420 likes | 582 Views
การประชุม เพื่อรับฟังความคิดเห็น เกี่ยวกับแผนพัฒนาจังหวัด (พ.ศ.2553-2556). แนวทางการดำเนินงานตามพระราชกฤษฎีกา ว่าด้วยการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัด แบบบูรณาการ พ.ศ. 2551 และ การจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดเพชรบุรี (พ.ศ.2553-2556).
E N D
การประชุม เพื่อรับฟังความคิดเห็น เกี่ยวกับแผนพัฒนาจังหวัด (พ.ศ.2553-2556)
แนวทางการดำเนินงานตามพระราชกฤษฎีกาแนวทางการดำเนินงานตามพระราชกฤษฎีกา ว่าด้วยการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัด แบบบูรณาการ พ.ศ. 2551 และ การจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดเพชรบุรี (พ.ศ.2553-2556)
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ พ.ศ. 2551ได้รับการประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 125 ตอนที่ 137 ก เมื่อวันที่ 30 ธันวาคม 2551 มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 31 ธันวาคม 2551 3 3
กลไกการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการกลไกการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ คณะกรรมการนโยบายการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัด แบบบูรณาการ (ก.น.จ.) นายกรัฐมนตรี เป็นประธาน ระดับชาติ (มาตรา 7) คณะกรรมการบริหารงานกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ (ก.บ.ก.) หัวหน้ากลุ่มจังหวัด เป็นประธาน ระดับกลุ่มจังหวัด (มาตรา 12) คณะกรรมการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ (ก.บ.จ.) ผู้ว่าราชการจังหวัด เป็นประธาน ระดับจังหวัด (มาตรา 10) การสรรหาคณะกรรมการที่เป็นผู้แทนส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หน่วยงานอื่น ผู้แทน อปท. และภาคประชาสังคม ให้เป็นไป ตามที่ ก.น.จ. กำหนด หมายเหตุ
ความหมาย แผนพัฒนาจังหวัด • เป็นรายการเกี่ยวกับโครงการและแผนงานต่างๆ ของจังหวัดที่จำเป็นต้องจัดทำเพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์และทิศทางการพัฒนาของจังหวัด ในอนาคต (มาตรา 3) • โดยต้องคำนึงถึงความต้องการและศักยภาพของประชาชนในท้องถิ่น ในจังหวัด รวมตลอดถึง ความพร้อมของภาครัฐและภาคธุรกิจเอกชน และยุทธศาสตร์ระดับชาติ (มาตรา 18) • มีกระบวนการรับฟังหรือให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการกำหนดความต้องการในการพัฒนาพื้นที่ของจังหวัดมาพิจารณาให้เกิดความผสมผสานไม่ขัดแย้งในด้านใดด้านหนึ่ง • มีระยะเวลา 4 ปี ระยะเวลาของแผนพัฒนาจังหวัด (มาตรา 18)
ขอบเขตของแผนพัฒนาจังหวัดขอบเขตของแผนพัฒนาจังหวัด องค์ประกอบแผนพัฒนาจังหวัด (มาตรา 18) • อย่างน้อยต้องระบุรายละเอียดของ • - วิสัยทัศน์ • - ประเด็นยุทธศาสตร์ • - เป้าประสงค์ • - ตัวชี้วัด • - ค่าเป้าหมาย และ • - กลยุทธ์ เป็นแผนที่มุ่งการพัฒนาจังหวัดแบบองค์รวมที่ครอบคลุมทุกมิติในด้านเศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมและความมั่นคง เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต และตอบสนองต่อความต้องการของประชาชนในจังหวัด
ความหมาย แผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด • เป็นแผนที่แปลงแผนพัฒนาจังหวัดไปสู่การปฏิบัติ โดยระบุถึงโครงการต่างๆ ที่จำเป็นต้องดำเนินการในจังหวัดในแต่ละปีงบประมาณเพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์และทิศทางการพัฒนาของจังหวัด ทั้งนี้ ไม่ว่าโครงการนั้นจะดำเนินการโดยจังหวัด กระทรวง ทบวง กรม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือหน่วยงานอื่นใดของรัฐ หรือเอกชน (มาตรา 3) องค์ประกอบ (มาตรา 25) • อย่างน้อยต้องระบุ - รายละเอียดของโครงการ - เป้าหมายและผลสัมฤทธิ์ของงาน - หน่วยงานผู้รับผิดชอบ และ - งบประมาณที่จะต้องใช้ดำเนินการ โดยต้องมีการระบุให้ชัดเจนว่าโครงการหรืองานใดที่จังหวัดประสงค์จะขอตั้ง งบประมาณจากสำนักงบประมาณโดยตรง
ความเชื่อมโยง ระหว่างแผนพัฒนาจังหวัด แผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัดและ คำของบประมาณจังหวัด แผนพัฒนาจังหวัด แผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด มาตรา 28 เมื่อคณะรัฐมนตรีพิจารณาให้ความเห็นชอบกันแผนพัฒนาจังหวัดและแผนปฏิบัติราชการประจำปี ของจังหวัดตามที่ ก.น.จ.เสนอแล้ว ให้ ก.น.จ. ส่งให้สำนักงบประมาณเพื่อใช้ในการจัดสรรงบประมาณ โดยสำนักงบประมาณต้องดำเนินการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจำปีให้เพียงพอต่อการดำเนินงานตาม แผนปฏิบัติราชการของจังหวัด การส่งแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัดตามวรรคหนึ่ง ให้ถือว่าจังหวัดได้ยื่น คำของบประมาณต่อสำนักงบประมาณตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณแล้วเฉพาะ ในส่วนที่เกี่ยวกับงบประมาณของจังหวัด
แหล่งเงินงบประมาณภายในจังหวัดแหล่งเงินงบประมาณภายในจังหวัด งบประมาณ จังหวัด งบกลางตามนโยบายรัฐบาล เช่น SML/ งบชายแดนภาคใต้ งบของหน่วยงาน (Function) ที่ดำเนินการในภูมิภาค งบอุดหนุนขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น 10
การจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดเพชรบุรีการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดเพชรบุรี (พ.ศ.2553-2556)
แนวทางการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดแนวทางการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด ดำเนินการตามแนวทางที่กำหนดในพระราชกฤษฎีกาฯ สอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาล แนวทางการพัฒนาใน ระดับชาติ ระดับภาค ศักยภาพและยุทธศาสตร์จังหวัด สอดคล้องกับความต้องการของประชาชนในจังหวัด ผ่านการรับฟังความคิดเห็นจากทุกภาคส่วนในจังหวัด
กระบวนการและขั้นตอนการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดกระบวนการและขั้นตอนการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด รวบรวมข้อมูลศักยภาพของจังหวัดและสำรวจความต้องการของ ประชาชนในจังหวัด แต่งตั้งองค์กรในการจัดทำแผน - ก.บ.จ. >> ผวจ.เป็นประธาน - คณะทำงานกลั่นกรองจัดทำแผนตามประเด็นยุทธศาสตร์ฯ 4 คณะ - คณะอนุกรรมการรวบรวมความคิดเห็นในระดับอำเภอ ก.บ.จ. พิจารณาให้ความเห็นชอบแผนพัฒนาจังหวัด จัดประชุมเพื่อรับความคิดเห็นเกี่ยวกับแผนพัฒนาจังหวัด
สาระสำคัญของแผนพัฒนาจังหวัดเพชรบุรีสาระสำคัญของแผนพัฒนาจังหวัดเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี ข้อมูลทั่วไป เนื้อที่ 6,225.138 ตร.กม.(3,890,711 ไร่) ประชากร 458,975 คน (31 ธันวาคม 2551) 8 อำเภอ 93 ตำบล 698 หมู่บ้าน GPP53,241 ล้านบาท รายได้ต่อหัว 117,131 บาท จำนวนนักท่องเที่ยว 3,912,817 คน รายได้จากการท่องเที่ยว 8,846 ล้านบาท ลำดับที่ 33 ของประเทศ ลำดับที่ 18 ของประเทศ
ศักยภาพการพัฒนา จุดแข็ง ทรัพยากรธรรมชาติ , แหล่งท่องเที่ยวที่หลากหลาย อยู่ใกล้กรุงเทพฯ อำเภอต่างๆอยู่ใกล้ตัวจังหวัด สินค้าขึ้นชื่อ (ขนมหม้อแกง, ข้าวแกง, ชมพู่,มะนาว, กล้วยหอมทอง ฯลฯ) มีแหล่งเรียนรู้ สถาบันการศึกษา โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ พื้นที่เหมาะสมต่อการศึกษาวิจัย เรื่องพืชและสัตว์ มีทุนทางสังคมสูงมีองค์กรชุมชนภาคประชาสังคมที่เข็มแข็ง มีวัฒนธรรมเป็นของตนเอง มีตลาดกลางสินค้าเกษตรในพื้นที่
ศักยภาพการพัฒนา จุดอ่อน ทรัพยากรธรรมชาติและแหล่งท่องเที่ยวเสื่อมโทรม มีปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งแม่น้ำและทะเลอย่างรุนแรง ขาดการบริหารจัดการแหล่งท่องเที่ยวอย่างเป็นระบบ ขาดการเชื่อมโยง แหล่งท่องเที่ยวภายในจังหวัด ขาดระบบขนส่งมวลชนที่เป็นระบบ (สถานีขนส่งเต็มรูปแบบ) ระบบบริหารจัดการน้ำยังไม่มีประสิทธิภาพเต็มที่ เกษตรกรขาดความรู้ด้านการวางแผนการผลิตและการตลาด เส้นทางคมนาคมสายหลักก่อสร้างล่าช้าทำให้การคมนาคมไม่คล่องตัว และไม่ปลอดภัย
โอกาส ความสนใจการท่องเที่ยวรูปแบบใหม่ๆ เปิดโอกาสในการพัฒนา การท่องเที่ยวหลากหลายรูปแบบ นโยบายการส่งเสริมการท่องเที่ยวชายฝั่งทะเลอ่าวไทยฝั่งตะวันตก (Royal Coast) ของรัฐบาล นโยบายส่งเสริมให้ประเทศไทยเป็นครัวโลกและความตื่นตัว ด้านสุขภาพ อยู่ในเขตส่งเสริมการลงทุนเขตที่ 3 มีสถานศึกษานานาชาติในพื้นที่ช่วยประชาสัมพันธ์จังหวัดเพชรบุรี ความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยีทำให้ผู้ประกอบการสามารถใช้เป็น ช่องทางในการสื่อสารทางธุรกิจมากขึ้น
ภัยคุกคาม ภาวะวิกฤติเศรษฐกิจทั่วโลก เศรษฐกิจของประเทศถดถอย วิกฤติการณ์ด้านพลังงาน ภาวะโลกร้อน การเมืองระดับชาติขาดเสถียรภาพ
ยุทธศาสตร์จังหวัดเพชรบุรียุทธศาสตร์จังหวัดเพชรบุรี
วิสัยทัศน์จังหวัด เพชรบุรีเป็นเมืองประวัติศาสตร์ที่มีชีวิต น่าอยู่ น่าเที่ยว เป็นแหล่งผลิตอาหารปลอดภัย และอุตสาหกรรมสะอาด
เป้าประสงค์จังหวัด ทำให้เพชรบุรีน่าอยู่ 1 ทำให้เพชรบุรีน่าเที่ยว 2 เพิ่มผลผลิตทางการเกษตร ประมงและอาหารที่ปลอดภัย เพื่อการส่งออกและบริโภค ภายในประเทศ 3 เพิ่มศักยภาพผู้ผลิต/สินค้า SMEsและ OTOP เพิ่มรายได้ ให้แก่ชุมชนและท้องถิ่น และมี เครือข่ายผู้ประกอบการ 4
การทำให้เพชรบุรีสวย สะอาด มั่นคง ปลอดภัย สังคม และชุมชนเข้มแข็ง ประชาชนได้รับบริการ ที่ดีจากรัฐ (9 กลยุทธ์) ประเด็นยุทธศาสตร์ 1 การพัฒนาให้เป็นเมืองท่องเที่ยว สถานที่ประชุม สัมมนา กิจกรรมนันทนาการ และเป็นแหล่งเรียนรู้ ชุมชนธรรมชาติและการเกษตร (6 กลยุทธ์) 2 การเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร ประมงและ อาหารที่ปลอดภัย เพื่อการส่งออกและ บริโภคภายในประเทศ ( 7 กลยุทธ์) 3 การส่งเสริมอุตสาหกรรม SMEsและ OTOP (6 กลยุทธ์) 4
กลยุทธ์ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 1.1วางแผนการใช้ประโยชน์พื้นที่ที่เหมาะสม 1.2 พัฒนาสิ่งแวดล้อมเมือง ชายฝั่งและแม่น้ำสายหลัก 1.3 การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ภายใต้การมีส่วนร่วมของ ภาคประชาชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 1.4 สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ พัฒนาคนโดยยึดคุณธรรมนำความรู้และจริยธรรม เตรียมความพร้อมให้สอดคล้องกับการพัฒนาและการแข่งขันของประเทศ 1.5 สร้างเสริมคุณภาพชีวิตของประชาชน 1.6 สร้างเสริมความมั่นคงปลอดภัยในชีวิต และทรัพย์สินของประชาชน 1.7 สร้างเสริมความเข้มแข็งของชุมชนเชิงบูรณาการ ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง 1.8 สร้างเสริมระบบการบริหารจัดการที่ดีและพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศ และ บริการทุกภาคส่วน 1.9 ส่งเสริมและพัฒนาพลังงานทดแทนและการอนุรักษ์พลังงานควบคู่กับสิ่งแวดล้อม โดยการมีส่วนร่วม
กลยุทธ์ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 2.1 พัฒนาบุคลากรด้านการท่องเที่ยว 2.2 พัฒนาและส่งเสริมเส้นทางท่องเที่ยว สาธารณูปโภคพื้นฐาน และสิ่งอำนวยความสะดวก 2.3 พัฒนาเครือข่ายข้อมูลสารสนเทศและการประชาสัมพันธ์เพื่อ การท่องเที่ยว 2.4 ส่งเสริมและพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว 2.5 ส่งเสริมกิจกรรมการท่องเที่ยว ด้านประชุมสัมมนา การเกษตร การท่องเที่ยวเชิงนิเวศประวัติศาสตร์ ศิลปะ วัฒนธรรม ศาสนา ภูมิปัญญาท้องถิ่น สุขภาพ การกีฬา และนันทนาการ 2.6 สร้างความมั่นใจ สะดวกปลอดภัย แก่นักท่องเที่ยว
กลยุทธ์ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 3.1 ส่งเสริมและขยายผลการดำเนินงานตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเกษตร ทฤษฎีใหม่ เกษตรอินทรีย์ โดยใช้โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ เป็นต้นแบบ 3.2 พัฒนาแหล่งกักเก็บน้ำสำรองของท้องถิ่น และดำเนินการระบบ ชลประทานให้ครอบคลุม 3.3 กำหนดเขตการปลูกพืชเศรษฐกิจที่สำคัญในแต่ละอำเภอ 3.4 ส่งเสริมการตลาดทั้งในและต่างประเทศ รวมทั้งการแลกเปลี่ยนผลผลิต ทางการเกษตรกับจังหวัดอื่นๆ 3.5 บูรณาการแผนฝึกอบรมของส่วนราชการลงสู่พื้นที่ร่วมกัน 3.6 ส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตร อาหารที่ปลอดภัย และมีคุณภาพตาม เกณฑ์มาตรฐาน 3.7 รณรงค์การใช้ปุ๋ยอินทรีย์/ชีวภาพ ลดการใช้ปุ๋ยเคมี และยากำจัดศัตรูพืช
กลยุทธ์ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 4.1 สร้างเสริมความรู้ให้ชุมชนนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาพัฒนา สินค้า SMEs /OTOPวิสาหกิจชุมชน และกลุ่มอาชีพ 4.2 พัฒนามาตรฐาน การผลิต และบรรจุภัณฑ์ สินค้า SMEsและ OTOP วิสาหกิจชุมชน และกลุ่มอาชีพ 4.3 ส่งเสริมด้านการตลาดสินค้า SMEs/OTOP วิสาหกิจชุมชนและกลุ่มอาชีพ 4.3 สร้างเสริมความรู้ด้านการบริหารจัดการ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่าง กลุ่มและการเชื่อมโยงเครือข่ายผลิตภัณฑ์ สู่การแข่งขันในระดับสากล 4.5 สนับสนุนให้โรงงานอุตสาหกรรมใช้เทคโนโลยีการผลิตที่สะอาดสามารถ อยู่ได้กับชุมชนและสิ่งแวดล้อม 4.6 พัฒนาศักยภาพ และสมรรถนะของ ผู้ใช้แรงงาน เพื่อเข้าสู่อุตสาหกรรม เป้าหมาย
- ศูนย์กลางการค้า ขนส่ง บริการ การวิจัยด้านพืชและประมง - การรักษาทรัพยากรธรรมชาติ แก้ไขปัญหาการกัดเซาะชายฝั่ง - การพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ และสุขภาพ กรอบแนวทางประกอบในการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด นโยบายรัฐบาล • นโยบายเร่งด่วนตามแผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ • นโยบายด้านเศรษฐกิจ สังคม • ทรัพยากรธรรมชาติฯ ความมั่นคงฯ • และการบริหารจัดการ ยุทธศาสตร์การพัฒนา ภาคกลาง
- แหล่งน้ำเพื่อการเกษตร - ราคาผลผลิต ตกต่ำ ต้นทุนสูง คุณภาพสินค้า - โครงสร้างพื้นฐาน - น้ำอุปโภค บริโภค - ทรัพยากรธรรมชาติ เสื่อมโทรม - ครอบครัว สังคม ยาเสพติด ผู้ด้อยโอกาส และคนชรา - แหล่งท่องเที่ยวเสื่อมโทรม แนวทางการพัฒนาจังหวัด • ส่งเสริมการท่องเที่ยว • ส่งเสริมการเกษตร และอาหาร • ปลอดภัย • ส่งเสริมการพัฒนาเชิงอนุรักษ์ • ส่งเสริมอุตสาหกรรมSMEs • และOTOP ปัญหาความต้องการ ของประชาชน
สรุปภาพรวมโครงการตามแผนพัฒนาจังหวัดสรุปภาพรวมโครงการตามแผนพัฒนาจังหวัด
ประเด็น จำนวนโครงการ งบประมาณ 1 44 137,885,300 2 24 163,868,600 3 77 200,039,100 4 5 8,583,000 รวม 150 510,376,000 สรุปภาพรวมแผนปฏิบัติการจังหวัดประจำปี 2553 (ด้านงบประมาณ)
แยกงบประมาณตามประเด็นยุทธศาสตร์จังหวัดแยกงบประมาณตามประเด็นยุทธศาสตร์จังหวัด 1.68 % 27.02% 39.19 % 32.11 %
ตัวอย่างโครงการที่สำคัญตามประเด็นยุทธศาสตร์ตัวอย่างโครงการที่สำคัญตามประเด็นยุทธศาสตร์ ประเด็นที่ 1 โครงการ : แก้ไขปัญหาความยากจน ระดับครัวเรือนจังหวัดเพชรบุรี ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง งบประมาณ : 27,000,000 บาท หน่วยงานรับผิดชอบ : สนง.พัฒนา ชุมชนจังหวัด
ตัวอย่างโครงการที่สำคัญตามประเด็นยุทธศาสตร์ตัวอย่างโครงการที่สำคัญตามประเด็นยุทธศาสตร์ ประเด็นที่ 1 โครงการ : ก่อสร้างท่อรวบรวมน้ำเสียในถนน สาย 3173-3176 และทางสาย เพชรบุรี-ผ่านแหลม(ฝั่งซ้าย)เชื่อม ต่อกับที่รวบรวมนำเสียเทศบาล เมืองเพชรบุรี ต.ธงชัย งบประมาณ : 16,230,000 บาท หน่วยงานรับผิดชอบ : สนง.โยธาธิการและ ผังเมืองจังหวัด
ตัวอย่างโครงการที่สำคัญตามประเด็นยุทธศาสตร์ตัวอย่างโครงการที่สำคัญตามประเด็นยุทธศาสตร์ ประเด็นที่ 1 โครงการ : ขุดลอกคลองบางจากตลอดสาย เพื่อแก้ไขปัญหาน้ำท่วมในพื้นที่ ต.หัวสะพาน งบประมาณ : 5,864,000 บาท หน่วยงานรับผิดชอบ : ที่ทำการปกครอง อ.เมืองเพชรบุรี
ตัวอย่างโครงการที่สำคัญตามประเด็นยุทธศาสตร์ตัวอย่างโครงการที่สำคัญตามประเด็นยุทธศาสตร์ ประเด็นที่ 2 โครงการ : จัดสร้างอุทยานเฉลิมพระเกรียติพระบาท สมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (งานปรับปรุงภูมิทัศน์) งบประมาณ : 45,000,000 บาท หน่วยงานรับผิดชอบ : สนง.วัฒนธรรมจังหวัด โครงการ : ติดตั้งไฟฟ้าแสงสว่าง (Light up) 9 วัด สนับสนุนการท่องเที่ยวภาคกลางคืน งบประมาณ : 8,976,000 บาท หน่วยงานรับผิดชอบ : สนง.พระพุทธศาสนาจังหวัด
ตัวอย่างโครงการที่สำคัญตามประเด็นยุทธศาสตร์ตัวอย่างโครงการที่สำคัญตามประเด็นยุทธศาสตร์ ประเด็นที่ 2 โครงการ : เพิ่มประสิทธิภาพในการรักษา ความปลอดภัยแก่นักท่องเที่ยว และประชาชนในจังหวัดเพชรบุรี (ติดตั้งกล้อง CCTV14 จุด) งบประมาณ : 2,940,000 บาท หน่วยงานรับผิดชอบ : ตำรวจภูธรจังหวัด
ตัวอย่างโครงการที่สำคัญตามประเด็นยุทธศาสตร์ตัวอย่างโครงการที่สำคัญตามประเด็นยุทธศาสตร์ ประเด็นที่ 3 โครงการ : อนุรักษ์และพัฒนาการผลิตชมพู่ เพชรสายรุ้ง งบประมาณ : 874,990 บาท หน่วยงานรับผิดชอบ : สนง.เกษตรจังหวัด โครงการ : เพิ่มประสิทธิภาพการปรับปรุง ฟาร์มแพะเนื้อของจังหวัดเพชรบุรี ให้ได้มาตรฐาน งบประมาณ : 746,400 บาท หน่วยงานรับผิดชอบ : สนง.ปศุสัตว์จังหวัด
ตัวอย่างโครงการที่สำคัญตามประเด็นยุทธศาสตร์ตัวอย่างโครงการที่สำคัญตามประเด็นยุทธศาสตร์ ประเด็นที่ 3 โครงการ : ส่งเสริมการผลิตผักปลอดสารพิษ ระบบอีแวป งบประมาณ : 1,000,000 บาท หน่วยงานรับผิดชอบ : สนง.สหกรณ์จังหวัด
ตัวอย่างโครงการที่สำคัญตามประเด็นยุทธศาสตร์ตัวอย่างโครงการที่สำคัญตามประเด็นยุทธศาสตร์ ประเด็นที่ 4 โครงการ : ส่งเสริมการตลาดกลุ่มอาชีพ หนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์และ แหล่งช่องทางการตลาดสินค้า ผลิตภัณฑ์ชุมชนของกลุ่มอาชีพ กลุ่มวิสาหกิจชุมชน OTOP และผลิตภัณฑ์ชุมชนสู่สากล งบประมาณ : 4,700,000 บาท หน่วยงานรับผิดชอบ : สนง.พัฒนา ชุมชนจังหวัด
ตัวอย่างโครงการที่สำคัญตามประเด็นยุทธศาสตร์ตัวอย่างโครงการที่สำคัญตามประเด็นยุทธศาสตร์ ประเด็นที่ 4 โครงการ : ส่งเสริมเพิ่มศักยภาพด้านการผลิต การบริหารจัดการ แลกเปลี่ยน เรียนรู้กลุ่ม OTOP/SMEs วิสาหกิจชุมชน และกลุ่มอาชีพ งบประมาณ : 1,387,000 บาท หน่วยงานรับผิดชอบ : สนง.พาณิชย์จังหวัด