380 likes | 807 Views
การประชุมเชิงปฏิบัติการครั้งที่ 1. การทบทวนและจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดลำปาง 4 ปี (พ.ศ. 2558 – 2561) และจัดทำแผนปฏิบัติราชการ ประจำปี พ.ศ. 2558. 22 พฤษภาคม 2556. ขอบเขตของการนำเสนอ. ทบทวนผลการประชุมระดมความคิดเห็นครั้งที่ 1 กรอบแนวคิดในการจัดทำ แผนพัฒนาจังหวัดลำปาง 4 ปี (พ.ศ. 2558 – 2561)
E N D
การประชุมเชิงปฏิบัติการครั้งที่ 1 การทบทวนและจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดลำปาง 4 ปี (พ.ศ. 2558 – 2561) และจัดทำแผนปฏิบัติราชการ ประจำปี พ.ศ. 2558 22 พฤษภาคม 2556
ขอบเขตของการนำเสนอ • ทบทวนผลการประชุมระดมความคิดเห็นครั้งที่ 1 • กรอบแนวคิดในการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดลำปาง 4 ปี (พ.ศ. 2558 – 2561) • การกำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจและประเด็นยุทธศาสตร์ • การกำหนดกลยุทธ์ต่างๆภายใต้ประเด็นยุทธศาสตร์ • แผนพัฒนาจังหวัดลำปาง พ.ศ.2557 – 2560 • บทสรุป
กระบวนการจัดทำร่างแผนพัฒนาจังหวัดลำปาง 4 ปี (พ.ศ. 2558 – 2561) 3
กรอบแนวคิดการจัดทำแผนยุทธศาสตร์พัฒนาจังหวัดลำปางกรอบแนวคิดการจัดทำแผนยุทธศาสตร์พัฒนาจังหวัดลำปาง กระบวนการพัฒนาแผนจังหวัดลำปาง พ.ศ. ๒๕๕๘-๒๕๖๑ แผนชุมชน ทบทวนสังเคราะห์ข้อมูล จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส อุปสรรค SWOT IFAS, EFAS, SFAS ระบุศักยภาพจังหวัดลำปาง ผลกระทบ๑๐ปี ผลกระทบ ๑๕ ปี TOWS Matrix ผลกระทบ ๒๐ ปี สำรวจปัญหาความต้องการ ผลกระทบ๓ปี ทบทวนแผนจังหวัดลำปาง ร่างแผนพัฒนาจังหวัดลำปาง ฉบับใหม่ ทบทวนแผนชุมชน ผลกระทบ ๔ ปี ทบทวนแผนจังหวัดเดิม แผนพัฒนาจังหวัด (ฉบับวิสัยทัศน์ ๒๐ ปี) ผลกระทบ ๕ ปี
กระบวนการดำเนินการ การมีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็น ผลลัพธ์ ลงพื้นที่หาข้อมูลทุติยภูมิ นำเสนอโครงการ เปิดตัวโครงการ ประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการครั้งที่ ๑ (กบจ. + ภาคี) ทบทวน +SWOT ประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการครั้งที่ ๒ (กบจ. + ภาคี) กรอบร่างแผนพัฒนาลำปาง การมีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็น การมีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็น ประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการครั้งที่ ๓ (กบจ. + ภาคี) แปลงแผนสู่แผนปฏิบัติ ประชุมสัมมนาฝึกอบรมทักษะพัฒนาบุคลากร (นอกสถานที่) ๒ วัน ประชาคม + ยืนยันแผน ประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการครั้งที่ ๔ (กบจ. + ภาคี) ร่างแผนยุทธศาสตร์แผนพัฒนาจังหวัดลำปางปี๒๕๕๘ ๒๕๖๑แผนปฏิบัติปี๕๘+ ข้อเสนอแนะ การมีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็น สัมมนาฝึกอบรมบุคลากรและดูงานนอกสถานที่ ๒ วัน ร่างแผนพัฒนาจังหวัดลำปางฉบับใหม่ ปี พ.ศ. ๒๕๕๘ – ๒๕๖๑ และ แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ. ๒๕๕๘ ร่างแผนยุทธศาสตร์ ปี ๒๕๕๘-๒๕๖๑
กรอบแนวคิดในการวางยุทธศาสตร์กรอบแนวคิดในการวางยุทธศาสตร์ IFASEFAS SFAS Environment Scanning แสกนสิ่งแวดล้อม S o W T ปัจจัยทั้งระบบ ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการวางแผน ระบุตำแหน่ง แผนยุทธศาสตร์ วิสัยทัศน์ IFAS= Internal Factor Analysis Summary EFAS =External Factor Analysis Summary SFAS=Strategic Factor Analysis Summary ประเด็นยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กลยุทธ์ กลยุทธ์ กลยุทธ์ โครงการ โครงการ โครงการ โครงการ KPI KPI KPI KPI
ผลการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและขีดความสามารถในการแข่งขันของ จังหวัดลำปาง (จุดแข็ง) 1. จุดแข็งข้อ 1 คงไว้ปรับปรุงใหม่ 2.จุดแข็งข้อ 2 คงไว้ปรับปรุงใหม่ 3.จุดแข็งข้อ 3 คงไว้ปรับปรุงใหม่ 4.จุดแข็งข้อ 4 คงไว้ปรับปรุงใหม่ 5.จุดแข็งข้อ 5 คงไว้ปรับปรุงใหม่ 6.จุดแข็งข้อ 6 คงไว้ปรับปรุงใหม่ 7.จุดแข็งข้อ 7 คงไว้ปรับปรุงใหม่ เหตุผล …………………………………………………………………………………………………………………………………………...............................................................................................
ผลการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและขีดความสามารถในการแข่งขันของ จังหวัดลำปาง (จุดอ่อน) 1.จุดอ่อนข้อ 1 คงไว้ปรับปรุงใหม่ 2.จุดอ่อนข้อ 2 คงไว้ปรับปรุงใหม่ 3.จุดอ่อนข้อ 3 คงไว้ปรับปรุงใหม่ 4.จุดอ่อนข้อ 4 คงไว้ปรับปรุงใหม่ 5.จุดอ่อนข้อ 5 คงไว้ปรับปรุงใหม่ 6.จุดอ่อนข้อ 6 คงไว้ปรับปรุงใหม่ 7.จุดอ่อนข้อ 7 คงไว้ปรับปรุงใหม่ 8.จุดอ่อนข้อ 8 คงไว้ปรับปรุงใหม่ เหตุผล …………………………………………………………………………………………………………………………………………...............................................................................................
ผลการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและขีดความสามารถในการแข่งขันของ จังหวัดลำปาง (โอกาส) 1.โอกาสข้อ 1 คงไว้ปรับปรุงใหม่ 2.โอกาสข้อ 2 คงไว้ปรับปรุงใหม่ 3.โอกาสข้อ 3 คงไว้ปรับปรุงใหม่ 4.โอกาสข้อ 4 คงไว้ปรับปรุงใหม่ 5.โอกาสข้อ 5 คงไว้ปรับปรุงใหม่ 6.โอกาสข้อ 6 คงไว้ปรับปรุงใหม่ เหตุผล …………………………………………………………………………………………………………………………………………...............................................................................................
ผลการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและขีดความสามารถในการแข่งขันของ จังหวัดลำปาง (ภัยคุกคาม) 1.ภัยคุกคามข้อ 1 คงไว้ปรับปรุงใหม่ 2.ภัยคุกคามข้อ 2 คงไว้ปรับปรุงใหม่ 3.ภัยคุกคามข้อ 3 คงไว้ปรับปรุงใหม่ 4.ภัยคุกคามข้อ 4 คงไว้ปรับปรุงใหม่ 5.ภัยคุกคามข้อ 5 คงไว้ปรับปรุงใหม่ 6.ภัยคุกคามข้อ 6 คงไว้ปรับปรุงใหม่ เหตุผล …………………………………………………………………………………………………………………………………………...............................................................................................
ผลการทบทวนแผนพัฒนาจังหวัดลำปาง พ.ศ. 2558 – 2561 12
ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อทิศทางการพัฒนาจังหวัดลำปาง พ.ศ. 2558 – 2561
แนวโน้มปัญหาและโอกาสในอีก 4 ปีข้างหน้า • ปัญหาเรื่องผลกระทบทางมลพิษด้านสิ่งแวดล้อม • ขณะที่ปัญหาด้านสังคมและอาชญากรรมในพื้นที่ต่างๆ ซึ่งต้นตอของปัญหาเกิดจากปัญหาการว่างงาน มีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร การย้ายถิ่นฐานจากคนต่างถิ่น เป็นต้น • การสร้างและการว่าจ้างแรงงานคนนอกท้องถิ่น ซึ่งได้รับการร้องเรียนและการต่อต้านจากประชาชนในพื้นที่ • ปัญหาแรงงานแฝงที่เกิดขึ้นคิดเป็นร้อยละ 10 หรือประมาณ 0.10 เท่าของประชากรจริง • ปัญหาเรื่องคุณภาพของแรงงานที่เข้าสู่ภาคอุตสาหกรรมซึ่งขาดแคลนทั้งในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ • ประเด็นต้นทุนที่เพิ่มขึ้นจากค่าแรง 300 บาทและต้นทุนพลังงานที่เพิ่มขึ้น รวมทั้งเงินเฟ้อที่เพิ่ม 1.8 เป็น 2.5 บาท • ปัญหาจากภาวะวิกฤติเศรษฐกิจของโลก ภูมิภาคและประเทศซึ่งจะส่งผลกระทบต่อการผลิตและการจำหน่ายผลผลิตของจังหวัดลำปาง รวมทั้งกระทบต่อการท่องเที่ยวของจังหวัด • ขณะที่ประเด็นเกี่ยวกับต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์ รวมถึงต้นทุนผลกระทบต่างๆ ทำให้การเข้ามาลงทุนหรือทำธุรกิจในจังหวัดลำปางมีต้นทุนเพิ่มสูงขึ้น ซึ่งจะเพิ่มต้นทุนและลดแรงจูงใจให้ผู้ประกอบการ • การเตรียมการกลายเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ในอีก 3 ปีข้างหน้า (พ.ศ. 2558) ที่ประเทศไทยจะเปิดเสรีร่วมกันกับอีก 9 ประเทศในกลุ่มประเทศอาเซียนเป็นต้น
การวิเคราะห์ตำแหน่งยุทธศาสตร์ของจังหวัดลำปาง พ.ศ. 2558 – 2561
การวิเคราะห์ทิศทางการจัดทำยุทธศาสตร์ของจังหวัดลำปางการวิเคราะห์ทิศทางการจัดทำยุทธศาสตร์ของจังหวัดลำปาง ทิศทางยุทธศาสตร์ปี 53-56: มุ่งตอบสนองปัญหา ความต้องการของประชาชนในภาคส่วนต่างๆ และการกระตุ้นอุตฯเซรามิกและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ทิศทางยุทธศาสตร์ปี 58-61: มุ่งที่จะพัฒนาจังหวัดให้เติบโตและพัฒนาโดยการสร้างความแตกต่างเชิงอนุรักษ์โดยบูรณการหลักเศรษฐกิจสร้างสรรค์ เทคโนโลยีสะอาดและเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อ รองรับการเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน • เหตุผล : • โอกาสจากการสนับสนุนของภาครัฐและความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยีและการผลิตรวมทั้งเปิดเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ซึ่งจะส่งจังหวัดอย่างยิ่งต่อระบบเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม • อุปสรรคจากการคุกคามจากต่างชาติและการเพิ่มขึ้นของผู้สูงอายุจะส่งผลต่อความสามารถในการแข่งขันของภาคเอกชนและความมั่นใจด้านการลงทุน การท่องเที่ยวและการค้าภายในจังหวัด การเปลี่ยน แปลงศักยภาพและสภาพ แวดล้อม สูง ต่ำ มีผลกระทบจากสภาพแวดล้อมด้านโอกาสและภัยคุกคามสูงแต่ศักยภาพยังเหมาะสมต้องเพิ่มกลยุทธ์เพิ่มขีดความสามารถมากขึ้น Efficiency มีผลกระทบจากสภาพแวดล้อมด้านโอกาสและภัยคุกคามสูงและศักยภาพเปลี่ยนแปลงมากต้องเปลี่ยนยุทธศาสตร์ใหม่ Radical Change มีผลกระทบจากสภาพแวดล้อมด้านโอกาสและภัยคุกคามต่ำ ยังสามารถเติบโตจากยุทธศาสตร์เดิมได้อีก Continuous มีผลกระทบจากสภาพแวดล้อมด้านโอกาสและภัยคุกคามต่ำ สามารถเติบโตและขยายเป้าหมายใหม่ๆได้ New Target ต่ำ สูง การปรับเปลี่ยนยุทธศาสตร์
บทสรุป ทิศทางเชิงยุทธศาสตร์สำหรับ แผนพัฒนาจังหวัดลำปาง 4 ปี (พ.ศ. 2558 – 2561) 17
แผนพัฒนาจังหวัดลำปางพ.ศ. ๒๕๕๘ - ๒๕๖๑ ร่างวิสัยทัศน์ (ใหม่ ) แผนพัฒนาจังหวัดลำปาง 4 ปี (พ.ศ. 2558 – 2561) วิสัยทัศน์ “เมืองแห่งนครเซรามิก (และหัตถอุตสาหกรรม) สู่เกษตรสร้างสรรค์ ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ สืบสานวัฒนธรรมวิถีลำปางเชื่อมโยงสู่ประตูอาเซียน” ภายใต้แนวคิด “นครลำปาง เป็นเลิศด้านเซรามิกและหัตถอุตสาหกรรม โดดเด่นด้านการท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติและวัฒนธรรม ผู้นำด้านการผลิตเกษตรปลอดภัย ร่วมสร้างสังคมลำปางอยู่ดีตามวิถีพอเพียง” (A Happiness City with place of Eco-Tourism and Global Quality and Standard of Agriculture Product, including Green Industry with Social Responsibility, and Effectively Contributing to ASEAN Economic Community) โดยยึดหลัก “การเป็นเมืองสืบสานวัฒนธรรมลำปาง – สร้างและพัฒนาคุณภาพชีวิตที่สมดุลและยั่งยืน – ภายใต้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” คงไว้ปรับปรุงใหม่
แผนพัฒนาจังหวัดลำปาง 4 ปี (พ.ศ. 2558 – 2561) 19
พันธกิจของจังหวัดลำปาง พ.ศ. 2558 – 2561 1. พันธกิจข้อ 1 คงไว้ปรับปรุงใหม่ 2. พันธกิจข้อ 2 คงไว้ปรับปรุงใหม่ 3. พันธกิจข้อ 3 คงไว้ปรับปรุงใหม่ 4. พันธกิจข้อ 4 คงไว้ปรับปรุงใหม่ 5. พันธกิจข้อ 5 คงไว้ปรับปรุงใหม่ เหตุผล ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… 1. เสริมสร้าง พัฒนาและยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขันให้อุตสาหกรรมเซรามิกและหัตถอุตสาหกรรมให้โดดเด่นและมีประสิทธิภาพเหนือคู่แข่งทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ 2. พัฒนาการท่องเที่ยวของจังหวัดให้มีมูลค่าทางเศรษฐกิจควบคู่กับการอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยวให้คงสภาพเดิม 3. ส่งเสริมให้มีการผลิตและจำหน่ายผลิตภัณฑ์เกษตรและเกษตรแปรรูปคุณภาพสากลกับสร้างมูลค่าเพิ่ม สอดคล้องกับความต้องการของตลาดทั้งภายในและต่างประเทศ 4. ส่งเสริมและพัฒนาการผลิตและจำหน่ายผลิตภัณฑ์ของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมและภาคพาณิชยกรรมโดยใช้อัตลักษณ์และองค์ความรู้เชิงสร้างสรรค์เพื่อสร้างความแตกต่างและความโดดเด่น 5. พัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนและสังคมลำปางให้มีความเข้มแข็ง มีภูมิคุ้มกัน รักวัฒนธรรมท่องถิ่นและถิ่นกำเนิดตามวิถีลำปางโดยดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
สรุปประเด็นยุทธศาสตร์สำหรับแผนพัฒนาจังหวัดลำปาง พ.ศ. 2558 – 2561 6.ส่งเสริมการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลและยั่งยืน
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่1 :ส่งเสริมและพัฒนาให้เป็นแหล่งผลิตเครื่องเซรามิกและสินค้าหัตถอุตสาหกรรมที่มีคุณภาพและมีมูลค่าทางเศรษฐกิจให้กับจังหวัดลำปาง • ประเด็นยุทธศาสตร์ที่1 :ส่งเสริมและพัฒนาให้เป็นแหล่งผลิตเครื่องเซรามิกและสินค้าหัตถอุตสาหกรรมที่มีคุณภาพและมีมูลค่าทางเศรษฐกิจให้กับจังหวัดลำปาง • เป้าประสงค์ :เพื่อให้จังหวัดลำปางเป็นแหล่งผลิตและจำหน่ายผลิตภัณฑ์เซรามิกและสินค้าหัตถอุตสาหกรรมที่มีความโดดเด่นและมีคุณภาพสากลและสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจให้กับจังหวัดลำปาง • - ตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมาย • จำนวนแหล่งผลิตผลิตภัณฑ์เซรามิกและสินค้าหัตถอุตสาหกรรมที่มีมาตรฐาน (เพิ่มขึ้น ๑0 แห่งต่อปี) • จำนวนเครื่องเซรามิกและสินค้าหัตถอุตสาหกรรมที่ได้รับการพัฒนารูปแบบให้มีความสวยงามและตรงตามความต้องการตลาด (25-30 รูปแบบ) • ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของบุคลากรที่ได้รับการพัฒนาให้มีศักยภาพในการพัฒนา การผลิต และบริหารจัดการเพื่อให้การประกอบการเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ (ร้อยละ 5 ต่อปี) • ระดับความสำเร็จในการประชาสัมพันธ์และจัดหาตลาดผลิตภัณฑ์เซรามิกและสินค้าหัตถอุตสาหกรรมให้เป็นที่รู้จักแพร่หลายและกระจายสินค้า(ระดับ 5 ในแต่ละปี) • ร้อยละของรายได้จากการจำหน่ายผลิตภัณฑ์เซรามิกและสินค้าหัตถอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้น (ร้อยละ 3-5ต่อปี) 1. ประเด็นยุทธศาสตร์ คงเดิมปรับปรุงใหม่ 2. เป้าประสงค์ คงเดิมปรับปรุงใหม่ 3. ตัวชี้วัด คงเดิมปรับปรุงใหม่ เหตุผล …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………
กลยุทธ์ 1. กลยุทธ์ที่ 1 คงเดิมปรับปรุงใหม่ 2. กลยุทธ์ที่ 2 คงเดิมปรับปรุงใหม่ 3. กลยุทธ์ที่ 3 คงเดิมปรับปรุงใหม่ 4. กลยุทธ์ที่ 4 คงเดิมปรับปรุงใหม่ 5. กลยุทธ์ที่ 5 คงเดิมปรับปรุงใหม่ เหตุผล …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… 1. ส่งเสริมและพัฒนาแหล่งผลิตรวมถึงจำหน่ายผลิตภัณฑ์เซรามิก รวมถึงสินค้าหัตถอุตสาหกรรมให้มีคุณภาพมาตรฐาน 2. ส่งเสริมการพัฒนาและวิจัยรูปแบบผลิตภัณฑ์เซรามิก รวมถึงสินค้าหัตถอุตสาหกรรมให้มีความสวยงามได้มาตรฐานและตรงตามความต้องตลาดโดยมีประสิทธิภาพด้านต้นทุนที่เหมาะสม 3. พัฒนาและเสริมสร้างบุคลากรให้มีความรู้ ทักษะและศักยภาพในการออกแบบ การพัฒนา การผลิตและบริหารจัดการเพื่อให้การประกอบการเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและมีขีดความสามารถในการแข่งขัน 4. ส่งเสริมการประชาสัมพันธ์และการตลาดผลิตภัณฑ์เซรามิกและสินค้าหัตถอุตสาหกรรมให้เป็นที่รู้จักแพร่หลายและจำหน่ายเป็นรายได้และชื่อเสียงที่โดดเด่นให้กับจังหวัดลำปาง 5. พัฒนาและปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานและสิ่งอำนวยความสะดวกที่จำเป็นเพื่อให้การผลิตและจำหน่ายผลิตภัณฑ์เซรามิกและหัตถอุตสาหกรรมมีประสิทธิภาพและเพียงพอต่อความต้องการของผู้ประกอบการ
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่2 :ส่งเสริมและพัฒนาการท่องเที่ยวของจังหวัดลำปางให้มีมูลค่าทางเศรษฐกิจควบคู่กับการอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยวให้คงสภาพและยั่งยืน • ประเด็นยุทธศาสตร์ที่2 :ส่งเสริมและพัฒนาการท่องเที่ยวของจังหวัดลำปางให้มีมูลค่าทางเศรษฐกิจควบคู่กับการอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยวให้คงสภาพและยั่งยืน • เป้าประสงค์ :เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์และวัฒนธรรมอย่างสร้างสรรค์เพื่อเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจ • ตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมาย • ร้อยละของจำนวนนักท่องเที่ยวที่เพิ่มขึ้น (ร้อยละ 3,7,9 ต่อปีตามลำดับ จากปีฐาน พ.ศ.2557) • รายได้จากการท่องเที่ยวเพิ่มขึ้น (ร้อยละ 10 ต่อปี จากปีฐาน พ.ศ. 2557) • จำนวนแหล่งท่องเที่ยวที่ได้รับการฟื้นฟูสภาพแวดล้อม/ปรับปรุงภูมิทัศน์ให้สวยงาม/สิ่งอำนวยความสะดวก (3 แห่งต่อปี) • จำนวนแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ที่ได้รับการสร้างใหม่ เช่น แหล่งท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติ แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร เป็นต้น (2 แห่งต่อปี) • จำนวนแหล่งท่องเที่ยว/สถานที่ประกอบการด้านการท่องเที่ยวที่ผ่านการประเมินมาตรฐานการท่องเที่ยว (1 แห่งต่อปี) • จำนวนกิจกรรมพัฒนาศักยภาพบุคลากรการท่องเที่ยว (3 กิจกรรมต่อปี) 1. ประเด็นยุทธศาสตร์ คงเดิมปรับปรุงใหม่ 2. เป้าประสงค์ คงเดิมปรับปรุงใหม่ 3. ตัวชี้วัด คงเดิมปรับปรุงใหม่ เหตุผล ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………… ………………………………………………………………
กลยุทธ์ 1. กลยุทธ์ที่ 1 คงเดิมปรับปรุงใหม่ 2. กลยุทธ์ที่ 2 คงเดิมปรับปรุงใหม่ 3. กลยุทธ์ที่ 3 คงเดิมปรับปรุงใหม่ 4. กลยุทธ์ที่ 4 คงเดิมปรับปรุงใหม่ 5. กลยุทธ์ที่ 5 คงเดิมปรับปรุงใหม่ 6. กลยุทธ์ที่ 6 คงเดิม ปรับปรุงใหม่ 7. กลยุทธ์ที่ 7 คงเดิม ปรับปรุงใหม่ เหตุผล …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………….. …………………………………………………………………….. 1. เสริมสร้าง ฟื้นฟูและพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวธรรมชาติและแหล่งวัฒนธรรมและประวัติศาสตร์ทั้งแหล่งท่องเที่ยวเดิมและแหล่งท่องเที่ยวใหม่เพื่อให้เกิดการอนุรักษ์อย่างยั่งยืนและเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจ 2. ส่งเสริมการจัดการแหล่งท่องเที่ยวที่มีความรับผิดชอบ (Responsible Travel) และไม่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม (no or low impact) เพื่อให้เกิดการอนุรักษ์ทรัพยากร การจัดการสิ่งแวดล้อม การป้องกันและกำจัดมลพิษ และอยู่ร่วมกับชุมชนท้องถิ่นอย่างยั่งยืน 3. สร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนและชุมชนท้องถิ่นเพื่อก่อให้เกิดการจัดการทรัพยากรการท่องเที่ยวให้สามารถคืนผลประโยชน์สู่ท้องถิ่น 4. เสริมสร้าง พัฒนาและเพิ่มขีดความสามารถของบุคลากรและสถานประกอบการภาคการท่องเที่ยวให้มีความรู้ความเข้าใจ ทักษะด้านภาษา วัฒนธรรมข้ามชาติและการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์วัฒนธรรมตามวิถีลำปาง 5. ส่งเสริมการประชาสัมพันธ์ การตลาด การสร้างสรรค์กิจกรรม และรูปแบบการท่องเที่ยว เพื่อสร้างคุณค่าและมูลค่าเพิ่มทางการท่องเที่ยว 6. สร้างเสริม ปรับปรุงและพัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐาน (เช่นประปา ไฟฟ้า ความปลอดภัยและความมั่นคง) และสิ่งอำนวยความสะดวก (เช่นห้องน้ำ ป้ายและศูนย์ข้อมูล) เพื่อการบริการนักท่องเที่ยวอย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ 7. ส่งเสริมและสนับสนุนผู้ประกอบการให้มีการสร้างสรรค์ ผลิตและจำหน่ายผลิตภัณฑ์ที่ระลึกจากแหล่งท่องเที่ยวของจังหวัดลำปาง
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่3 :ส่งเสริมและพัฒนาสินค้าเกษตรปลอดภัยและได้มาตรฐานแบบครบวงจร • ประเด็นยุทธศาสตร์ที่3 :ส่งเสริมและพัฒนาสินค้าเกษตรปลอดภัยและได้มาตรฐานแบบครบวงจร • เป้าประสงค์ :ทำให้จังหวัดลำปางเป็นแหล่งผลิตและจำหน่ายผลิตภัณฑ์การเกษตรและเกษตรแปรรูปที่มีคุณภาพมาตรฐาน โดดเด่นของกลุ่มจังหวัดภาคเหนือและของประเทศ • ตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมาย • ร้อยละของเกษตรกรที่ได้รับการเตรียมความพร้อมในการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยและได้คุณภาพมาตรฐาน (ร้อยละ 10 ต่อปี) • ร้อยละของจำนวนแปลง/ฟาร์มจำแนกตามประเภท (ได้แก่ พืช ปศุสัตว์และประมง) ที่ได้ใบรับรองมาตรฐาน GAP และ GMP เพิ่มขึ้น จากกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ที่เพิ่มขึ้น (ร้อยละ 5 ต่อปี) • จำนวนศูนย์รวบรวมและกระจายผลผลิตทางการเกษตรที่เพิ่มขึ้น (3 แห่งต่อปี) • ระดับความสำเร็จในการบริหารจัดการและแก้ไขปัญหาผลผลิตทางการเกษตร (ระดับ 5 ในแต่ละปี) • ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของผลิตภัณฑ์มวลรวมภาคเกษตร (ร้อยละ 2.5-3 ต่อปี) 1. ประเด็นยุทธศาสตร์ คงเดิมปรับปรุงใหม่ 2. เป้าประสงค์ คงเดิมปรับปรุงใหม่ 3. ตัวชี้วัด คงเดิมปรับปรุงใหม่ เหตุผล …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………
กลยุทธ์ 1. กลยุทธ์ที่ 1 คงเดิมปรับปรุงใหม่ 2. กลยุทธ์ที่ 2 คงเดิมปรับปรุงใหม่ 3. กลยุทธ์ที่ 3 คงเดิมปรับปรุงใหม่ 4. กลยุทธ์ที่ 4 คงเดิมปรับปรุงใหม่ เหตุผล ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………… 1. ส่งเสริมและพัฒนาการผลิตสินค้าเกษตรและผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพมาตรฐานเพื่อความปลอดภัยต่อผู้บริโภค 2. พัฒนาและส่งเสริมการเพิ่มมูลค่าเพิ่มของผลิตภัณฑ์สินค้าเกษตรและบรรจุภัณฑ์ให้มีมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ 3. สร้างและขยายเครือข่ายการตลาด ช่องทางการจำหน่ายสินค้าเกษตร และผลิตภัณฑ์เกษตรเพื่อสร้างรายได้ให้กับเกษตรกรทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ 4. ปรับปรุงและพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน เทคโนโลยีการผลิตและสิ่งอำนายความสะดวกพื้นฐานที่จำเป็นเพื่อให้การผลิตภาคเกษตรกรรมมีประสิทธิภาพและเพียงพอต่อความต้องการของเกษตรกร 5. พัฒนาสถาบันเกษตรกรและเครือข่ายที่เข้มแข็งสามารถเข้าถึงแหล่งเงินทุนและอำนวยประโยชน์ให้กับเกษตรกรและประชาชนทั่วไป
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่4 :เสริมสร้างและพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนและสังคมลำปางให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ มีความเข้มแข็ง มีภูมิคุ้มกันสามารถดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 1. ประเด็นยุทธศาสตร์ คงเดิมปรับปรุงใหม่ 2. เป้าประสงค์ คงเดิมปรับปรุงใหม่ 3. ตัวชี้วัด คงเดิมปรับปรุงใหม่ เหตุผล ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………… • ประเด็นยุทธศาสตร์ที่4 :เสริมสร้างและพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนและสังคมลำปางให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ มีความเข้มแข็ง มีภูมิคุ้มกันสามารถดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง • เป้าประสงค์ : ประชาชนอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุขตามวิถีล้านนาและหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง • ตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมาย • ค่าดัชนีครอบครัวมีความอบอุ่นมากขึ้น (ร้อยละ 1) • ร้อยละของความสุขมวลรวมเพิ่มขึ้น (ร้อยละ 60) • ระดับความสำเร็จในการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(ระดับ 5 ในแต่ละปี) • ระดับความสำเร็จในการแก้ไขปัญหายาเสพย์ติด (ระดับ 5 ในแต่ละปี) • จำนวนสถานบริการสาธารณสุขภาครัฐผ่านการรับรองมาตรฐาน HA (ร้อยละ 2 ต่อปี) • ประชาชนพึงพอใจต่อการให้บริการของสถานบริการ (ร้อยละ 80 ต่อปี) • ร้อยละของการควบคุมคดีไม่น้อยกว่า 177 คดีต่อประชากร 100,000 คน
กลยุทธ์ 1. กลยุทธ์ที่ 1 คงเดิมปรับปรุงใหม่ 2. กลยุทธ์ที่ 2 คงเดิมปรับปรุงใหม่ 3. กลยุทธ์ที่ 3 คงเดิมปรับปรุงใหม่ 4. กลยุทธ์ที่ 4 คงเดิมปรับปรุงใหม่ 5. กลยุทธ์ที่ 5 คงเดิมปรับปรุงใหม่ 6. กลยุทธ์ที่ 6 คงเดิมปรับปรุงใหม่ เหตุผล …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 1. พัฒนาระบบบริการทางการแพทย์และสาธารณสุขให้มีคุณภาพ 2. ส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษาของเด็ก เยาวชน และประชาชนในมีคุณภาพ (ความรู้คู่คุณธรรม) สามารถเข้าถึงแหล่งอาชีพที่เหมาะสมและมีสภาพแวดล้อมทางสังคมและสวัสดิการทางสังคมที่ดี 3. เสริมสร้างและยกระดับความเข้มแข็งและสร้างภูมิคุ้มกันของสถาบันครอบครัวและสถาบันทางสังคม รวมทั้งสนับสนุนให้ดำรงชีวิตตามวิถีลำปางตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 4. ส่งเสริมและสนับสนุนเพื่อให้เกิดการรักท้องถิ่น การอนุรักษ์และเผยแพร่ประเพณีศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นให้เป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวาง 5 ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการออกกำลังกาย กีฬาและนันทนาการ 5. พัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐานและสิ่งอำนวยความสะดวก (เช่นประปา ไฟฟ้า ความปลอดภัยและความมั่นคง) เพื่อการบริการประชาชนอย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ 6. เสริมสร้างระบบการคุ้มครองทางสังคม
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่5 :สร้างเสริมและพัฒนาจังหวัดลำปางให้มีความพร้อมรองรับการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) และกลุ่มประเทศอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง (GMS) • ประเด็นยุทธศาสตร์ที่๕ :สร้างเสริมและพัฒนาจังหวัดลำปางให้มีความพร้อมรองรับการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) และกลุ่มประเทศอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง (GMS) • เป้าประสงค์ :เตรียมความพร้อมและการปรับตัวของบุคลากร ระบบสาธารณูปโภค สิ่งอำนวยความสะดวกเพื่อรองรับโอกาสและผลกระทบที่จะเกิดขึ้นในการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) และกลุ่มประเทศอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง (GMS) • ตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมาย • จำนวนบุคลากรภาครัฐที่ได้รับการฝึกอบรมด้านภาษาต่างประเทศ (ร้อยละ ๑๐ ต่อปี) • ร้อยละของการฝึกอบรมเสริมสร้างความรู้และการเพิ่มขีดความสามารถแก่ผู้ประกอบการ (ร้อยละ ๑๐ ต่อปี) • ร้อยละของความพึงพอใจที่เพิ่มขึ้นของผู้ประกอบการต่อระบบสาธารณูปโภคและสิ่งอำนวยความสะดวกรองรับการเป็นประชาคมอาเซียน (ร้อยละ ๘๐ ต่อปี) • จำนวนเยาวชนในสถานศึกษาในจังหวัดลำปางที่ผ่านการอบรมเกี่ยวกับ AEC (ครบร้อยละ ๑๐๐ ใน พ.ศ. ๒๕๕๘) 1. ประเด็นยุทธศาสตร์ คงเดิมปรับปรุงใหม่ 2. เป้าประสงค์ คงเดิมปรับปรุงใหม่ 3. ตัวชี้วัด คงเดิมปรับปรุงใหม่ เหตุผล …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………
กลยุทธ์ 1. กลยุทธ์ที่ 1 คงเดิมปรับปรุงใหม่ 2. กลยุทธ์ที่ 2 คงเดิมปรับปรุงใหม่ 3. กลยุทธ์ที่ 3 คงเดิมปรับปรุงใหม่ 4. กลยุทธ์ที่ 4 คงเดิมปรับปรุงใหม่ 5. กลยุทธ์ที่ 5 คงเดิมปรับปรุงใหม่ 6. กลยุทธ์ที่ 6 คงเดิมปรับปรุงใหม่ เหตุผล …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 1. พัฒนาบุคลากรทุกระดับและทุกภาคส่วนให้มีการตื่นตัว (Awareness) และเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันให้ผู้ประกอบการของจังหวัดลำปางในการพัฒนาคุณภาพสินค้าและบริการ 2. ยกระดับทักษะฝีมือแรงงานและทักษะด้านภาษาเพื่อเตรียมความพร้อมของแรงงานภายในจังหวัดเข้าสู่ตลาดแรงงานในภูมิภาคอาเซียน 3. ส่งเสริมการใช้และการอนุรักษ์ภาษาท้องถิ่นและการใช้ภาษาไทยอย่างถูกต้องควบคู่กับการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศหลักและเรียนรู้ภาษาสากลอื่นหรือภาษาประเทศเพื่อนบ้านตลอดจนการเรียนรู้เข้าใจวัฒนธรรมข้ามชาติและวิถีชีวิตของคนในกลุ่มประเทศอาเซียน 4. ยกระดับการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์และการท่องเที่ยว ทั้งพัฒนาบุคลากรและมาตรฐานการให้บริการเพื่อก้าวสู่การเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์และการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์วัฒนธรรมของภูมิภาค 5. เสริมสร้างและพัฒนาระบบสาธารณูปโภค ระบบการขนส่งและโลจิสติกส์ให้มีประสิทธิภาพและได้มาตรฐานสากลสามารถเชื่อมโยงอำนวยความสะดวกในการเดินทางการค้าและการขนส่งสินค้าผ่านแดนและข้ามแดน 6. พัฒนาการท่องเที่ยว การค้าการลงทุน การผลิตสินค้าและบริการให้มีคุณภาพและได้มาตรฐานเพื่อการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน พัฒนาระบบสาธารณูปโภค ระบบการขนส่งและโลจิสติกส์ให้มีประสิทธิภาพและได้มาตรฐานสากลสามารถเชื่อมโยงอำนวยความสะดวกในการเดินทางการค้าและการขนส่งสินค้าผ่านแดนและข้ามแดน
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่6 : ส่งเสริมการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลและยั่งยืน • ประเด็นยุทธศาสตร์ที่6 :ส่งเสริมการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลและยั่งยืน • เป้าประสงค์ :1. ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้รับการอนุรักษ์และฟื้นฟู เพื่อสร้างความสุมดุลระบบนิเวศ และรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมเพื่อเป็นฐานการพัฒนาคุณภาพชีวิต การเกษตร และการท่องเที่ยวของจังหวัด รวมถึงรองรับการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของโลก • 2. เป็นฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมซึ่งมีการใช้ประโยชน์อย่างเหมาะสม ความหลากหลายทางชีวภาพมีความยั่งยืนและมีคุณภาพสิ่งแวดล้อมที่ดี • ตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมาย • ระดับความสำเร็จของการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (ระดับ 3 ต่อปี) • ระดับความสำเร็จของการรักษาฐานทรัพยากรป่าไม้ไม่ให้มีการบุกรุกทำลาย (5.4 ล้านไร่) • ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของการฟื้นฟูพื้นที่ป่าต้นน้ำลำธารที่เสื่อมโทรมให้มีระบบนิเวศน์ที่ดี พร้อมตอบรับความต้องการการใช้ประโยชน์ของประชาชน (ร้อยละ 20 ต่อปี) • ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของจำนวนหมู่บ้าน/ชุมชนมีการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติอย่างมีประสิทธิภาพและมีแผนแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมอย่างเป็นรูปธรรม (ร้อยละ 10 ต่อปี) • ร้อยละของการสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและการแก้ไขปัญหาผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมทั้งในเขตเมืองชนบท (ร้อยละ 10 ต่อปี) • ร้อยละของความพึงพอใจในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมไม่น้อยกว่า (ร้อยละ 80 ต่อปี) • จำนวนวันที่มีมลพิษทางอากาศไม่เกินค่ามาตรฐาน (0 วัน) • ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของภาคประชาสังคมที่มีส่วนในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (ร้อยละ 10 ต่อปี) 1. ประเด็นยุทธศาสตร์ คงเดิมปรับปรุงใหม่ 2. เป้าประสงค์ คงเดิมปรับปรุงใหม่ 3. ตัวชี้วัด คงเดิมปรับปรุงใหม่ เหตุผล …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………
กลยุทธ์ 1. กลยุทธ์ที่ 1 คงเดิมปรับปรุงใหม่ 2. กลยุทธ์ที่ 2 คงเดิมปรับปรุงใหม่ 3. กลยุทธ์ที่ 3 คงเดิมปรับปรุงใหม่ 4. กลยุทธ์ที่ 4 คงเดิมปรับปรุงใหม่ 5. กลยุทธ์ที่ 5 คงเดิมปรับปรุงใหม่ 6. กลยุทธ์ที่ 6 คงเดิมปรับปรุงใหม่ เหตุผล …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 1. สร้างเสริม อนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รวมทั้งอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ และรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม 2. ส่งเสริมและประชาสัมพันธ์การใช้ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล 3. ส่งเสริมภาคีต่างๆ และองค์กรเครือข่ายภาคประชาสังคมในการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ 4. เพิ่มขีดความสามารถให้กับบุคลากรที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งใช้เทคโนโลยีในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 5. สนับสนุนและพัฒนาให้เกิดเครือข่ายรักษ์และเฝ้าระวังด้านสิ่งแวดล้อมในพื้นที่เสี่ยงภัยโดยเน้นการมีส่วนร่วมของภาคีและภาคประชาชนในท้องถิ่น 6. พัฒนาและส่งเสริมการบริหารจัดการน้ำทั้งระบบ
กระบวนการระดมความคิดเห็นสำหรับ Workshopครั้งที่ 1 • แบ่งกลุ่มๆละ 50-60 ท่าน • ให้เลือกตัวแทนแต่ละกลุ่มเป็นผู้นำการระดมความคิดเห็น โดยมีที่ปรึกษาและทีมงานคอยช่วยสนับสนุนทางวิชาการ • หยิบประเด็นที่กำหนดไว้และเปิดโอกาสให้ผู้เข้าร่วมในกลุ่มได้อภิปรายอย่างกว้างขวางตามเวลาที่กำหนด (ทีมงานจะคอยเตือนเพื่อให้ได้เวลาตามที่กำหนดไว้) • ให้ทีมงานทำการจดรายละเอียดในแต่ละประเด็น • เมื่อหมดเวลา ให้ผู้แทนแต่ละกลุ่มทำการสรุปผลการระดมความคิดเห็นของกลุ่มของตน กลุ่มละ 10 นาที
ประเด็นสำหรับการระดมความคิดเห็นครั้งที่ 1 • หลังจากทบทวน วิสัยทัศน์(20 นาที) • ทบทวนพันธกิจ (20 นาที) • ทบทวนประเด็นยุทธศาสตร์ (20 นาที) โดยผู้เข้าร่วมจะไม่เน้นการอภิปรายเพิ่มเติม ในวาระนี้เพียงแค่ยืนยันหรือปรับเพิ่มเติม 4. ระดมความเห็นคิดเห็นเกี่ยวกับกลยุทธ์ภายใต้แต่ละประเด็นยุทธศาสตร์ ( 2ชม30 นาที) • ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 (ประเด็นละ 30 นาที) กลุ่ม 1 • ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 (ประเด็นละ 30 นาที) กลุ่ม 1 • ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 (ประเด็นละ 30 นาที) กลุ่ม 1 • ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 (ประเด็นละ 30 นาที) กลุ่ม 2 • ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 (ประเด็นละ 30 นาที) กลุ่ม 2 • แต่ละกลุ่มนำเสนอสรุปผลกลุ่มละ 8-12 นาที (40 นาที) กลุ่ม 1
บทสรุป • ผลผลิตของการศึกษาครั้งนี้คือแผนยุทธศาสตร์จังหวัดลำปาง ด้วยกันกับแผนชุมชนของแต่ละอำเภอ เหมาะสมและสอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาและการเติบโตพื้นที่จังหวัดลำปาง • ออกแบบและพัฒนาแผนปฏิบัติการ ยุทธศาสตร์ ขั้นตอนและวิธีการดำเนินการเพื่อให้การอยู่ร่วมกันของภาคีเป้าหมายสามารถอยู่ร่วมกันอย่างยั่งยืน • กำหนดกรอบการวัดผลโดยใช้ปัจจัยแห่งความสำเร็จและดัชนีชี้วัดในแต่ละด้าน โดยนำเอาหลักการและแนวคิดการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) มาใช้เป็นกรอบในการประเมินองค์กรด้วยตนเองและเป็นแนวทางในการปรับปรุงการบริหารจัดการองค์กร • การศึกษาครั้งนี้จะมุ่งเน้นการมีส่วนร่วมของประชาคม โดยเฉพาะหน่วยงานราชการที่รับผิดชอบในการขับเคลื่อนแผนพัฒนาฯ
การทบทวนและจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดลำปาง 4 ปี (พ.ศ. 2558–2561) และจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปี พ.ศ. 2558 คำถาม???หรือข้อเสนอแนะ!!!! ขอขอบคุณผู้เข้าร่วมประชุมทุกท่าน