สนับสนุนให้สถาบันเกษตรกร/กลุ่มเกษตรกร/สหกรณ์ มีบทบาททางการตลาดเพิ่มขึ้น (เครื่องอบลดความชื้น /ฉาง)

  17. ตัวอย่าง : การสร้าง Value Chain สินค้ามันสำปะหลัง รักษาเสถียร ภาพราคา สร้างประสิทธิภาพ กลไกตลาด พัฒนาศักยภาพเกษตรกร ผู้ส่งออก โรงงานแป้ง (แป้งดิบ/แป้งมัน) อุสาหกรรมภายในประเทศ เช่นเยื่อกระดาษ อาหาร กาว ฯลฯ เกษตรกร (หัวมันสด) ผู้ค้าท้องถิ่น ผู้บริโภค โรงงานอาหารสัตว์ ลานมัน/โรงงานมันอัดเม็ด ฟาร์มเลี้ยงสัตว์ ผู้ส่งออก โรงงานเอทานอล อุตสาหกรรมเชื้อเพลิง • การสร้าง Value Chain • - การพัฒนาปรับปรุงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต - การผลักดันการใช่เอทานอลอย่างจริงจัง • การบริหารจัดการอุตสาหกรรมเดิม (แป้ง/มันเส้น)ให้มั่นคง - ผลักดันให้เกิดอุตสาหกรรมใหม่ (เอทานอล) ผู้ส่งออก 17

  18. พัฒนาระบบตลาดและขยายช่องทางการค้าพัฒนาระบบตลาดและขยายช่องทางการค้า ยุทธศาสตร์ที่ 3 ส่งเสริม/สนับสนุนช่องทางตลาด ที่ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ • ตลาดซื้อล่วงหน้า (AFET) • ตลาดออนไลน์ • ตลาด auction เช่น • ตลาดไท

  19. Integrated Global Marketing AFTA (ม.ค. 53) AEC (58) ท้องถิ่น/ภูมิภาค

  20. เพิ่มขีดความสามารถในการปรับตัวและการแข่งขันของผู้ประกอบการทุกระดับโดยเฉพาะ SMEs ยุทธศาสตร์ที่ 4 • พัฒนากฎ ระเบียบ • พัฒนาการบริการ • เพื่อการประกอบ • ธุรกิจ • พัฒนาปัจจัย • พื้นฐานที่เอื้อต่อ • ธุรกิจ • ส่งเสริมการสร้างกลยุทธ์ • การตลาด สร้างรูปแบบ • ธุรกิจ • สร้างเครือข่ายพันธมิตร • ธุรกิจในและต่างประเทศ • เผยแพร่สร้างความเชื่อมั่นธุรกิจ • จัดทำฐานข้อมูล /คู่มือธุรกิจ • อบรมให้ความรู้การประกอบ • ธุรกิจและพัฒนาธุรกิจ • เป้าหมาย • พัฒนาบุคลากรให้คำปรึกษา • สร้างต้นแบบการจัดการที่ดี • พัฒนาการจัดการโลจิสติกส์ • และห่วงโซ่อุปทาน • ส่งเสริมมาตรฐานธุรกิจ • ส่งเสริมนวัตกรรมการบริหารจัดการ กรมพัฒนา ธุรกิจการค้า หอการค้า สมาคมการค้า สภาอุตสาหกรรม สถาบันการเงิน สถาบันการศึกษา หน่วยงาน และเครือข่ายพันธมิตร

  21. สนับสนุนสภาพคล่องและพัฒนาระบบการเงิน ทั้งระดับใหญ่ SMEs และ Micro Finance ลดอุปสรรคทางการค้า อาทิ นโยบายการคลังที่เอื้ออำนวย เช่น ลดภาษีซ้ำซ้อนต่างๆ Trade Insurance เพื่อประกันความเสี่ยงในภาคการผลิต การค้า และการขนส่ง การบูรณาการขั้นตอนและ กระบวนการทางการค้า พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศทางการค้า Inventory Management สนับสนุนให้องค์ประกอบทางการค้า เอื้อต่อความสามารถในการแข่งขัน ยุทธศาสตร์ที่ 5 เพิ่มความคล่องตัวในการประกอบธุรกิจ พัฒนาระบบโลจิสติกส์ให้มีประสิทธิภาพสูงสุด พัฒนาระบบคลังสินค้าและ จัดตั้งศูนย์กระจายสินค้า ปรับปรุงเอกสารทางการค้าให้เป็น Paperless Trading

  22. เสริมสร้างพาณิชย์ภูมิปัญญา ยุทธศาสตร์ที่ 6 Economy

  23. ขับเคลื่อนเศรษฐกิจด้วยการค้าภูมิภาคและค้าชายแดนขับเคลื่อนเศรษฐกิจด้วยการค้าภูมิภาคและค้าชายแดน ยุทธศาสตร์ที่ 7 • เน้นการค้าชายแดน GMS ACMECS IMT – GT และ ASEAN • สร้างความเข้มแข็งให้ Trading firms และ MNC • ตั้งศูนย์ส่งเสริมการค้าชายแดน เสริมสร้างการค้า การลงทุน ลดปัญหาอุปสรรค และอำนวยความสะดวกทางการค้า • จัดพาณิชย์สัญจรเพื่อรับฟังปัญหาและหาแนวทางแก้ไข พัฒนาระบบขนส่งและเชื่อมโยงระบบ Logistics • สร้าง LSPs • พัฒนาเส้นทางเชื่อมโยง และใช้ประโยชน์จากเส้นทางที่มีอยู่ พัฒนาระบบข้อมูลและหน่วยงานสนับสนุน • เชื่อมโยงและสร้างเครือข่ายข้อมูลการค้าการลงทุน • เผยแพร่ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเปิดเสรี • ศึกษาผลกระทบและกำหนดมาตรการเยียวยา • แสวงหาโอกาสและใช้ประโยชน์จากข้อตกลงการค้า รองรับการเปิดเสรี AEC 2015 ยกระดับจุดผ่อนปรนเป็นจุดผ่านแดนถาวร

  24. พัฒนาการค้าระหว่างประเทศของไทย ให้ก้าวหน้า ยุทธศาสตร์ที่ 8

  25. สร้างภูมิคุ้มกันด้านการค้าจากผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมและวิกฤตภาวะโลกร้อนสร้างภูมิคุ้มกันด้านการค้าจากผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมและวิกฤตภาวะโลกร้อน ยุทธศาสตร์ที่ 9 กลยุทธ์การส่งเสริมการค้าสินค้าเกษตรอินทรีย์ • ศูนย์ปฏิบัติการข้อมูลการตลาดสินค้าเกษตรอินทรีย์ (CIM) • การจัดตั้งตลาดกลุ่มสินค้าอินทรีย์ และร้านค้าสินค้าอินทรีย์ • การทำกิจกรรมส่งเสริมการขายร่วมกับห้างสรรพสินค้า ซุปเปอร์มาร์เก็ต • การจัดและเข้าร่วมงานแสดงสินค้า เช่น งานรวมพลคนอินทรีย์ ตลาดนัดสีเขียว สินค้าเกษตรอินทรีย์ • เครือข่ายองค์กรเกษตรอินทรีย์นานาชาติ เช่น GTZ, OTA, OFA เป็นต้น • การเข้าร่วมงานแสดงสินค้าเกษตรอินทรีย์ เช่น THAIFEX, ANUGA (Germany), BioFach (Germany), All Things Organic (USA.) เป็นต้น • การทำกิจกรรมส่งเสริมการขายร่วมกับห้างในต่างประเทศ เช่น Harrods (UK), Metro (Germany), Kauhuaf (Germany) • การเข้าร่วมการประชุมสัมมนานานาชาติเกี่ยวกับเกษตรอินทรีย์ • การจัดคณะ Organic Trade Mission เพื่อเปิดและขยายตลาดสินค้าเกษตรอินทรีย์

  26. รองรับและใช้ประโยชน์การเข้าสู่การเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนรองรับและใช้ประโยชน์การเข้าสู่การเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ยุทธศาสตร์ที่ 10 AEC กลยุทธ์เชิงรุกและเชิงรับเพื่อการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ASEAN Economic Community การแสวงหาลู่ทางและโอกาสและใช้ประโยชน์จากข้อตกลงการค้า

  27. นักวิชาการ/สถาบันการศึกษานักวิชาการ/สถาบันการศึกษา กระทรวงเศรษฐกิจและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง • ระดมความเห็นและร่วมกำหนดแนวทางยุทธศาสตร์ • ผลิตบุคลากรและทรัพยากรมนุษย์ที่สอดคล้องกับ • การขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศ • ร่วมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์สู่ • ความมั่นคงและยั่งยืน เกษตรกร ภาคเอกชน (สมาคมการค้า กกร. สถาบันการค้าต่างๆ) ประชาสังคม กลยุทธ์สนับสนุน ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวข้อง

  28. แนวทางการดำเนินงานต่อไปแนวทางการดำเนินงานต่อไป

More Related