340 likes | 567 Views
Korea. China. Afganistan. Japan. Pakistan. Bangladesh. India. Myanmar. Laos. Thailand. Vietnam. Philippines. Cambodia. Sri Lanka. Malaysia. Brunei. Singapore. Indonesia.
E N D
Korea China Afganistan Japan Pakistan Bangladesh India Myanmar Laos Thailand Vietnam Philippines Cambodia Sri Lanka Malaysia Brunei Singapore Indonesia ความเป็นมา ความตกลงว่าด้วยการขนส่งข้ามพรมแดนในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง(Greater Mekong Subregion Cross-Border Transport Agreement : CBTA)
อนุสัญญาและความตกลงระหว่างประเทศแม่แบบด้านการขนส่งทางถนนระหว่างประเทศอนุสัญญาและความตกลงระหว่างประเทศแม่แบบด้านการขนส่งทางถนนระหว่างประเทศ • อนุสัญญากรุงเจนีวาว่าด้วยการจราจรทางถนน (Convention on Road Traffic) • อนุสัญญาว่าด้วยป้ายและสัญญาณจราจร (Convention on Road Signs and Signals) • อนุสัญญาว่าด้วย สัญญาขนส่งของระหว่างประเทศโดยทางถนน (Convention on the Contract for the International Carriage of Goods by Road: CMR) • อนุสัญญาว่าด้วย สัญญาขนส่งคนโดยสารและสัมภาระระหว่างประเทศโดยทางถนน (Convention on the Contract for the International Carriage of Passengers and Luggage by Road – CVR)
อนุสัญญาและความตกลงระหว่างประเทศแม่แบบด้านการขนส่งทางถนนระหว่างประเทศ(ต่อ)อนุสัญญาและความตกลงระหว่างประเทศแม่แบบด้านการขนส่งทางถนนระหว่างประเทศ(ต่อ) • อนุสัญญาด้านศุลกากรว่าด้วย การขนส่งสินค้าระหว่างประเทศภายใต้ระบบ TIR Carnets (The Customs Convention on the International Transport of Goods under Cover of TIR Carnets) • อนุสัญญาด้านศุลกากรว่าด้วย การนำเข้ายานพาหนะที่ใช้เพื่อการพาณิชย์เป็นการชั่วคราว (The Customs Convention on the Temporary Importation of Commercial Road Vehicles) • อนุสัญญาด้านศุลกากรว่าด้วย ตู้คอนเทนเนอร์ (The Customs Convention on Containers) • อนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วย การปรับประสานกฎเกณฑ์เกี่ยวกับการควบคุมสินค้า ณ พรมแดน (The International Convention on the Harmonization of Frontier Control of Goods)
ความตกลงที่เกี่ยวข้องกับประเทศไทยความตกลงที่เกี่ยวข้องกับประเทศไทย • ความตกลงที่มีผลในทางปฏิบัติแล้ว • ความตกลงที่กำลังดำเนินการ • ความตกลงที่กำลังจะมีผลในอนาคตอันใกล้
ความตกลงที่มีผลในทางปฏิบัติแล้ว(ระดับทวิภาคี)ความตกลงที่มีผลในทางปฏิบัติแล้ว(ระดับทวิภาคี) • ความตกลงว่าด้วยการขนส่งทางถนนระหว่างไทย-ลาว พ.ศ. 2542 • บันทึกความเข้าใจระหว่างไทย-มาเลเซียว่าด้วยการขนส่งสินค้าเน่าเสียง่ายผ่านแดนโดยทางถนนจากประเทศไทยผ่านมาเลเซียไปยังสิงคโปร์ (Memorandum of Understanding between the Government of the Kingdom of Thailand and the Government of Malaysia on the Movement in Transit of Perishable Goods by Road From Thailand Through Malaysia to Singapore)
ความตกลงระหว่างประเทศด้านการขนส่งทางถนนระดับทวิภาคีของประเทศไทย (Bilateral Agreements) • ความตกลงว่าด้วยการขนส่งทางถนนระหว่างไทย-ลาว พ.ศ. 2542 • ครอบคลุมการขนส่งสินค้าและผู้โดยสารทั้งกรณีข้ามแดนและ ผ่านแดน ซึ่งมีผลทำให้ยานพาหนะของไทยและลาวสามารถ เดินทางเข้าไปในดินแดนของอีกฝ่ายได้ หรือผ่านแดนไปยังประเทศที่สามที่มีความตกลงกับประเทศคู่สัญญาได้ • ไม่ครอบคลุมถึงการขนส่งสินค้าและผู้โดยสารระหว่างจุดภายในดินแดนของประเทศภาคีคู่สัญญา (Cabotage) และการขนส่งสินค้าอันตรายหรือสินค้าต้องห้ามตามกฎหมาย
ความตกลงระหว่างประเทศด้านการขนส่งทางถนนระดับทวิภาคีของประเทศไทย (Bilateral Agreements) ความตกลงว่าด้วยการขนส่งทางถนนระหว่างไทย-ลาว (ต่อ) • กฎหมายภายในของประเทศภาคีคู่สัญญายังใช้บังคับแก่การขนส่งภายในประเทศอยู่ • เปิดเสรีผู้ประกอบการขนส่งทางถนนไทย-ลาว • มีการยอมรับการประกอบการขนส่ง การจดทะเบียนยานพาหนะ และการตรวจสภาพรถระหว่างกัน • การกำหนดราคาค่าขนส่งสินค้าเป็นไปตามกลไกตลาด แต่รัฐบาลของทั้งสองประเทศจะเข้าไปควบคุมดูแลในการกำหนดอัตราค่าโดยสาร • พาหนะที่อนุญาตให้มีการใช้ในการขนส่งได้ คือ รถบรรทุกเดี่ยว (Rigid vehicle) และรถที่มีการพ่วง (Articulated vehicle or semi-trailer)
ความตกลงระหว่างประเทศด้านการขนส่งทางถนนระดับทวิภาคีของประเทศไทย (Bilateral Agreements) ความตกลงว่าด้วยการขนส่งทางถนนระหว่างไทย-ลาว (ต่อ) • มีการจัดตั้งคณะทำงานร่วมเพื่อติดตาม และแก้ไขปัญหาการเปิดเสรีการขนส่งทางถนนไทย-ลาว • การขนส่งพิเศษ เช่น การขนส่งสินค้าอันตราย จะต้องได้รับอนุญาตจากประเทศภาคีอีกฝ่ายหนึ่งก่อน
ความตกลงระหว่างประเทศด้านการขนส่งทางถนนระดับทวิภาคีของประเทศไทย (Bilateral Agreements) ปัจจุบันได้มีการเปิดเส้นทางการเดินรถโดยสารระหว่างประเทศไทย-ลาวแล้วทั้งสิ้นจำนวน 4 เส้นทาง ได้แก่ • หนองคาย-เวียงจันทน์ • อุดรธานี-เวียงจันทน์ • อุบลราชธานี-ปักเซ • มุกดาหาร-สะหวันนะเขต รวมถึงรถ Shuttle Bus ที่วิ่งระหว่างเชิงสะพานมิตรภาพแห่งที่ 2 • ขอนแก่น-เวียงจันทน์ (14 ก.พ. 51) • รถบรรทุกไม่ประจำทาง (70) 227 ราย 8911 คัน • รถบรรทุกส่วนบุคคล (80 ) 84 ราย 861 คัน • รถโดยสารไม่ประจำทาง (30) 61 ราย 199 คัน • รถโดยสารส่วนบุคคล (40) 2 ราย 3 คัน
ความตกลงระหว่างประเทศด้านการขนส่งทางถนนระดับทวิภาคีของประเทศไทย (Bilateral Agreements) • บันทึกความเข้าใจระหว่างไทย-มาเลเซียว่าด้วยการขนส่งสินค้า เน่าเสียง่ายผ่านแดนโดยทางถนนจากประเทศไทยผ่านมาเลเซีย ไปยังสิงคโปร์ • รัฐบาลมาเลเซียยินยอมให้มีการขนส่งเฉพาะสินค้าเน่าเสียง่ายผ่านแดนโดยทางถนนจากประเทศไทยผ่านมาเลเซียเพื่อไปยังสิงคโปร์ได้ โดยไม่ต้องเสียภาษีอากร ค่าธรรมเนียม หรือค่าภาระอื่นๆ • “สินค้าเน่าเสียง่าย” หมายถึง ปลา สัตว์น้ำจำพวกที่มีเปลือกห่อหุ้มตัว หอย ผลไม้ ผักที่สด แช่เย็น หรือแช่แข็ง และเนื้อสัตว์แช่เย็นหรือแช่แข็ง • มี quota 30,000 ตัน ต่อปี หากเกินจำนวนดังกล่าวต้องเสียภาษีตามปกติ • ผู้ประกอบการขนส่งสินค้าเน่าเสียผ่านแดนที่จะได้รับสิทธิขนส่งผ่านแดนและสินค้าได้รับยกเว้นภาษีศุกากรจะต้องได้รับอนุญาตจากหน่วยงานของรัฐที่รับผิดชอบของ ทั้งไทยและมาเลเซีย
ความตกลงที่มีผลในทางปฏิบัติแล้ว(พหุภาคี)ความตกลงที่มีผลในทางปฏิบัติแล้ว(พหุภาคี) • อาเซียน • ความตกลงว่าด้วยการยอมรับใบอนุญาตขับรถที่ออกโดยประเทศสมาชิกอาเซียน • ยอมรับใบอนุญาตของกันและกันทุกประเภท ยกเว้นหัดขับ/ชั่วคราว • ต้องแปลเป็นภาษาอังกฤษ • ความตกลงว่าด้วยการยอมรับหนังสือรับรองการตรวจสภาพรถที่ใช้เพื่อการพาณิชย์ • ยอมรับมาตรฐานการตรวจสภาพ • ต้องออกหนังสือรับรองการตรวจสภาพรถ
ความตกลงระหว่างประเทศระดับทวิภาคี (Bilateral Agreements) ความตกลงระดับทวิภาคีระหว่างประเทศเพื่อนบ้าน • เวียดนาม-จีน • ความตกลงว่าด้วยการขนส่งสินค้าผ่านแดน (Agreement on Transit of Goods) ค.ศ. 1994 • ความตกลงว่าด้วยการขนส่งทางถนน (Agreement on Road Transport) ค.ศ. 1994 • ความตกลงว่าด้วยการขนส่งทางรถไฟข้ามแดน (Agreement on Cross-border Railway Transport) ค.ศ. 1992
ความตกลงระหว่างประเทศระดับทวิภาคี (Bilateral Agreements) • เวียดนาม-ลาว -ความตกลงว่าด้วยการขนส่งสินค้าผ่านแดน (Agreement of Transit of Goods) ค.ศ. 1994 แก้ไขค.ศ. 2000 -ความตกลงว่าการขนส่งทางถนน (Agreement on Road Transport) ค.ศ. 1996 และพิธีสารแนบท้าย
ความตกลงระหว่างประเทศระดับทวิภาคี (Bilateral Agreements) • เวียดนาม-กัมพูชา • ความตกลงว่าด้วยการขนส่งสินค้าผ่านแดน (Agreement on Transit of Goods) • ความตกลงว่าด้วยการขนส่งทางถนน (Agreement on Road Transport) ค.ศ. 1998 • ความตกลงว่าด้วยการขนส่งทางน้ำภายในประเทศ (Agreement on Inland Waterway Transport) ค.ศ. 1998
ความตกลงที่กำลังดำเนินการความตกลงที่กำลังดำเนินการ • อาเซียน • กรอบความตกลงว่าด้วยการอำนวยความสะดวกในการขนส่งสินค้าผ่านแดน • ครอบคลุมสินค้าผ่านแดนด้วยรถบรรทุกตามเส้นทาง • กำหนดเส้นทาง/มีพิธีสารแนบท้าย 9 ฉบับ • กำหนดโควตาประเทศละ 60 คัน • ร่างความตกลงว่าด้วยการขนส่งสินค้าข้ามแดน • - ครอบคลุมสินค้าข้ามแดนด้วยรถบรรทุกตามเส้นทาง • - กำหนดเส้นทาง/มีพิธีสารแนบท้าย 10 ฉบับ • - กำหนดโควตาประเทศละ 500 คัน
ความตกลงที่กำลังดำเนินการความตกลงที่กำลังดำเนินการ • ไทย - มาเลเซีย • ร่างบันทึกความเข้าใจว่าด้วยการขนส่งสินค้าและผู้โดยสารทางถนนและรถไฟ • - สินค้าและผู้โดยสารข้ามแดนและผ่านแดน • - คาดว่าจะมีการตัดการขนส่งทางรถไฟออก
ความตกลงที่กำลังจะมีผลในอนาคตอันใกล้ความตกลงที่กำลังจะมีผลในอนาคตอันใกล้ • GMS • ความตกลงว่าด้วยการขนส่งข้ามพรมแดนในอนุภูมิภาคลุ่ม แม่น้ำโขง • ครอบคลุมรถบรรทุก/รถโดยสาร/รถยนต์ส่วนบุคคล • กำหนดเส้นทางใน 3 แนวเขตเศรษฐกิจ (NSEC/EWEC/SEC) • กำหนดโควตารถในเบื้องต้นประเทศละ 500 คัน (30+70) • ให้มีการอำนวยความสะดวกในพิธีสารผ่านแดน (Single Window Inspection-Single Stop Inspection) • คาดว่าจะมีผลในปี 2553
พัฒนาการของความตกลง GMS CBTA
ผลสืบเนื่องภายหลังการลงนามผลสืบเนื่องภายหลังการลงนาม • ภาคีคู่สัญญาจะต้องจัดทำ • ภาคผนวก (Annex) 17ฉบับ • พิธีสาร (Protocol) 3 ฉบับ
ระยะที่ 1 ลงนามเมื่อ 30 เมษายน 2547 ณ กรุงพนมเปญ
ระยะที่ 2 ลงนามเมื่อ 16 ธันวาคม 2547 ณ กรุงเวียงจันทน์
ระยะที่ 3 ลงนามระหว่างการประชุม GMS Summit ครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม 2548 ณ เมืองคุนหมิง
ระยะที่ 3 ส่วนที่เหลือ ลงนามในระหว่างปี 2549 ณ สาธารณรัฐประชาชนจีน
การจัดทำบันทึกความเข้าใจเกี่ยวกับการเริ่มใช้ความตกลงว่าด้วยการขนส่งข้ามพรมแดนการจัดทำบันทึกความเข้าใจเกี่ยวกับการเริ่มใช้ความตกลงว่าด้วยการขนส่งข้ามพรมแดน ในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขงที่จุดผ่านแดนมุกดาหาร-สะหวันนะเขต และอรัญประเทศ-ปอยเปต ในระหว่างที่การจัดทำภาคผนวกและพิธีสารยังไม่แล้วเสร็จ ธนาคารเพื่อการพัฒนาแห่งเอเชีย (Asian Development Bank : ADB) เห็นว่า “ควรมีการเริ่มดำเนินการตามความตกลงฯ ที่บริเวณจุดผ่านแดนระหว่างประเทศภาคีคู่สัญญา ที่มีดินแดนติดต่อกัน ได้แก่ ลาว-เวียดนาม ไทย-ลาว และไทย-กัมพูชา”
ความตกลงว่าด้วยการขนส่งข้ามพรมแดนในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขงความตกลงว่าด้วยการขนส่งข้ามพรมแดนในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง (GMS CBTA) บันทึกความเข้าใจการเริ่มใช้ ความตกลงระดับทวิภาคี บันทึกความเข้าใจการเริ่มใช้ ความตกลงระดับไตรภาคี ไทย-ลาว-เวียดนาม มุกดาหาร-สะหวันนะเขต ลาวบาว-แดนสะหวัน ไทย-ลาว มุกดาหาร-สะหวันนะเขต ไทย-กัมพูชา อรัญประเทศ- ปอยเปต ไทย-พม่า แม่สอด-เมียวดี แม่สาย-ท่าขี้เหล็ก ไทย-ลาว-จีน เส้นทาง NSEC บันทึกความเข้าใจการแลกเปลี่ยนสิทธิจราจร
ความตกลงที่กำลังจะมีผลในอนาคตอันใกล้ความตกลงที่กำลังจะมีผลในอนาคตอันใกล้ • บันทึกความเข้าใจว่าด้วยการเริ่มใช้ความตกลง ณ จุดผ่านแดน (2 ฝ่าย) • มุกดาหาร-สะหวันนะเขต (ไม่มีโควตา) • อรัญประเทศ-ปอยเปต (40 คัน) • แม่สอด-เมียวดี/แม่สอด-ท่าขี้เหล็ก (200 คัน) • บันทึกความเข้าใจว่าด้วยการเริ่มใช้ความตกลง ณ จุดผ่านแดน (3 ฝ่าย) • มุกดาหาร-สะหวันนะเขต/แดนสะหวัน-ลาวบาว (500 คัน)
จุดผ่านแดนตามบันทึกความเข้าใจเกี่ยวกับการเริ่มใช้ความตกลงฯจุดผ่านแดนตามบันทึกความเข้าใจเกี่ยวกับการเริ่มใช้ความตกลงฯ - แม่สอด-เมียวดี - แม่สาย-ท่าขี้เหล็ก - มุกดาหาร-สะหวันนะเขต - อรัญประเทศ-ปอยเปต
POTENTIAL NEW ROUTES AND BORDER CROSSING POINTS • Mukdahan – Savannakhet • Lao-Bao – Dansavanh • Aranyaprathet– Poipet • Bavet – Moc Bai YOUYIGUAN (PRC) - HUU NGI (VIE) • Hekou – Lao Cai • Myawaddy – Mae Sot • Mae Sai – Tachilek THIRD PHASE (commencing in 2007/08) • Nongkhai – Thanaleng • Houayxay – Chiang Khong SECOND PHASE (commencing in 2006) FIRST PHASE (commencing in 2005) THAKHEK (LAO) – HA TINH (VIE) • Ruili – Muse • Mohan – Boten • Nam Phao – Cau Treo • Chongmek – Wang Tao • Veune Kham – Dong Kralor • Hat Lek – Cham Yeam LORK (CAM) – XA XIA (VIE) Geographic Coverage of CBTA
การเตรียมการในส่วนของประเทศไทยการเตรียมการในส่วนของประเทศไทย • การจัดตั้งคณะอนุกรรมการพิจารณาหลักเกณฑ์ ผู้ประกอบการขนส่งและคณะอนุกรรมการคัดเลือกและกลั่นกรองผู้ประกอบการขนส่ง • การเผยแพร่ข้อมูลทางเว็บไซด์www.ltpcenter.com • การจัดสัมมนาผู้ประกอบการขนส่ง/อบรมเจ้าหน้าที่ • การจัดพิมพ์หนังสือความตกลง GMS CBTA ฉบับ 2ภาษา • รวบรวมกฎหมายจราจรของประเทศ GMS 6 ประเทศ • โครงการศึกษาเพิ่มขีดความสามารถให้กับผู้ประกอบการขนส่งระหว่างประเทศ
การเตรียมการในส่วนของผู้ประกอบการการเตรียมการในส่วนของผู้ประกอบการ • มีใบอนุญาตประกอบการขนส่งระหว่างประเทศ • ศึกษารายละเอียด และทำความเข้าใจเกี่ยวกับข้อปฏิบัติของความตกลงว่าด้วยการขนส่งข้ามพรมแดน • ศึกษา เส้นทาง และภูมิประเทศ ของประเทศที่จะทำการขนส่งระหว่างประเทศ • หาพันธมิตรกับผู้ประกอบการขนส่งในประเทศเพื่อนบ้าน • พัฒนาคุณภาพการให้บริการในระดับมาตรฐานสากล • พัฒนาบุคคลากรด้านภาษา
Customs Transit System • การจัดตั้งองค์กรค้ำประกัน • การกำหนดวงเงินค้ำประกัน • การจัดทำบันทึกความเข้าใจระหว่างหน่วยงานด้านศุลกากรและองค์กรค้ำประกัน • การจัดทำบันทึกความเข้าใจระหว่างองค์กรค้ำประกันและผู้ประกอบการขนส่งระหว่างประเทศ • จัดการฝึกอบรมให้กับเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง