360 likes | 767 Views
การบริหารจัดการน้ำในช่วงฤดูฝน ปี 2553. สำนักอุทกวิทยาและบริหารน้ำ. 16 พฤษภาคม 2553. หัวข้อการนำเสนอ. สถานการณ์น้ำ. 1. การบริหารจัดการน้ำในฤดูฝน ปี 2553. 2. สถานการณ์น้ำ. ช่วงความจุอ่าง - %. 0-30. 30-50. 50-80. 80-100. ข้อมูล : วันที่ 15 พฤษภาคม 2553.
E N D
การบริหารจัดการน้ำในช่วงฤดูฝนการบริหารจัดการน้ำในช่วงฤดูฝน ปี 2553 สำนักอุทกวิทยาและบริหารน้ำ 16 พฤษภาคม 2553
หัวข้อการนำเสนอ สถานการณ์น้ำ 1 การบริหารจัดการน้ำในฤดูฝน ปี 2553 2
ช่วงความจุอ่าง - % 0-30 30-50 50-80 80-100 ข้อมูล : วันที่ 15 พฤษภาคม 2553 ช่วงความจุอ่างเก็บน้ำขนาดกลาง
สภาพน้ำในอ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่และขนาดกลางสภาพน้ำในอ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่และขนาดกลาง ข้อมูล ณ วันที่ 15 พฤษภาคม 2553
กราฟเปรียบเทียบปริมาตรน้ำในอ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่และขนาดกลางทั้งประเทศ ปี 2553 กับปี 2552 ณ วันที่ 15 พฤษภาคม 2553 ล้าน ลบ.ม. 40,901 อ่างฯขนาดใหญ่ปี 53 อ่างฯขนาดใหญ่ปี 52 36,508 อ่างฯขนาดกลางปี 53 อ่างฯขนาดกลางปี 52 18,426 18,080 17,056 12,663 10,603 8,680 5,322 6,099 4,227 3,428 1,001 758 545 238
สถานการณ์น้ำท่าในลำน้ำสายหลัก 15 พฤษภาคม 2553 เกณฑ์สภาพน้ำท่าเกณฑ์ปริมาณน้ำฤดูแล้ง น้ำมาก : สูงกว่า 81% ค่าความจุลำน้ำ น้ำดี : สูงกว่า 50.1 – 80 % ของความจุลำน้ำ น้ำปกติ : สูงกว่า 30.1%-50% ของความจุลำน้ำ น้ำน้อย : ต่ำกว่า 30% ของความจุลำน้ำ น่านตอนบนเหนือเขื่อนสิริกิติ์ ลุ่มท่าตะเภา จ.ชุมพร ปิงตอนบนเหนือเขื่อนภูมิพล X.180 ลุ่มตรัง จ.ตรัง P.67 N.64 X.37A วังตอนบนเหนือเขื่อนกิ่วคอหมา ลุ่มน้ำโขง Y.1C N.1 P.1 Y.4 Kh.58A Kh.16B Kh.1 X.56 ยมตอนบนเหนือจ.สุโขทัย W.4A X.44 Y.16 N.5A Kh.104 X.40A Y.17 N.24A s.3 X.119A แม่น้ำโขง E.16A N.8A P.7A E.18 S.42 E.8A ลุ่มโกลก จ.นราธิวาส E.20A E.23 E.9 P.17 N.67 Ct.2A M.6A C.2 M.7 C.13 M.2A M.5 C.3 M.9 C.7A K.10 C.35 Kgt.3 T.1 Kgt.10 K.37 ลำน้ำสาขาของลุ่มน้ำบางปะกงตอนบน Z.21 Z.10 ลุ่มน้ำชายฝั่งทะเลตะวันออก บริเวณ จ.จันทบุรี
การบริหารจัดการน้ำในฤดูฝน ปี 2553 พื้นที่ท้ายเขื่อนภูมิพล เขื่อนสิริกิติ์และลุ่มน้ำเจ้าพระยา
ล้าน ลบ.ม. 2,339 -214 163 -3 -123 -214 1,697 -328 -175 ผล-แผน
แผนและผลการปลูกพืชฤดูแล้งทั้งประเทศ ปี 2552/2553 (ล้านไร่) ผลการปลูกข้าวนาปรัง (158 %) (174 %) (141 %) (47 %) (49%) (298%) (55 %) (106 %) (116%) (39 %) (81 %) (34 %) (26 %) (81 %)
ณ 1 พ.ย. 52 ปริมาณน้ำทั้งหมด 15,370 MCM น้ำต้นทุนเองเขื่อนภูมิพลและเขื่อนสิริกิติ์ Annual Inflow 11,200 MCM คงเหลือน้ำ ใช้ในฤดูแล้ง 6,900 MCM +ป่าสัก 500 +แควน้อย 500 +แม่กลอง 1,000 - ประปา/นิเวศน์ 2,000 ข้าวนาปรัง 6.0 ล้านไร่(max) ความจุทั้งหมด 22,972 MCM ความจุใช้การได้ 16,322 MCM ใช้ใน ฤดู ฝน 4,300 MCM + Dead Storage 6,650 MCM
แผนและผลการปลูกพืชฤดูแล้งในลุ่มน้ำเจ้าพระยา ปี 2552/2553 (ล้านไร่) ผลการปลูกข้าวนาปรัง (157 %) (162 %) (154%) (61 %) (60 %) (65 %) (184 %) (50 %) (98%) (100%) (88 %) (33%) (35%) (43%)
ความจุที่ระดับเก็บกัก13,462 ล้าน ลบ.ม. ความจุที่ระดับต่ำสุด 3,800 ล้าน ลบ.ม.
ความจุที่ระดับเก็บกัก9,510 ล้าน ลบ.ม. ความจุที่ระดับต่ำสุด 2,850 ล้าน ลบ.ม.
ความจุที่ระดับเก็บกัก 769 ล้าน ลบ.ม. ความจุที่ระดับต่ำสุด 36 ล้าน ลบ.ม.
ความจุที่ระดับเก็บกัก 960ล้าน ลบ.ม. ความจุที่ระดับต่ำสุด 3 ล้าน ลบ.ม.
การบริหารจัดการน้ำในฤดูฝน ปี 2553 พื้นที่โครงการอื่นๆ
1. ให้โครงการชลประทานจัดทำรายละเอียดสถานีสูบน้ำด้วยไฟฟ้า/ การประปาทุกหน่วย/อุตสาหกรรม - ที่ตั้งโครงการ พร้อมค่าพิกัด - พื้นที่โครงการลงในแผนที่ 1: 50,000 หรือ ภาพถ่ายทางอากาศ - ปริมาณน้ำที่สูบได้ตามศักยภาพ - ปริมาณน้ำที่คาดว่าจะใช้จริง - ให้จัดทำแผนการรวบรวมพื้นที่สูบน้ำด้วยไฟฟ้าให้สู่ระบบ การควบคุมอย่างเป็นระบบ 2. ให้โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษา โครงการชลประทานที่มีแหล่งน้ำ ต้นทุนของตนเองจัดทำแผนการส่งน้ำที่ปรับตามน้ำต้นทุนแล้ว 3. ให้สำนักชลประทานจัดทำแผนการส่งน้ำ /การบริหารน้ำเป็นลุ่มน้ำ
แผนการเพาะปลูกพืช:โครงการอื่น ๆ Reservoir Operation Study (ROS)
ขอให้จัดทำ ROS ส่ง สอน. ครั้งที่ 1 : 1 เม.ย. 53 ครั้งที่ 2 : 7 พ.ค. 53 สชป.ที่ส่ง ROS ครบทุกโครงการแล้ว : สชป.2, สชป.4, สชป.6
การจัดส่งข้อมูล ROS สำนักชลประทานที่ยังไม่ได้ส่งเลย สชป.1 สชป.3 สชป. 7 สชป.10 สชป.11 สชป.13 สชป.14 สชป.15 สชป.17
การจัดส่งข้อมูล ROS สำนักชลประทานที่ส่งแล้วบางส่วน สชป.5 โครงการที่ยังไม่ได้ส่ง (จำนวน 4 โครงการ) - ชป.อุดรธานี ชป.หนองคายชป.หนองบัวลำภู คบ.ห้วยโมง สชป.8 โครงการที่ยังไม่ได้ส่ง(จำนวน 4 โครงการ) - ชป.นครราชสีมา ชป.ศรีสะเกษ ชป.บุรีรัมย์ คบ.ลำพระเพลิง สชป.9 โครงการที่ยังไม่ได้ส่ง (จำนวน 9 โครงการ) - ชป.ฉะเชิงเทรา ชป.ปราจีนบุรี ชป.นครนายก ชป.จันทบุรี ชป.ตราด ชป.สระแก้ว คบ.บางพลวง คบ.เขื่อนบางปะกง คบ.คลองสียัด
การจัดส่งข้อมูล ROS สชป.12 โครงการที่ยังไม่ได้ส่ง (จำนวน 11 โครงการ) - ชป.อุทัยธานี ชป.สิงห์บุรี ชป.อ่างทอง คบ.สามชุก คบ.เขื่อนเจ้าพระยา คบ.ท่าโบสถ์ คบ.โพธิ์พระยา คบ.บรมธาตุ คบ.ชัณสูตร คบ.กระเสียว คบ.ทับเสลา สชป.16 โครงการที่ยังไม่ได้ส่ง (จำนวน 3 โครงการ) - ชป.พัทลุง ชป.สตูล คบ.ระโนด-กระแสสินธุ์
Reservoir Operation Simulation อ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่ (ทำครบทุกอ่างแล้ว) อ่างเก็บน้ำขนาดกลาง - อบรม 24 พฤษภาคม 2553 - ข้อมูลที่ต้องใช้ : ระดับน้ำรายวัน ปริมาณน้ำรายวัน , Inflow , Outflow , โค้งความจุ Evaporation
Evaporation โค้งความจุ ข้อมูลรายวัน
Reservoir Routing (ทำให้ครบทุกอ่างแล้ว) การคำนวณ Peak Flow Hydrograph โค้งความจุ
การประมาณ Inflow Runoff Coefficientรายเดือนของอ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่อยู่ระหว่างจัดทำ(จัดส่งให้ในวันที่ 24 พ.ค.53)
แม่น้ำเจ้าพระยา 45 แม่น้ำป่าสัก 16(6) จระเข้สามพัน พระยาบรรลือ 50 21(15) สองพี่น้อง ท่าสาร-บางปลา 30 แม่น้ำแม่กลอง แผนการแก้ปัญหาน้ำอุปโภค-บริโภค และรักษาระบบนิเวศ ของ กทม. สมุทรปราการ สมุทรสาคร และสมุทรสงคราม - แผนงานบริหารน้ำเขื่อนเจ้าพระยา – แม่น้ำเจ้าพระยา - ระบายน้ำท้ายเขื่อนเจ้าพระยา 45 ลบ.ม./วินาที - แผนงานบริหารน้ำเขื่อนป่าสัก – แม่น้ำเจ้าพระยา - ช่วงน้ำตาย ระบายท้ายเขื่อนพระรามหก 6 ลบ.ม./วินาที - ช่วงน้ำเป็น ระบายท้ายเขื่อนพระรามหกเพิ่ม 10 ลบ.ม/วินาที - แผนงานส่งน้ำจากแม่กลอง – ท่าจีน – เจ้าพระยา - ระบายน้ำจากแม่กลอง 80 ลบ.ม/วินาที - จระเข้สามพัน 50 ลบ.ม./วินาที - ผ่านแม่น้ำสองพี่น้องลงแม่น้ำท่าจีน - สูบน้ำเข้าคลองพระยาบันลือ 21 ลบ.ม./วินาที - ลงแม่น้ำเจ้าพระยาที่ ปตร.สิงห์นาท เหนือบ้านสำแล 17 กม. - คลองท่าสารบางปลา 30 ลบ.ม./วินาที - แผนงานป้องกันน้ำเค็มของ สมุทรสาคร สมุทรสงคราม
แผนการแก้ปัญหาน้ำอุปโภค-บริโภค และรักษาระบบนิเวศน์ ของ กทม. สมุทรปราการ สมุทรสาคร และสมุทรสงคราม - การบริหารประตูระบายน้ำริมแม่น้ำเจ้าพระยา ในเขต กทม. สมุทรปราการ - ปิด ปตร. ในช่วงเวลาน้ำขึ้น - เปิด ปตร. ในช่วงเวลาน้ำลง - ผู้รับผิดชอบ – กทม. และ เทศบาลนครสมุทรปราการ
กรมชลประทาน Royal Irrigation Department สิ้นสุดการนำเสนอ