420 likes | 1.26k Views
APEC นโยบาย และประเด็นที่เอเปคให้ความสำคัญ. โดย ศ. ดร. จีระ หงส์ลดารมภ์ ประธานคณะทำงานด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของเอเปค เลขาธิการ มูลนิธิพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ระหว่างประเทศ. วันศุกร์ที่ 25 มีนาคม 2548 ณ สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา.
E N D
APEC นโยบาย และประเด็นที่เอเปคให้ความสำคัญ โดย ศ. ดร. จีระ หงส์ลดารมภ์ ประธานคณะทำงานด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของเอเปค เลขาธิการ มูลนิธิพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ระหว่างประเทศ วันศุกร์ที่ 25 มีนาคม 2548 ณ สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
1) การประชุมครั้งนี้สำคัญมาก จะได้ตอบคำถามว่า APEC มีประโยชน์อย่างไรต่อคนไทย และหน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่เกี่ยวข้องโดยตรง
2) ในฐานะประธานคณะทำงานด้านพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ผมขอแสดงความยินดีต่อ สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
3) เพราะท่านหล่านี้ อย่างน้อยจะเป็นจุดที่หน่วยงานของประเทศไทย ระดับอุดมศึกษาใช้ประโยชน์ได้ ผมยินดีที่จะกระจายข้อมูล และทำงาน และเป้นพันธมิตรร่วมกัน
4) กระทรวงการต่างประเทศ และโดยเฉพาะกรมเศรษฐกิจที่ดูแลเรื่องนี้ ก็มีความประสงค์ที่จะทำงานร่วมกัน ผมยังเคยคิด (แต่ยังไม่ได้ทำ) คือ ไปเยี่ยมมหาวิทยาลัย และองค์กรเอกชนต่างๆ ตามภูมิภาคต่างๆ
5) เพราะ APEC HRD ได้สะสมความรู้ต่างๆ มากมาย คล้ายกับมาช่วยวิจัยให้เรา แต่ความรู้เหล่านี้ยังอยู่ในมุมแคบ การประชุมครั้งนี้ไม่ใช่แค่จะเน้นว่าเขามีโครงการใหม่อะไร แต่สามารถจะเข้าหา Access Information ของ APEC ได้ (www.apec.org)
6) ผมขออนุญาตแสดงความเห็น 2-3 เรื่อง เรื่องแรก ก็คือ แนวคิดของการทำงาน APEC มี 4 กลุ่ม ได้แก่
แนวคิดของการทำงาน APEC มี 4 กลุ่ม ได้แก่ * Capacity Building Network (CBN) * Education Network (EDNET) * Labor and Social Protection Network (LSPN) * Social Safety Net/ Capacity Building Network (SSN/ CBN)
และยิ่งไปกว่านั้น ยังมีกลุ่มอื่นๆ ที่ทำงานร่วมกันได้ เช่น IT เกษตร หรือการค้าการลงทุน ซึ่งสามารถเชื่อมโยงกันได้ ประเด็น ก็คือ APEC ไม่ได้มองแยกส่วน APEC มอง HR เป็น Comprehensive Approach
APEC Working Group เอเปค ประกอบไปด้วย 11 คณะทำงานด้วยกัน ได้แก่ • Agricultural Technical Cooperation • Energy • Fisheries • Human Resources Development • Industrial Science and Technology • Marine Resources Conservation • Small and Medium Enterprises • Telecommunications and Information • Tourism • Trade Promotion • Transportation
7) ซึ่งในประเด็นนี้ น่าสนใจที่ว่า - ตั้งแต่ผมมารับตำแหน่ง ผมมองว่า กลุ่มนี้มองการเปิดเสรีทางการค้าการลงทุน แต่ใครได้รับประโยชน์ APEC มีสมาชิก ทั้งประเทศที่พัฒนาแล้ว และประเทศที่ด้อยพัฒนา
ดังนั้น HR น่าจะทำ 2 อย่าง 1.) เพิ่มศักยภาพของคน ให้ฉกฉวยการเปิดเสรี การศึกษา (Capacity Building) 2.) ลดปัญหา หรือความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้น เช่น มองปัญหาการว่างงาน ปัญหาแรงงานไร้ฝีมือ ปัญหาผู้หญิงและเด็ก
8) เท่าที่ผมทราบ เรื่อง High Education ก็ทำไปมาก ขอให้ตรวจสอบข้อมูลใน Website ความจริงทางสำนักเลขาธิการก็ทำอยู่ แต่หลักใหญ่ มีโครงการบ้าง เช่น
1.) เรื่องการสร้าง Lifelong Learning 2.) เรื่อง Knowledge Based Society ที่เกี่ยวกับการศึกษา 3.) การใช้ IT กับ High Education จะเป็นเรื่อง Cyber Education หรือ E-Learning
4.) ประเทศในกลุ่มลาตินอเมริกา ก็สนใจเรื่องภาษาอังกฤษ 5.) เรื่อง Science and Technology 6.) เรื่อง การเปิดเสรีทางการศึกษา เรื่องนี้มีการประชุมที่ Australia
ผมคิดว่า จะมีการประชุม HRD Working Group ในวันที่ 20-24 มิถุนายน ปีนี้ ที่เมืองพัทยา ประเทศไทย ผมดูแลรับผิดชอบเรื่อง สารัตถะ ซึ่งจะเน้นเรื่อง Employment ระหว่างกลุ่มประเทศในเอเปคด้วยกัน และมีเรื่อง Outsourcing ด้วย ก็หวังว่ามหาวิทยาลัยของไทยจะมีส่วนร่วม
ประเด็นสุดท้าย คือ - Lead Shepherd มีหน้าที่ integrate งานของ APEC HRD แต่ไม่ใช่ด้านวิชาการเท่านั้น จะนำไปสร้างทรัพย์สินทางปัญญา (Wealth Creation) ในเอเปค และให้เกิด Policy และเป็นที่ยอมรับของผู้นำสูงสุด มีอะไรที่จะเสนอแนะผมด้วย
- ระดับอุดมศึกษาได้ประโยชน์ - Access Past Research ที่ดีๆ ของเอเปคให้นักเรียนมหาวิทยาลัยของเรารู้ว่า มีงานวิจัยที่น่าสนใจอะไรบ้าง ซึ่ง Digital Library ของเอเปค อยู่ที่ประเทศสิงคโปร์
- วิทยานิพนธ์ระดับปริญญาโท หรือปริญญาเอก ก็น่าจะทำโดยเน้นฐานข้อมูลของเอเปคมาใช้ - เรื่องการประชุมของเอเปค ในเรื่อง HRD ปีหนึ่งมี 10-20 เรื่อง ผมอยากให้ทลายท่านได้เข้ามามีส่วนร่วม
สำหรับเรื่องการเสนอ Project ต่อเอเปคนั้น ผมคิดว่า น่าจะเริ่มในยุคที่ผมเป็นประธาน และทางกระทรวงการต่างประเทศ สำนักเลขาธิการ หรือตัวผมเอง ก็มีความยินดีจะร่วมมือ
ซึ่งจะต้องศึกษาเรื่องต่างๆ ดังต่อไปนี้ - ศึกษาขั้นตอนของ เรื่อง Timing ต่างๆ - มีรูปแบบ (Format) ที่คุณชุตินทร คงศักดิ์ มีอยู่แล้ว - น่าจะร่วมมือกันระหว่างมหาวิทยาลัย และภาคเอกชนด้วย ผมยินดีเป็นแนวร่วมครับ
ศ. ดร. จีระ หงส์ลดารมภ์ เลขาธิการ มูลนิธิพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ระหว่างประเทศ ประธานคณะทำงานด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในเอเปค โทร : 66-2-619-0512-3 แฟกซ์ : 66-2-273-0181 (www.fihrd.or.th) e-mail : chira8@hotmail.com chira_8@yahoo.com
เอเปค คืออะไร เอเปค (APEC) คือ คำย่อมาจาก Asia - Pacific Economic Cooperation หรือ ความร่วมมือทางเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชีย และแปซิฟิค ซึ่งก่อตั้งจากการประชุมรับมนตรีของประเทศในแถบเอเชีย - แปซิฟิค เมื่อเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2532 (ค.ศ. 1989) ณ กรุงแคนเบอร์ร่า ประเทศออสเตรเลีย
สมาชิกของเอเปค ปัจจุบัน เอเปคมีสมาชิก ทั้งหมด 21 ประเทศ - สมาชิกก่อตั้ง 12 เขตเศรษฐกิจ ได้แก่ มาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ ไทย บรูไน แคนาดา - สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ เกาหลีใต้ และญี่ปุ่น - รับสมาชิกเพิ่ม 3 เขตเศรษฐกิจ ในปีค.ศ. 1991 ได้แก่ จีน ฮ่องกง และไต้หวัน - รับสมาชิกเพิ่ม 2 เขตเศรษฐกิจ ในปี ค.ศ. 1993 ได้แก่ เม็กซิโก และปาปัวนิวกินี - รับสมาชิกเพิ่ม 2 เขตเศรษฐกิจ ในปี ค.ศ. 1994 ได้แก่ ชิลี - รับสมาชิกเพิ่ม 3 เขตเศรษฐกิจ ค.ศ. 1998 ได้แก่ เวียดนาม รัสเซีย และเปรู
วัตถุประสงค์ 1. สนับสนุนการขยายตัวทางเศรษฐกิจและการค้าของภูมิภาคโลก 2. พัฒนาและส่งเสริมระบบการค้าพหุภาคี และสนับสนุนผลักดันให้การเจรจาการค้าหลายฝ่ายของแกตต์ (GATT) รอบอุรุกวัย ประสบความสำเร็จ 3. ศึกษาลู่ทางในการเปิดเสรีการค้าในภูมิภาค ในลักษณะที่มิใช่การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ เพื่อกีดกันประเทศนอกกลุ่ม
วัตถุประสงค์ 4. ขยายความร่วมมือในสาขาเศรษฐกิจที่สนใจร่วมกัน 5. ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการไหลเวียนของสินค้า บริการ ทุน และเทคโนโลยีระหว่างกันโดยเสรี
ความร่วมมือที่สำคัญ 1. เป็นเวทีสำหรับการปรึกษาหารือที่เกี่ยวกับการประเมินทางเศรษฐกิจ 2. ยึดหลักฉันทามติ (Consensus) โดยจะใช้การเจรจาเพื่อหาข้อยุติ ไม่ใช้หลักเสียงข้างมาก 3. ยึดหลักความสมัครใจ (Voluntarism) ไม่มีลักษณะบังคับและไม่มีบทลงโทษ
ความร่วมมือที่สำคัญ 4. ยึดหลักการไม่เลือกปฏิบัติ (Non - Discrimination) โดยยอมรับความเสมอภาคของประเทศสมาชิก 5. ยึดหลักผลประโยชน์ร่วมกัน โดยคำนึงความแตกต่างของระดับการพัฒนาทางเศรษฐกิจ ระบบสังคม และการเมืองของประเทศสมาชิก
ประโยชน์ที่ประเทศไทยได้รับประโยชน์ที่ประเทศไทยได้รับ - การขยายตัวทางการค้าการลงทุน - ความร่วมมือในกรอบ ECOTECH เช่น การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ การพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ตลอดจนโครงการความช่วยเหลือทางสังคม
Leaders’ Meeting APEC Business Advisory Council Ministerial Meeting Senior Officials Meeting (SOM) Sectoral Ministerial Meeting APEC Secretariat Committee on Trade& Investment (CTI) Economic Committee (EC) SOM Committee on ECOTECH (ESC) Budget & Management Committee(BMC) SOM Special Task Groups Working Groups (WG) APEC Structure
Lead Shepherd Capacity Building Network (CBN) Education Network (EDNET) Labor and Social Protection Network (LSP) APEC Human Resources Development Working Group
APEC Chief Human Resources Officer Network (CHRO Network) เป็นการรวมกลุ่มของผู้บริหารทรัพยากรมนุษย์ในสถานประกอบการเอกชนในกลุ่มเอเปค เป็นความคิดริเริ่มของประเทศจีนที่จะจัดตั้งเครือข่ายนี้ขึ้น โดยมีการจัดการประชุม Kick-off Meeting ครั้งแรก ที่ประเทศออสเตรเลีย ประเทศไทยได้จัดตั้งเครือข่ายขึ้นในปี พ.ศ. 2541 และได้รับทุนจาก APEC Central Fund เพื่อจัดการประชุมที่ประเทศไทย ในเดือนมีนาคม 2542 การประชุมดังกล่าวได้รับความสำเร็จอย่างดี ซึ่งเครือข่ายนี้ควรจะดำเนินการต่อไปอย่างต่อเนื่อง
คณะทำงาน หน่วยงานที่รับผิดชอบ คณะทำงานด้านพิธี กระทรวงการต่างประเทศ คณะทำงานด้านงบประมาณ / ลงทะเบียน กระทรวงการต่างประเทศ ดร.จีระ หงส์ลดารมภ์ และ คณะทำงานด้านสารัตถะ มูลนิธิพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ระหว่างประเทศ การประชุม APEC HRDWG ครั้งที่ 27 ประเทศไทยได้รับมอบหมายให้เป็นเจ้าภาพจัดการประชุม APEC HRDWG ครั้งที่ 27 ซึ่งจะจัดขึ้นระหว่างวันที่ 20-24 มีนาคม 2548 ณ เมืองพัทยา ประเทศไทย การประชุมครั้งนี้ได้แบ่งคณะทำงานออกเป็น 3 คณะทำงานด้วยกัน ได้แก่
Demand side Supply Side HR Architecture Education Health Nutrition Family Population Labor force Agriculture, Industry, Service, Government PRODUCTIVE SECTORS COMPETITIVENESS & SUSTAINABILITLY LIFE AFTER RETIREMENT Competencies , Competitiveness, Occupation, Wage , Industrial relation
8K’s Theory 1. Human Capital 2. Intellectual Capital 3. Ethical Capital 4. Happiness Capital 5. Social Capital 6. Sustainability Capital 7. Digital Capital 8. Talented Capital 8 K's
5K’s Theory (NEW) 1.Innovation Capital 2. Knowledge Capital 3. Cultural Capital 4. Emotional Capital 5. Creativity Capital์ 5 K's
Prof. Dr. Chira HongladaromSecretary-GeneralFoundation for International Human Resource DevelopmentTel : 0-2619-0512 - 3Fax: 0-2273-0181Email : fihrd@bkk3.loxinfo.co.th chira_8@yahoo.comWebsite : www.fihrd.or.th