640 likes | 1.65k Views
การเทียบโอน ผลการเรียน. หลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑. การเทียบโอนผลการเรียน. การนำผลการเรียน ซึ่งเป็นความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ของผู้เรียนที่เกิดจากการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และ การศึกษาตามอัธยาศัยมาประเมิน ให้เป็นส่วนหนึ่งของผลการเรียน ตามหลักสูตร. การ
E N D
การเทียบโอน ผลการเรียน หลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
การเทียบโอนผลการเรียนการเทียบโอนผลการเรียน การนำผลการเรียน ซึ่งเป็นความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ของผู้เรียนที่เกิดจากการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และ การศึกษาตามอัธยาศัยมาประเมิน ให้เป็นส่วนหนึ่งของผลการเรียน ตามหลักสูตร การ เทียบโอน ผล การเรียน หมายถึง 3
หลักเกณฑ์การเทียบโอน ผลการเรียน 1. ทุกภาคเรียน 2. โดยคณะกรรมการเทียบโอน 3. เป็นรายวิชา 4. ไม่เกิน 75 %ของจำนวน หน่วยกิตทั้งหมดในระดับ 5. เนื้อหาวิชาต้องสอดคล้องกันไม่น้อยกว่า 60%
หลักเกณฑ์การเทียบโอน ผลการเรียน 6. อายุของผลการเรียนนำมาเทียบโอน -หลักสูตรที่จัดเป็นระดับไม่กำหนดอายุ -หลักสูตรต่อเนื่องให้คณะกรรมการพิจารณา • 7. การให้ค่าระดับผลการเทียบโอนผล • ผลที่เป็นรายวิชา/หมวดวิชา ค่าระดับตามผลการเรียนที่ขอโอน • -การศึกษาต่อเนื่อง ให้เป็น ผ่าน • -หลักสูตรต่างประเทศ ให้เป็น ผ่าน • -กลุ่มเป้าหมายเฉพาะ ให้เป็น ผ่าน • -หลักสูตรต่างประเทศ ให้เป็น ผ่าน 8. สถานศึกษาเป็นผู้อนุมัติผลการเทียบโอน
ประถม ม.ต้น ม.ปลาย จำนวนหน่วยกิตที่ให้ เทียบโอน ไม่เกิน 36 นก. ไม่เกิน 42 นก. ไม่เกิน 57 นก. เรียนไม่น้อยกว่า 1 ภาคเรียน
คุณสมบัติผู้ขอเทียบโอนคุณสมบัติผู้ขอเทียบโอน ผลการเรียน 1 2 ต้องขึ้นทะเบียน เป็นนักศึกษาตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ต้องไม่เป็นนักเรียนหรือนักศึกษาในสถานศึกษาอื่นใด 9
วิธีการเทียบโอนผลการเรียน วิธีที่ 1 พิจารณาจากหลักฐานการศึกษา มี 2 วิธี วิธีที่ 2 พิจารณาจาก การประเมินความรู้และ ประสบการณ์ 10
ขอบข่าย 11
1.เทียบจากหลักสูตรการศึกษาที่จัดเป็นระดับ1.เทียบจากหลักสูตรการศึกษาที่จัดเป็นระดับ ผู้ที่จบระดับประถมศึกษาปีที่ 4 หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 (ในระบบ) หลักเกณฑ์และวิธีการจัดการศึกษานอกโรงเรียนตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2544 ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) พุทธศักราช 2545 (ปรับปรุง พ.ศ.2546) หลักสูตรอื่น ๆที่กระทรวงประกาศใช้
1.1 ผู้ที่จบระดับประถมศึกษาปีที่ 4 เทียบโอนได้ 24 หน่วยกิต 1.เทียบจากหลักสูตรการศึกษาที่จัดเป็นระดับ 13 13
การเทียบโอนจากหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องการเทียบโอนจากหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่อง 1. การจัดหลักสูตรวิชาชีพระยะสั้น 2. การเข้าค่ายของศูนย์วิทย์ 3. การจัดฐานการเรียนของศูนย์วิทย์ 4. หลักสูตรการศึกษาหรือฝึกอบรมของรัฐ เอกชน 15
1. หน่วยงานภาครัฐเป็นผู้จัด หลักสูตรของเอกชน ต้องผ่านการเห็นชอบของคณะกรรมการเทียบโอน 2. พิจารณาความสอดคล้องกับสาระในรายวิชาที่จะเทียบโอนให้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 หลักเกณฑ์การเทียบโอน 16
3. มีกระบวนการจัดการเรียนรู้ การวัดและประเมินผลที่ชัดเจน เชื่อถือได้ นับจำนวนชั่วโมงของหลักสูตร แล้วเทียบเป็นหน่วยกิต 40 ชม. = 1 นก. หลักเกณฑ์การเทียบโอน 17
5. หลักฐานที่นำมาเทียบโอนควรผ่านการเรียนรู้มาแล้วไม่เกิน 5 นับถึงวันยื่น หรืออยู่ในดุลพินิจกรรมการ และให้เทียบได้ระดับใดระดับหนึ่งเท่านั้น 6. ครู/เจ้าหน้าที่ ศกร.สัมภาษณ์ประกอบ 7. ให้ระดับผลการเทียบโอนเป็น “ผ่าน” หลักเกณฑ์การเทียบโอน 18
การเทียบโอนผลการเรียนจากหลักสูตรต่างประเทศการเทียบโอนผลการเรียนจากหลักสูตรต่างประเทศ 19
ลักษณะของการจัดการศึกษาลักษณะของการจัดการศึกษา 20
หลักเกณฑ์ 21
หลักเกณฑ์ 22
การเทียบโอนความรู้และประสบการณ์กลุ่มเป้าหมายเฉพาะการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์กลุ่มเป้าหมายเฉพาะ • ทหารกองประจำการ ทหารประจำการ อาสาสมัครทหารพราน (เคยเป็น) 2. ผู้นำศาสนา/ผู้สอนอิสลามศึกษา และผู้เรียนอิสลามศึกษา 3. ผู้มีอาชีพมั่นคง
ขั้นตอนการเทียบโอน ผู้เรียน เจ้าหน้าที่แนะแนวแนะนำการเรียนตลอดหลักสูตร ลงทะเบียนเรียน ลงทะเบียนเทียบโอน เจ้าหน้าที่ ศกร.กศน. สอบถาม/ตรวจสอบหลักฐานเบื้องต้น ศกร.กศน.ส่งหลักฐานให้ ศกพ.ดำเนินการเทียบโอน ศกพ.แต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณารับเทียบโอน ศกพ. อนุมัติผลการเทียบโอน ไม่ผ่าน ผ่าน ศกพ.บันทึกผลการเทียบโอนในหลักฐานงานทะเบียน พร้อมแจ้ง ศกร.กศน.