280 likes | 996 Views
อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งกับ แผน บูรณา การกระทรวงสาธารณสุข ปี 2558. นายแพทย์กฤษฎา มโหทาน นายแพทย์ทรงคุณวุฒิฯ. การประชุมเชิงปฏิบัติการ “ การพัฒนาแนวทางเพื่อการพัฒนาการดำเนินงานอำเภอ ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ” ปี 2558 ณ โรงแรมคลาสสิค คามิโอ อำเภอเมือง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
E N D
อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งกับแผนบูรณาการกระทรวงสาธารณสุข ปี 2558 นายแพทย์กฤษฎา มโหทาน นายแพทย์ทรงคุณวุฒิฯ การประชุมเชิงปฏิบัติการ “การพัฒนาแนวทางเพื่อการพัฒนาการดำเนินงานอำเภอ ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปี 2558 ณ โรงแรมคลาสสิค คามิโอ อำเภอเมือง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา วันที่ 17-19 กันยายน 2557
Road Map การดำเนินงานของกระทรวงสาธารณสุข • ระยะเร่งด่วน • โครงการรวมใจปรองดองสมานฉันท์ • การพัฒนาระบบบริการให้ดียิ่งขึ้น • สร้างขวัญกำลังใจ • ธรรมมาภิบาลและกลไกตรวจสอบ ถ่วงดุล • บำบัดรักษา ฟื้นฟู ผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติด และการเฝ้าระวังควบคุมการใช้ วัตถุเสพติด • ระยะกลาง • การปฏิรูประบบเขตบริการสุขภาพ • การปฏิรูประบบการเงินการคลัง • พัฒนาระบบข้อมูลด้านสุขภาพ • การพัฒนาและบังคับใช้กฎหมาย • การพัฒนากลไกสร้างเอกภาพในการกำหนดนโยบายสาธารณสุข (NHAB) • เสริมสร้างความพร้อมรองรับประชาคมอาเซีย • พัฒนางานสาธารณสุขชายแดนแรงงานต่างด้าว • ระยะยาว • จัดทำแผนการลงทุนของกระทรวงสาธารณสุข • จัดทำแผนการผลิตและพัฒนากำลังคน ปีงบประมาณ 2558 (ต.ค.57-ก.ย.58) – 2559 (ต.ค.58-ก.ย.59) ปีงบประมาณ 2560 ปีงบประมาณ 2557 (มิ.ย.-ก.ย.) • ได้พบแพทย์ รอไม่นาน อยู่ใกล้ ไกลได้รับยาเดียวกัน • ผู้ป่วยฉุกเฉินทุกสิทธิปลอดภัย • ผู้สูงอายุและคนพิการได้รับการดูแลฟื้นฟูต่อเนื่อง • มีกลไกการอภิบาลระบบที่เป็นระบบคุณธรรม • ประชาชนที่ได้รับผลกระทบด้านสังคมจิตใจ ได้รับการเยี่ยวยา • ผู้เสพ ผู้ติดยาและสารเสพติด ได้รับการบำบัดรักษา ฟื้นฟูตามเกณฑ์ที่กำหนด • มีกลไกกำหนดและกำกับนโยบายสาธารณสุขในระดับชาติ • ลดความเหลื่อมล้ำสิทธิรักษาพยาบาลระหว่างกองทุน • มีระบบบริการแบบเขตบริการสุขภาพ 12 เขต • ประชาชนเข้าถึงบริการได้มากขึ้น ระบบบริการมีคุณภาพและประสิทธิภาพ • ประชาชนได้รับการส่งต่อแบบเบ็ดเสร็จ ไร้รอยต่อในเขตบริการสุขภาพ • ประชาชานทั่วไปมีภูมิคุ้มกันและความเข้มแข็งทางจิตใจ • ระบบบริการของประเทศมีศักยภาพรองรับประชาคมอาเซียน • ประชาชนในพื้นทีชายแดน ชายขอบ และแรงงานต่างด้าว สามารถเข้าถึง บริการสาธารณสุขที่มีคุณภาพ • ประชาชนได้รับความเท่าเทียมในการรับบริการ • ระบบสุขภาพมีคุณภาพ มีประสิทธิภาพ สมาฉันท์ บนการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน ประชาชนสุขภาพดี เจ้าหน้าที่มีความสุข • ประชาชนได้รับความคุ้มครองภายใต้กฎหมายด้านสุขภาพ
วิสัยทัศน์ ภายในทศวรรษต่อไป คนไทยทุกคนจะมีสุขภาพแข็งแรงเพิ่มขึ้น เพื่อสร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศทั่งทางตรงและทางอ้อมอย่างยั่งยืน พันธกิจ 1) กำหนดนโยบาย มาตรฐาน กฎหมาย และบริหารจัดการบนฐานข้อมูลที่มีคุณภาพและการจัดการความรู้ รวมถึงการติดตามกำกับประเมินผล (Regulator) 2) จัดระบบบริการตั้งแต่ระดับปฐมภูมิจนถึงบริการศูนย์ความเป็นเลิศที่มีคุณภาพครอบคลุม และระบบส่งต่อที่ไร้รอยต่อ (Provider) เป้าหมาย 1) อายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิด ไม่น้อยกว่า 80 ปี 2) อายุคาดเฉลี่ยของการมีสุขภาพดี ไม่น้อยกว่า 72 ปี ยุทธศาสตร์ที่ 1 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาและจัดระบบบริการ ที่มีคุณภาพมาตรฐาน ครอบคลุม ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการได้ พัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการ พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย • กลุ่มเด็กปฐมวัย (0-5 ปี) /สตรี • กลุ่มเด็กวัยเรียน (5-14 ปี) • กลุ่มเด็กวัยรุ่น/นักศึกษา (15-21 ปี) • กลุ่มวัยทำงาน • กลุ่มผู้สูงอายุและผู้พิการ • บุคลากร • การเงินการคลัง • ยาและเวชภัณฑ์ • ระบบข้อมูล • การบริหารจัดการ • การเข้าถึงบริการ • คุณภาพบริการ • คุณภาพการบำบัดรักษา
บูรณาการงบประมาณ กสธ 5 กลุ่มวัย 4 ระบบ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ยุทธศาสตร์บูรณาการ 4 ระบบ ยุทธศาสตร์บูรณาการ 5 กลุ่มวัย กรมการแพทย์ ควบคุมโรค 1.ระบบบริการ 1.กลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย 2.ระบบควบคุมโรค 2.กลุ่มเด็กวัยเรียน แพทย์แผนไทย สุขภาพจิต 3.ระบบคุ้มครองผู้บริโภค 3.กลุ่มเด็กวัยรุ่น 4.กลุ่มวัยทำงาน อย. 4.ระบบสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ กรมวิทย์ฯ 5.กลุ่มผู้สูงอายุและผู้พิการ สบส. อนามัย
คณะกรรมการบูรณาการยุทธศาสตร์ระดับกระทรวงคณะกรรมการบูรณาการยุทธศาสตร์ระดับกระทรวง 5
นโยบาย หลักการ การบูรณาการยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข (25 มี.ค. 57) • ร่วมวางเป้าหมายและยุทธศาสตร์ การบูรณาการแต่ละด้าน • ร่วมจัดเรียงลำดับความสำคัญ • ร่วมจัดทำแผนงาน/โครงการ ผลิต กิจกรรม ระบบงบประมาณให้ชัดเจน เสนอขอปรับปรุงกับสำนักงบประมาณต่อไป • ร่วมบูรณาการ การบริหารจัดการงบประมาณ ขาขึ้น และขาลง • ร่วมคัดเลือกตัวชี้วัดที่จะใช้ในการติดตามประเมินผล (M&E)ที่ส่งผลกระทบต่อการพัฒนาสุขภาพประชาชนที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด โดยมีเป้าหมายให้ระดับพื้นที่ มีจำนวนตัวชี้วัดน้อยลงกว่าเดิม
การขับเคลื่อนจุดเน้น 5 ปี สู่การปฏิรูปกรมควบคุมโรค กรอบแนวคิดการจัดทำจุดเน้น 5 ปี สู่การปฏิรูปกรมควบคุมโรค M&E จุดเน้น (Policy Agenda) • ประเด็นการพัฒนาเชิงระบบ • Surveillance • KM/KT/STD/TA • HRD • ประเด็นโรคและภัยสุขภาพ • โรค A • โรค B • โรค C • ......... มาตรการการดำเนินงานที่มีประสิทธิภาพส่งผลต่อการลดโรคและภัยสุขภาพ พื้นที่ดำเนินการ (Setting) ที่เป็นเป้าหมาย คุณลักษณะอำเภอเข้มแข็งควบคุมโรคA, B, C…….. อำเภอที่เป็นพื้นที่เสี่ยง อำเภอที่เป็นพื้นที่ปกติ อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ***อำเภอเข้มแข็งต้นแบบที่มีความเข้มแข็งของการจัดการป้องกันควบคุมโรค โดยสามารถลดโรคและภัยสุขภาพในพื้นที่ตนเองอย่างน้อย 10 โรค (ทั้งนโยบายและพื้นที่) มีจำนวนไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ในระยะ 5 ปี
11 บทบาท ที่มา : สนย. สป. วันที่ 26 มิ.ย. 57 การกำหนดนโยบายยุทธศาสตร์กลางของประเทศบนข้อมูลและฐานความรู้ การสร้างและจัดการความรู้ด้านสุขภาพ การประเมินนโยบายและเทคโนโลยีด้านสุขภาพ การกำหนดและรับรองมาตรฐานบริการต่าง ๆ การพัฒนาระบบกลไกการเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน การพัฒนากลไกด้านกฎหมายเพื่อเป็นเครื่องมือในการดูแลสุขภาพประชาชน การพัฒนาความร่วมมือระหว่างประเทศหน่วยสื่อสารความรู้และขับเคลื่อน การกำกับดูแล ติดตาม และประเมินผลของภาครัฐ ท้องถิ่น และเอกชน การให้ข้อคิดเห็นต่อระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพของประเทศ การพัฒนาข้อมูลข่าวสารให้เป็นระบบเดียว มีคุณภาพ ใช้งานได้ การกำหนดนโยบาย และจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ
1) National Lead Policy Negotiation Strategic Implement Major Operational Plan Initiative 2) Model Development Technology Assessment CPG , Standard , Registration Law Enforcement Accreditation 3) Surveillance ดี - สถานการณ์ เสี่ยง - อัตราเสี่ยง / ป่วย ป่วย - อัตราตาย - เข้าถึงบริการ, ครอบคลุม - มีคุณภาพ 4) Technology Transfer Deployment To How, Social Communication 5) M&E, Problem Solving, Evaluation 5 หน้าที่ -Health Authorities ของกรม / สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ที่มา : สนย. สป. วันที่ 26 มิ.ย. 57
คณะกรรมการบูรณาการยุทธศาสตร์ระดับกระทรวงคณะกรรมการบูรณาการยุทธศาสตร์ระดับกระทรวง 10
อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง สู่เครือข่ายระบบสุขภาพอำเภอ รสอ.
ผลการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืนผลการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน บูรณาการสู่ระบบสุขภาพอำเภอ ปีงบประมาณ 2557
ที่มา: สำนักบริหารการสาธารณสุข, (รอบ 9 เดือน)
อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง ปี 2554 - 2557 ทั้งประเทศ จำนวนอำเภอ 878 ทั่งประเทศ ที่มา : ประมวลผลจากแบบประเมินตนเองระบบสุขภาพอำเภอ/อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน รอบที่ 2 ปี 2557, สำนักจัดการความรู้, http://www.kmddc.go.th/ ข้อมูล ณ วันที่ 3 กันยายน 2557
การดำเนินงานอำเภอเข้มแข็งภายใต้ระบบสุขภาพอำเภอ(DHS) ปี 57 ตามรายเขตบริการสุขภาพ (รอบ 9 เดือน) ร้อยละผ่านเกณฑ์ ที่มา : ประมวลผลจากแบบประเมินตนเองระบบสุขภาพอำเภอ/อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน รอบที่ 2 ปี 2557, สำนักจัดการความรู้, http://www.kmddc.go.th/ ข้อมูล ณ วันที่ 29 กรกฎาคม 2557
ประเด็นปัญหาโรคและภัยสุขภาพที่เลือกดำเนินการ 5 อันดับแรก ที่มา : จากการประมวลผลจากแบบประเมินตนเองระบบสุขภาพอำเภอ/อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน รอบที่ 2 ปี 2557, สำนักจัดการความรู้, http://www.kmddc.go.th
ข้อค้นพบเบื้องต้น • การสื่อสารขาดประสิทธิภาพไม่ชัดเจนและไม่ทั่วถึง โดยเฉพาะหน่วยปฏิบัติในพื้นที่ เกิดความสับสนเกี่ยวกับแนวทางการดำเนินงาน • ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการป้องกันควบคุมโรคของบุคลากร ทำให้ยังให้ความสำคัญต่อการขับเคลื่อนงาน ไม่เต็มประสิทธิภาพเท่าที่ควร • การ Key-in online ของบุคลากรยังแยกส่วนการรายงานระหว่าง DHSและอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งฯ • รายละเอียดของเกณฑ์การประเมินมาก ทำให้ต้องมีเอกสาร/หลักฐานที่ต้องประกอบจำนวนมาก อีกทั้งซ้ำซ้อนกัน (คุณลักษณะที่ 5 กับคุณลักษณะอื่น) • ขาดแรงจูงใจของบุคลากรในพื้นที่ • โรคและภัยบางประเด็นจำเป็นต้องใช้เวลาดำเนินการนานกว่าจะเห็นผล ซึ่งไม่สอดคล้องกับตัวชี้วัดที่คาดหวังสูง (ผลกระทบ) ซึ่งน่ามีตัวชี้วัด Process ของการดำเนินงานร่วมประกอบด้วย ที่มา: การสำรวจความคิดเห็นของเครือข่ายต่อการพัฒนาระบบสุขภาพและอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง ปี 2557
ทิศทางการดำเนินงาน ปี 2558
คณะกรรมการบูรณาการยุทธศาสตร์ระดับกระทรวงคณะกรรมการบูรณาการยุทธศาสตร์ระดับกระทรวง 20
อำเภอดำเนินการ DHS ประเด็นเฝ้าระวังโรค ได้อย่างมีมาตรฐาน (สำหรับอำเภอชายแดน มีข้อกำหนดเพิ่มเติม) ยุทธศาสตร์บูรณาการระบบควบคุมป้องกันโรคตรวจจับเร็ว ตอบโต้ทัน ป้องกันได้ • ศักยภาพทีม SRRT • SRRT สามารถดำเนินการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคได้ ครบวงจร • ระบบการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน • มีระบบข้อมูล Real time • พัฒนาศูนย์ปฏิบัติการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน • พัฒนาระบบสนับสนุนการปฏิบัติการ มาตรฐานกฎอนามัยระหว่างประเทศ • ระบบเฝ้าระวัง • บูรณาการระบบเฝ้าระวังโรค (5 ระบบ 5 มิติ) • พัฒนาเจ้าหน้าที่ทุกระดับ สามารถจัดการระบบเฝ้าระวังได้ ตรวจจับเร็ว ตอบโต้ทัน ควบคุมโรคและภัยในพื้นที่และกลุ่มเป้าหมายพิเศษ ระบบควบคุมโรคและภัย จังหวัดชายแดนที่เป็นเป้าหมายผ่านเกณฑ์การประเมินที่กำหนด • ประชากรต่างด้าว • พัฒนาระบบมูลประชากรต่างด้าว • จัดให้ประชากรต่างด้าวเข้าถึงบริการป้องกันควบคุมโรคขั้นพื้นฐาน • ช่องทางเข้าออก • ระบบเฝ้าระวังช่องทางเข้าออก • ระบบบริหารจัดการ • สมรรถนะ • สุขภาวะชายแดน • พัฒนาสุขภาวะชายแดนตามกรอบกฎอนามัยระหว่างประเทศ
“เส้นทาง” ส่งมอบคุณค่า จากกรมฯ ... สู่เครือข่าย Value chain ปัจจุบัน ปี 2558 กรม คร. เขตตรวจ กรม คร. เขตตรวจ • สำนัก/สถาบัน • Policy & Model Development • Surveillance / Survey / M&E ภาพรวมประเทศ ต้นน้ำ สำนัก/สถาบัน (R&D) คณะกรรมการ ระดับเขตฯ • สคร. • Technical Transfer • Surveillance / Survey / M&E ภาพรวมเขต กลางน้ำ สำนักงานเขตสุขภาพ สคร.(M&E) ปลายน้ำ จังหวัด จังหวัด
แนวทางสำคัญที่กรมควบคุมโรคสนับสนุนการดำเนินงานของเครือข่ายแนวทางสำคัญที่กรมควบคุมโรคสนับสนุนการดำเนินงานของเครือข่าย 1. ส่งมอบมาตรการที่สำคัญ (Intervention/Innovation) แบ่งเป็นมาตรการร่วมและมาตรการเฉพาะ 2. บูรณาการสิ่งที่สนับสนุนต่อเครือข่าย: มาตรฐาน (คลินิก/ตำบลจัดการสุขภาพ/อำเภอสุขภาพดี)คู่มือ ศักยภาพผู้ประเมิน หลักสูตร 3. เพิ่มคุณภาพการสื่อสารกับจังหวัด/เครือข่าย 4. M&E อย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง
DHS เป้าหมายกระทรวง : ร้อยละของอำเภอที่มี DHS เชื่อมโยงบริการปฐมภูมิกับชุมชนและท้องถิ่นอย่างมีคุณภาพ (>ร้อยละ 80) DHS/DC เป้าหมายกรมควบคุมโรค : ร้อยละของอำเภอที่ผ่านเกณฑ์คุณลักษณะอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน (ร้อยละ 90)
รายละเอียดงบประมาณจำแนกรายเขต สคร. ที่มา : จากการคำนวณตามจำนวนอำเภอที่รับผิดชอบของแต่ละ สคร.